SlideShare a Scribd company logo
1 of 12
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ รายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ ภาคตัดกรวย เรื่อง เรขาคณิตวิเคราะห์ (ระยะระหว่างจุด 2 จุด) เวลา 1 คาบ
สาระที่ 2 การวัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด
มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด
สาระที่ 3 เรขาคณิตวิเคราะห์
มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning)
และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
สาระที่ 4 พีชคณิต
มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และแบบจาลองทางคณิตศาสตร์อื่นๆแทน
สถานการณ์ต่างๆตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหาได้
สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และ
เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
ผลการเรียนรู้
1. ด้านความรู้ นักเรียนสามารถ
1. หาระยะระหว่างจุดใด ๆ 2 จุดในระนาบ
2. นาความรู้เรื่องระยะห่างระหว่างจุดไปใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้
2. ด้านทักษะ/กระบวนการ นักเรียนสามารถ
1. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ
ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และรัดกุม
2. อธิบายเหตุผลผ่านการพูดและการเขียนได้
3. เชื่อมโยงความรู้เดิมเพื่อเกิดมโนทัศน์ในความรู้ใหม่ได้
3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรียน
1. เอาใจใส่ในการทากิจกรรมในชั้นเรียน
2. กล้าแสดงความคิดเห็นและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
สาระสาคัญ
1. ระยะระหว่างจุด 2 จุดที่อยู่ในแนวเส้นตรงที่ขนานกับแกน x
กาหนดจุด 1 1P(x , y ) และ 2 2Q(x ,y ) เมื่อ 1 2y y จะได้ 1 2PQ x x 
2. ระยะระหว่างจุด 2 จุดที่อยู่ในแนวเส้นตรงที่ขนานกับแกน y
กาหนดจุด 1 1P(x , y ) และ 2 2Q(x ,y ) เมื่อ 1 2x x จะได้ 1 2PQ y y 
3. ระยะระหว่างจุดใด ๆ 2 จุดในระนาบ
กาหนดจุด 1 1P(x , y ) และ 2 2Q(x ,y ) จะได้ 2 2
1 2 1 2PQ (x x ) (y y )   
สาระการเรียนรู้
1. ระยะระหว่างจุด 2 จุดที่อยู่ในแนวเส้นตรงที่ขนานกับแกน x
กาหนดจุด 1 1P(x , y ) และ 2 2Q(x ,y ) เมื่อ 1 2y y จะได้ 1 2PQ x x 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาระยะระหว่างจุด A(2,2) , B(6,2)
|𝐴𝐵| = |𝑥1 − 𝑥2| = |2 − 6| = 4
2. ระยะระหว่างจุด 2 จุดที่อยู่ในแนวเส้นตรงที่ขนานกับแกน y
กาหนดจุด 1 1P(x , y ) และ 2 2Q(x ,y ) เมื่อ 1 2x x จะได้ 1 2PQ y y 
ตัวอย่างที่ 2 จงหาระยะระหว่างจุด A(2,2) , C(2,5)
|𝐴𝐶| = |𝑦1 − 𝑦2| = |2 − 5| = 3
3. ระยะระหว่างจุดใด ๆ 2 จุดในระนาบ
กาหนดจุด 1 1P(x , y ) และ 2 2Q(x ,y ) จะได้ 2 2
1 2 1 2PQ (x x ) (y y )   
ตัวอย่างที่ 3 จงหาระยะระหว่างจุด A(2,2) , D(6,5)
|𝐴𝐷| = √(𝑥1 − 𝑥2)2 + (𝑦1 − 𝑦2)2 = √(2 − 6)2 + (2 − 5)2 = √16 + 9 = √25 = 5
กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนา
1. ครูกล่าวสวัสดี และยกตัวอย่างที่ 1,2,3 ให้นักเรียนทั้งห้องตอบคาถามพร้อมทั้งให้เหตุผลว่าทาไมจึงคิด
เช่นนั้น
2. ให้นักเรียนเปิด Application “Graphing (Geogebra)” และพิมพ์คาสั่งดังนี้ (ครูแสดง
การพิมพ์คาสั่งให้นักเรียนดูเป็นตัวอย่างโดยฉายภาพจากโทรศัพท์มือถือผ่านเครื่องฉายทึบแสง)
1) ตัวอย่างที่ 1
A=(2,2) B=(6,2)
|𝐴𝐵| = 𝑑𝑖𝑠𝑡𝑎𝑛𝑐𝑒(𝐴, 𝐵)
2) ตัวอย่างที่ 2
ปิดการแสดงจุด B และพิมพ์ C=(2,5) |𝐴𝐶| = 𝑑𝑖𝑠𝑡𝑎𝑛𝑐𝑒(𝐴, 𝐶)
3) ตัวอย่างที่ 3
ปิดการแสดงจุด C และ พิมพ์ D=(6,5) |𝐴𝐷| = 𝑑𝑖𝑠𝑡𝑎𝑛𝑐𝑒(𝐴, 𝐷)
ขั้นกิจกรรมการเรียนรู้
1. ครูถามคาถามจากตัวอย่างที่ 1,2,3 ว่าคาตอบที่ได้จากapplication ตรงกับที่นักเรียนตอบหรือไม่ พร้อม
ทั้งอภิปรายว่าทาไมจึงเป็นเช่นนั้น และทาอย่างไรให้ได้คาตอบที่ถูกต้อง หลังจากนั้นจึงสรุปสูตรที่ใช้ในการหาระยะ
ระหว่างจุดทั้งหมด
(แนวการตอบ)
แนวการตอบตัวอย่างที่ 1 เนื่องจากจุด A และ B เป็นจุดที่มีค่า y เท่ากัน เนื่องจากอยู่บนแนว
เส้นตรงที่ขนานแกน x ดังนั้น ระยะระหว่างจุด A , B จึงนาค่า y มาลบกัน และใส่ค่าสัมบูรณ์ เนื่องจาก
ระยะห่างเป็นบวกเสมอ จะได้ |𝐴𝐵| = |𝑥1 − 𝑥2| = |2 − 6| = 4
แนวการตอบตัวอย่างที่ 2 เนื่องจากจุด A และ C เป็นจุดที่มีค่า x เท่ากัน เนื่องจากอยู่บนแนว
เส้นตรงที่ขนานแกน y ดังนั้น ระยะระหว่างจุด A ,C จึงนาค่า x มาลบกัน และใส่ค่าสัมบูรณ์ เนื่องจาก
ระยะห่างเป็นบวกเสมอ|𝐴𝐶| = |𝑦1 − 𝑦2| = |2 − 5| = 3
แนวการตอบตัวอย่างที่ 3 เนื่องจากจุด A, D เป็นจุดใด ๆ ที่ไม่อยู่แนวขนานกับแกน x หรือ
แกน y ดังนั้น การคานวณจึงใช้ทฤษฎีบทพีทากอรัส
ซึ่งเป็นที่มาของสูตร
|𝐴𝐷| = √(𝑥1 − 𝑥2)2 + (𝑦1 − 𝑦2)2 = √(2 − 6)2 + (2 − 5)2 = √16 + 9 = √25 = 5
2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันทาใบกิจกรรมที่ 1 โดยแสดงวิธีคิดโดยละเอียด และตรวจคาตอบด้วย
application ในระหว่างที่นักเรียนทาใบงาน ครูเดินดูรอบ ๆ เพื่อสังเกตการณ์ทางาน และช่วยตอบคาถามในส่วนที่
นักเรียนไม่เข้าใจ
ขั้นสรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสูตรการหาระยะระหว่างจุด โดยใช้ powerpoint
ขั้นประเมินผล
1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันแข่งขันตอบคาถามโดยใช้ application Kahoot โดยมีคาถามทั้งหมด
6 ข้อ นักเรียนกลุ่มที่ได้รับคะแนนมากที่สุดอันดับที่ 1,2,3 จะได้รับคะแนนในบัตรสะสมคะแนนใน Application
Line จานวน 2,1,1 ตามลาดับ
2. ครูให้นักเรียนสร้างโจทย์ 1 ข้อ เกี่ยวกับระยะระหว่างจุด เป็นการบ้าน และอัพไฟล์ word/
powerpoint หรือถ่ายรูปโจทย์พร้อมคาตอบส่งในกระดาน padlet “Homework : ระยะระหว่างจุด”
ของแต่ละห้อง
นักเรียนที่ต้องการถามเนื้อหาหรือโจทย์ที่ไม่เข้าใจ สามารถถามครูได้จากวิธีการต่อไปนี้
1) กระดาน padlet ซึ่งปรากฏใน Sway ของครูผู้สอน
2) Line@:Krulookgade
3) Facebook massanger : Krulookgade Ja
สื่อและแหล่งการเรียนรู้
1. ใบกิจกรรมที่ 1
2. Application Graphing (Geogebra)
3. Application Kahoot
4. Powerpoint เรื่อง ระยะระหว่างจุด 2 จุด
5. บัตรสะสมแต้มใน Application Line
การวัดและประเมินผล
วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์
สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนระหว่างเรียน แบบประเมินพฤติกรรม
การเรียนรู้
9-12 คะแนน : ดี
5-8 คะแนน : ปานกลาง
0-4 คะแนน : ควรปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน 5 คะแนนขึ้นไปถือ
ว่าผ่าน
ตรวจจากการแสดงวิธีคิด ใบกิจกรรมที่ 1
โจทย์ที่นักเรียนสร้างขึ้นเอง
ร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์
แข่งเกม kahoot เพื่อสะสมคะแนนพิเศษ เกม kahoot
บัตรสะสมแสตมป์ใน App Line
นักเรียนกลุ่มที่ได้อันดับที่ 1,2,3
ได้รับคะแนนพิเศษ 2,1,1 ตามลาดับ
แบบประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้
ชั้น ………………. วันที่.......เดือน. ...................พ.ศ...............
คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมในระหว่างเรียนและขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนว่ามีการปฏิบัติหรือไม่
ถ้ามีการปฏิบัติในรายการใดให้ขีด  ถ้าไม่มีให้เว้นว่าง
ที่ ชื่อกลุ่ม คะแนนพฤติกรรมการเรียนรู้
มีส่วนร่วม
ในการแสดง
ความ
คิดเห็น
มีความ
กระตือรือร้น
ในการ
ทางาน
รับผิดชอบ
ในงานที่
มอบหมาย
การทางาน
ร่วมกับผู้อื่น
อย่างสร้าง
สรรค์
รวม
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
เกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมที่ทาเป็นประจา ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมที่ทาเป็นบางครั้ง ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ทาน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
เกณฑ์การประเมินผล
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
9-12 ดี
5-8 ปานกลาง
0-4 ควรปรับปรุง
เกณฑ์การผ่าน 5 คะแนน ขึ้นไปถือว่าผ่าน
ชื่อ-สกุล………………………………………………………..ชั้น……………………………เลขที่………….
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ระยะระหว่างจุด 2 จุด
ให้นักเรียนหาระยะระหว่างจุดที่กาหนดให้แสดงวิธีคิดโดยละเอียด
หลังจากนั้นตรวจคาตอบโดยใช้ Application Graphing เครื่องคานวณเชิงกราฟ (Geogebra)
ข้อที่ โจทย์ แสดงวิธีคิด คาตอบ ข้อที่ โจทย์ แสดงวิธีคิด คาตอบ
1 A(4,5)
B(4,-5)
6 A(3,2)
B(-3,5)
2 C(-4,4)
D(-3,4)
7 X(-3,-1)
Z(1,2)
3 E(2,5)
F(-2,5)
8 C(0,5)
D(1,-2)
4 G(-2,6)
H(-2,-9)
9 E(5,-1)
F(0,3)
5 X(3,5)
Y(2,6)
รวมคะแนน
เฉลยใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ระยะระหว่างจุด 2 จุด
ให้นักเรียนหาระยะระหว่างจุดที่กาหนดให้แสดงวิธีคิดโดยละเอียด
หลังจากนั้นตรวจคาตอบโดยใช้ Application Graphing เครื่องคานวณเชิงกราฟ (Geogebra)
ข้อ
ที่
โจทย์ แสดงวิธีคิด คาตอบ ข้อ
ที่
โจทย์ แสดงวิธีคิด คาตอบ
1 A(4,5)
B(4,-5)
|𝑨𝑩| =
|𝟓 − (−𝟓)|
10 6 A(3,2)
B(-3,5)
|𝑨𝑩| =
√(𝟑 − (−𝟑)) 𝟐 + (𝟐 − 𝟓) 𝟐
𝟑√𝟓
2 C(-4,4)
D(-3,4)
|𝑪𝑫| =
|−𝟒 − (−𝟑)|
1 7 X(-3,-1)
Z(1,2)
|𝑿𝒀| =
√(−𝟑 − 𝟏) 𝟐 + (−𝟏 − 𝟐) 𝟐
5
3 E(2,5)
F(-2,5)
|𝑬𝑭| =
|𝟐 − (−𝟐)|
4 8 C(0,5)
D(1,-2)
|𝑪𝑫| =
√(𝟎 − 𝟏) 𝟐 + (𝟓 − (−𝟐)) 𝟐
𝟓√𝟐
4 G(-2,6)
H(-2,-9)
|𝑮𝑯| =
|𝟔 − (−𝟗)|
15 9 E(5,-1)
F(0,3)
|𝑬𝑭| =
√(𝟓 − 𝟎) 𝟐 + (−𝟏 − 𝟑) 𝟐
√𝟒𝟏
5 X(3,5)
Y(2,6)
|𝑿𝒀| =
√(𝟑 − 𝟐) 𝟐 + (𝟓 − 𝟔) 𝟐
√𝟐 รวมคะแนน
การสะสมคะแนนพิเศษใน บัตรสะสมคะแนนจาก Application Line
คะแนนแต่ละคะแนนในบัตรสะสมคะแนนจาก Application Line จะได้จากกิจกรรมต่าง ๆ ที่ครูจัดขึ้นใน
ห้องเรียนตั้งแต่ต้นภาคเรียน จนกระทั่งถึงการเรียนวันสุดท้ายในภาคเรียนนั้น ๆ แล้วแต่กรณีตามครูผู้สอนกาหนด
ไว้ เช่น การยกมือตอบคาถาม รางวัลจากการแข่งขันเกม การทากิจกรรมกลุ่ม การส่งการบ้านตรงตามเวลา ฯลฯ
บัตรสะสมคะแนนมี 2 แบบ คือ บัตรสะสมแต้ม กับ บัตรสะสมคะแนนระดับพรีเมียม ซึ่งมีความแตกต่างกันดังนี้
บัตรสะสมแต้ม ได้รับเมื่อAdd เป็นเพื่อนกับ Line@ ของ Krulookgade
มีเงื่อนไขในการใช้บัตรสะสมแต้ม คือ
1. รับ 1 คะแนนเมื่อนักเรียนทากิจกรรมตามที่ครูกาหนดได้สาเร็จ
2. รับคะแนนได้ไม่จากัดต่อวัน
3. ในกรณีพบว่ามีการใช้บัตรสะสมคะแนนอย่างไม่ถูกต้อง มีการประพฤติตนไม่เหมาะสมในห้องเรียน
ครูสามารถยกเลิกบัตรสะสมแต้มได้
4. กรณีต้องออกบัตรใหม่ มีค่าธรรมเนียมในการออกบัตรตามดุลพินิจของครู เช่น การทาโจทย์
คณิตศาสตร์ การตอบคาถามเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ การแก้ไขความประพฤติแล้วแต่กรณี
ตัวอย่าง บัตรสะสมแต้มของนักเรียน
บัตรสะสมคะแนนระดับพรีเมียม ได้รับเมื่อสะสมคะแนนในบัตรสะสมแต้มครบ 20 คะแนน จะได้รับรางวัลเป็น
บัตรสะสมคะแนนระดับพรีเมียม
เงื่อนไขในการใช้บัตรสะสมคะแนนระดับพรีเมียม
1. 3 คะแนนในบัตรสะสมคะแนนระดับพรีเมียมเท่ากับ 1 คะแนนพิเศษ ซึ่งสามารถนาไปบวกคะแนนเก็บ
ระหว่างภาคเรียนได้ เช่น คะแนนชิ้นงาน คะแนนสอบเก็บคะแนน
2. ไม่สามารถนาคะแนนในบัตรสะสมคะแนนระดับพรีเมียมแลกเป็นคะแนนสอบกลางภาคและคะแนนสอบ
ปลายภาคได้
3. บัตรสะสมคะแนนระดับพรีเมียมที่อยู่ในสถานะ “ใช้แล้ว” ไม่สามารถนามาแลกคะแนนพิเศษได้
ตัวอย่าง บัตรสะสมคะแนนระดับพรีเมียม

More Related Content

What's hot

แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวDestiny Nooppynuchy
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์ Aobinta In
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยJiraprapa Suwannajak
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลkrurutsamee
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)Math and Brain @Bangbon3
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการAon Narinchoti
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสsawed kodnara
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1guychaipk
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดคุณครูพี่อั๋น
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟJiraprapa Suwannajak
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)Napadon Yingyongsakul
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วนInmylove Nupad
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังทับทิม เจริญตา
 

What's hot (20)

90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่390 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
90 โครงงานคณิตศาสตร์ ตอนที่3_การถอดรากที่3
 
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียวแบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
แบบทดสอบสมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์ ชุดที่ 1  แบบรูปและความสัมพันธ์
ชุดที่ 1 แบบรูปและความสัมพันธ์
 
กรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สองกรณฑ์ที่สอง
กรณฑ์ที่สอง
 
วงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วยวงกลมหนึ่งหน่วย
วงกลมหนึ่งหน่วย
 
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูลเฉลยค่ากลางของข้อมูล
เฉลยค่ากลางของข้อมูล
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
แบบฝึกหัดการวัดตำแหน่งของข้อมูล (สถิติ)
 
ช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการช่วงและการแก้อสมการ
ช่วงและการแก้อสมการ
 
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัสบทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
บทที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
 
โครงงาน 5 บท
โครงงาน  5 บทโครงงาน  5 บท
โครงงาน 5 บท
 
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
หน่วยที่ 3 เลขยกกำลัง ม.1
 
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิดแบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ เรื่อง ปริมาตรของพีระมิด
 
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
ใบความรู้คู่อันดับและกราฟ
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
ข้อสอบคณิตศาสตร์ ม.3 เทอม 2 ชุดที่ 1
 
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
ข้อสอบคณิตศาสตร์ (PISA)
 
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้งชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
ชุดการสอนที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วนหน่วยการเรียนรู้ที่  1   เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เรื่องทศนิยมและเศษส่วน
 
ความคล้าย
ความคล้ายความคล้าย
ความคล้าย
 
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลังข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
ข้อสอบเรื่องการคูณและการหารเลขยกกำลัง
 

Viewers also liked

แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำMine Pantip
 
Conic section-clip vidva
Conic section-clip vidvaConic section-clip vidva
Conic section-clip vidvaYoothapichai KH
 
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว มีเหมือน
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว  มีเหมือนสื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว มีเหมือนพัน พัน
 
ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1Aon Narinchoti
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อAon Narinchoti
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อnarinchoti
 
ปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสAon Narinchoti
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1Aon Narinchoti
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามAon Narinchoti
 
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรมLecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรมAon Narinchoti
 
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นAon Narinchoti
 

Viewers also liked (17)

แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมท้องถิ่นไทดำ
 
2.circle
2.circle2.circle
2.circle
 
Conic section-clip vidva
Conic section-clip vidvaConic section-clip vidva
Conic section-clip vidva
 
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว มีเหมือน
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว  มีเหมือนสื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว  มีเหมือน
สื่อรายวิชา ค 31201 (สมการเส้นตรง) ครูขวัญแก้ว มีเหมือน
 
ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1ชุดกิจกรรม1
ชุดกิจกรรม1
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
ปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโสปรีชา ประเสริฐโส
ปรีชา ประเสริฐโส
 
เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1เนื้อหาเล่ม 1
เนื้อหาเล่ม 1
 
เล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนามเล่ม 1 คำนาม
เล่ม 1 คำนาม
 
Set
SetSet
Set
 
02
0202
02
 
Reasoning
ReasoningReasoning
Reasoning
 
Statistics 04
Statistics 04Statistics 04
Statistics 04
 
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรมLecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
Lecture 010 sequence-series ลำดับและอนุกรม
 
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้นตรรกศาสตร์เบื้องต้น
ตรรกศาสตร์เบื้องต้น
 
6 statistic
6 statistic6 statistic
6 statistic
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด

แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑an510140238
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1krutew Sudarat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
ประมวลรายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม2 ค31202
ประมวลรายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม2 ค31202ประมวลรายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม2 ค31202
ประมวลรายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม2 ค31202Aun Wny
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7ekroojaja
 
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาแผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาwichudaaon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8dump0507
 

Similar to แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด (20)

Math
MathMath
Math
 
Math 2
Math 2Math 2
Math 2
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Plan2
Plan2Plan2
Plan2
 
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
 
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
 
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
 
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑แผนการเรียนรู้ที่ ๑
แผนการเรียนรู้ที่ ๑
 
Unit2
Unit2Unit2
Unit2
 
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
แผน การจัดทำโครงสร้างรายวิชา คำอธิบายรายวิชาคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
ประมวลรายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม2 ค31202
ประมวลรายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม2 ค31202ประมวลรายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม2 ค31202
ประมวลรายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม2 ค31202
 
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7eตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
ตัวอย่างแผนการสอนรวม7e
 
แบบรูป1
แบบรูป1แบบรูป1
แบบรูป1
 
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาแผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
แผนการจัดการเรียนรู้ที่8
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 

More from lookgade

More from lookgade (8)

M5 1 1.9_1
M5 1  1.9_1M5 1  1.9_1
M5 1 1.9_1
 
M5 1 1.9_1
M5 1  1.9_1M5 1  1.9_1
M5 1 1.9_1
 
M5 1 1.9_1
M5 1  1.9_1M5 1  1.9_1
M5 1 1.9_1
 
M5 1 1.9_1
M5 1  1.9_1M5 1  1.9_1
M5 1 1.9_1
 
M5 1 1.9
M5 1  1.9M5 1  1.9
M5 1 1.9
 
M5 1 1.9
M5 1  1.9M5 1  1.9
M5 1 1.9
 
M5 1 1.9
M5 1  1.9M5 1  1.9
M5 1 1.9
 
M5 1 1.9
M5 1  1.9M5 1  1.9
M5 1 1.9
 

แผนการจัดการเรียนรู้เรื่องระยะระหว่างจุด

  • 1. แผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ รายวิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 หน่วยการเรียนรู้ ภาคตัดกรวย เรื่อง เรขาคณิตวิเคราะห์ (ระยะระหว่างจุด 2 จุด) เวลา 1 คาบ สาระที่ 2 การวัด มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัด มาตรฐาน ค 2.2 แก้ปัญหาเกี่ยวกับการวัด สาระที่ 3 เรขาคณิตวิเคราะห์ มาตรฐาน ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา สาระที่ 4 พีชคณิต มาตรฐาน ค 4.2 ใช้นิพจน์ สมการ อสมการ กราฟ และแบบจาลองทางคณิตศาสตร์อื่นๆแทน สถานการณ์ต่างๆตลอดจนแปลความหมายและนาไปใช้แก้ปัญหาได้ สาระที่ 6 ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์ มาตรฐาน ค 6.1 มีความสามารถในการแก้ปัญหา การให้เหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย ทางคณิตศาสตร์และการนาเสนอ การเชื่อมโยงความรู้ต่าง ๆ ทางคณิตศาสตร์และ เชื่อมโยงคณิตศาสตร์กับศาสตร์อื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ผลการเรียนรู้ 1. ด้านความรู้ นักเรียนสามารถ 1. หาระยะระหว่างจุดใด ๆ 2 จุดในระนาบ 2. นาความรู้เรื่องระยะห่างระหว่างจุดไปใช้ในการแก้ปัญหาต่าง ๆ ได้ 2. ด้านทักษะ/กระบวนการ นักเรียนสามารถ 1. ใช้ภาษาและสัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์ในการสื่อสาร สื่อความหมาย และการนาเสนอ ได้อย่างถูกต้อง ชัดเจน และรัดกุม 2. อธิบายเหตุผลผ่านการพูดและการเขียนได้ 3. เชื่อมโยงความรู้เดิมเพื่อเกิดมโนทัศน์ในความรู้ใหม่ได้ 3. ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ นักเรียน 1. เอาใจใส่ในการทากิจกรรมในชั้นเรียน 2. กล้าแสดงความคิดเห็นและยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น
  • 2. สาระสาคัญ 1. ระยะระหว่างจุด 2 จุดที่อยู่ในแนวเส้นตรงที่ขนานกับแกน x กาหนดจุด 1 1P(x , y ) และ 2 2Q(x ,y ) เมื่อ 1 2y y จะได้ 1 2PQ x x  2. ระยะระหว่างจุด 2 จุดที่อยู่ในแนวเส้นตรงที่ขนานกับแกน y กาหนดจุด 1 1P(x , y ) และ 2 2Q(x ,y ) เมื่อ 1 2x x จะได้ 1 2PQ y y  3. ระยะระหว่างจุดใด ๆ 2 จุดในระนาบ กาหนดจุด 1 1P(x , y ) และ 2 2Q(x ,y ) จะได้ 2 2 1 2 1 2PQ (x x ) (y y )   
  • 3. สาระการเรียนรู้ 1. ระยะระหว่างจุด 2 จุดที่อยู่ในแนวเส้นตรงที่ขนานกับแกน x กาหนดจุด 1 1P(x , y ) และ 2 2Q(x ,y ) เมื่อ 1 2y y จะได้ 1 2PQ x x  ตัวอย่างที่ 1 จงหาระยะระหว่างจุด A(2,2) , B(6,2) |𝐴𝐵| = |𝑥1 − 𝑥2| = |2 − 6| = 4 2. ระยะระหว่างจุด 2 จุดที่อยู่ในแนวเส้นตรงที่ขนานกับแกน y กาหนดจุด 1 1P(x , y ) และ 2 2Q(x ,y ) เมื่อ 1 2x x จะได้ 1 2PQ y y  ตัวอย่างที่ 2 จงหาระยะระหว่างจุด A(2,2) , C(2,5) |𝐴𝐶| = |𝑦1 − 𝑦2| = |2 − 5| = 3 3. ระยะระหว่างจุดใด ๆ 2 จุดในระนาบ กาหนดจุด 1 1P(x , y ) และ 2 2Q(x ,y ) จะได้ 2 2 1 2 1 2PQ (x x ) (y y )    ตัวอย่างที่ 3 จงหาระยะระหว่างจุด A(2,2) , D(6,5) |𝐴𝐷| = √(𝑥1 − 𝑥2)2 + (𝑦1 − 𝑦2)2 = √(2 − 6)2 + (2 − 5)2 = √16 + 9 = √25 = 5 กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นนา 1. ครูกล่าวสวัสดี และยกตัวอย่างที่ 1,2,3 ให้นักเรียนทั้งห้องตอบคาถามพร้อมทั้งให้เหตุผลว่าทาไมจึงคิด เช่นนั้น 2. ให้นักเรียนเปิด Application “Graphing (Geogebra)” และพิมพ์คาสั่งดังนี้ (ครูแสดง การพิมพ์คาสั่งให้นักเรียนดูเป็นตัวอย่างโดยฉายภาพจากโทรศัพท์มือถือผ่านเครื่องฉายทึบแสง)
  • 4. 1) ตัวอย่างที่ 1 A=(2,2) B=(6,2) |𝐴𝐵| = 𝑑𝑖𝑠𝑡𝑎𝑛𝑐𝑒(𝐴, 𝐵) 2) ตัวอย่างที่ 2 ปิดการแสดงจุด B และพิมพ์ C=(2,5) |𝐴𝐶| = 𝑑𝑖𝑠𝑡𝑎𝑛𝑐𝑒(𝐴, 𝐶)
  • 5. 3) ตัวอย่างที่ 3 ปิดการแสดงจุด C และ พิมพ์ D=(6,5) |𝐴𝐷| = 𝑑𝑖𝑠𝑡𝑎𝑛𝑐𝑒(𝐴, 𝐷) ขั้นกิจกรรมการเรียนรู้ 1. ครูถามคาถามจากตัวอย่างที่ 1,2,3 ว่าคาตอบที่ได้จากapplication ตรงกับที่นักเรียนตอบหรือไม่ พร้อม ทั้งอภิปรายว่าทาไมจึงเป็นเช่นนั้น และทาอย่างไรให้ได้คาตอบที่ถูกต้อง หลังจากนั้นจึงสรุปสูตรที่ใช้ในการหาระยะ ระหว่างจุดทั้งหมด (แนวการตอบ) แนวการตอบตัวอย่างที่ 1 เนื่องจากจุด A และ B เป็นจุดที่มีค่า y เท่ากัน เนื่องจากอยู่บนแนว เส้นตรงที่ขนานแกน x ดังนั้น ระยะระหว่างจุด A , B จึงนาค่า y มาลบกัน และใส่ค่าสัมบูรณ์ เนื่องจาก ระยะห่างเป็นบวกเสมอ จะได้ |𝐴𝐵| = |𝑥1 − 𝑥2| = |2 − 6| = 4 แนวการตอบตัวอย่างที่ 2 เนื่องจากจุด A และ C เป็นจุดที่มีค่า x เท่ากัน เนื่องจากอยู่บนแนว เส้นตรงที่ขนานแกน y ดังนั้น ระยะระหว่างจุด A ,C จึงนาค่า x มาลบกัน และใส่ค่าสัมบูรณ์ เนื่องจาก ระยะห่างเป็นบวกเสมอ|𝐴𝐶| = |𝑦1 − 𝑦2| = |2 − 5| = 3 แนวการตอบตัวอย่างที่ 3 เนื่องจากจุด A, D เป็นจุดใด ๆ ที่ไม่อยู่แนวขนานกับแกน x หรือ แกน y ดังนั้น การคานวณจึงใช้ทฤษฎีบทพีทากอรัส ซึ่งเป็นที่มาของสูตร |𝐴𝐷| = √(𝑥1 − 𝑥2)2 + (𝑦1 − 𝑦2)2 = √(2 − 6)2 + (2 − 5)2 = √16 + 9 = √25 = 5
  • 6. 2. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันทาใบกิจกรรมที่ 1 โดยแสดงวิธีคิดโดยละเอียด และตรวจคาตอบด้วย application ในระหว่างที่นักเรียนทาใบงาน ครูเดินดูรอบ ๆ เพื่อสังเกตการณ์ทางาน และช่วยตอบคาถามในส่วนที่ นักเรียนไม่เข้าใจ ขั้นสรุป ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสูตรการหาระยะระหว่างจุด โดยใช้ powerpoint ขั้นประเมินผล 1. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันแข่งขันตอบคาถามโดยใช้ application Kahoot โดยมีคาถามทั้งหมด 6 ข้อ นักเรียนกลุ่มที่ได้รับคะแนนมากที่สุดอันดับที่ 1,2,3 จะได้รับคะแนนในบัตรสะสมคะแนนใน Application Line จานวน 2,1,1 ตามลาดับ 2. ครูให้นักเรียนสร้างโจทย์ 1 ข้อ เกี่ยวกับระยะระหว่างจุด เป็นการบ้าน และอัพไฟล์ word/ powerpoint หรือถ่ายรูปโจทย์พร้อมคาตอบส่งในกระดาน padlet “Homework : ระยะระหว่างจุด” ของแต่ละห้อง นักเรียนที่ต้องการถามเนื้อหาหรือโจทย์ที่ไม่เข้าใจ สามารถถามครูได้จากวิธีการต่อไปนี้ 1) กระดาน padlet ซึ่งปรากฏใน Sway ของครูผู้สอน 2) Line@:Krulookgade 3) Facebook massanger : Krulookgade Ja
  • 7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้ 1. ใบกิจกรรมที่ 1 2. Application Graphing (Geogebra) 3. Application Kahoot 4. Powerpoint เรื่อง ระยะระหว่างจุด 2 จุด 5. บัตรสะสมแต้มใน Application Line การวัดและประเมินผล วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์ สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนระหว่างเรียน แบบประเมินพฤติกรรม การเรียนรู้ 9-12 คะแนน : ดี 5-8 คะแนน : ปานกลาง 0-4 คะแนน : ควรปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน 5 คะแนนขึ้นไปถือ ว่าผ่าน ตรวจจากการแสดงวิธีคิด ใบกิจกรรมที่ 1 โจทย์ที่นักเรียนสร้างขึ้นเอง ร้อยละ 80 ผ่านเกณฑ์ แข่งเกม kahoot เพื่อสะสมคะแนนพิเศษ เกม kahoot บัตรสะสมแสตมป์ใน App Line นักเรียนกลุ่มที่ได้อันดับที่ 1,2,3 ได้รับคะแนนพิเศษ 2,1,1 ตามลาดับ
  • 8. แบบประเมินพฤติกรรมการเรียนรู้ ชั้น ………………. วันที่.......เดือน. ...................พ.ศ............... คาชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมในระหว่างเรียนและขณะปฏิบัติกิจกรรมของนักเรียนว่ามีการปฏิบัติหรือไม่ ถ้ามีการปฏิบัติในรายการใดให้ขีด  ถ้าไม่มีให้เว้นว่าง ที่ ชื่อกลุ่ม คะแนนพฤติกรรมการเรียนรู้ มีส่วนร่วม ในการแสดง ความ คิดเห็น มีความ กระตือรือร้น ในการ ทางาน รับผิดชอบ ในงานที่ มอบหมาย การทางาน ร่วมกับผู้อื่น อย่างสร้าง สรรค์ รวม 3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 เกณฑ์การให้คะแนน พฤติกรรมที่ทาเป็นประจา ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ทาเป็นบางครั้ง ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมที่ทาน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน เกณฑ์การประเมินผล ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ 9-12 ดี 5-8 ปานกลาง 0-4 ควรปรับปรุง เกณฑ์การผ่าน 5 คะแนน ขึ้นไปถือว่าผ่าน
  • 9. ชื่อ-สกุล………………………………………………………..ชั้น……………………………เลขที่…………. ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ระยะระหว่างจุด 2 จุด ให้นักเรียนหาระยะระหว่างจุดที่กาหนดให้แสดงวิธีคิดโดยละเอียด หลังจากนั้นตรวจคาตอบโดยใช้ Application Graphing เครื่องคานวณเชิงกราฟ (Geogebra) ข้อที่ โจทย์ แสดงวิธีคิด คาตอบ ข้อที่ โจทย์ แสดงวิธีคิด คาตอบ 1 A(4,5) B(4,-5) 6 A(3,2) B(-3,5) 2 C(-4,4) D(-3,4) 7 X(-3,-1) Z(1,2) 3 E(2,5) F(-2,5) 8 C(0,5) D(1,-2) 4 G(-2,6) H(-2,-9) 9 E(5,-1) F(0,3) 5 X(3,5) Y(2,6) รวมคะแนน
  • 10. เฉลยใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง ระยะระหว่างจุด 2 จุด ให้นักเรียนหาระยะระหว่างจุดที่กาหนดให้แสดงวิธีคิดโดยละเอียด หลังจากนั้นตรวจคาตอบโดยใช้ Application Graphing เครื่องคานวณเชิงกราฟ (Geogebra) ข้อ ที่ โจทย์ แสดงวิธีคิด คาตอบ ข้อ ที่ โจทย์ แสดงวิธีคิด คาตอบ 1 A(4,5) B(4,-5) |𝑨𝑩| = |𝟓 − (−𝟓)| 10 6 A(3,2) B(-3,5) |𝑨𝑩| = √(𝟑 − (−𝟑)) 𝟐 + (𝟐 − 𝟓) 𝟐 𝟑√𝟓 2 C(-4,4) D(-3,4) |𝑪𝑫| = |−𝟒 − (−𝟑)| 1 7 X(-3,-1) Z(1,2) |𝑿𝒀| = √(−𝟑 − 𝟏) 𝟐 + (−𝟏 − 𝟐) 𝟐 5 3 E(2,5) F(-2,5) |𝑬𝑭| = |𝟐 − (−𝟐)| 4 8 C(0,5) D(1,-2) |𝑪𝑫| = √(𝟎 − 𝟏) 𝟐 + (𝟓 − (−𝟐)) 𝟐 𝟓√𝟐 4 G(-2,6) H(-2,-9) |𝑮𝑯| = |𝟔 − (−𝟗)| 15 9 E(5,-1) F(0,3) |𝑬𝑭| = √(𝟓 − 𝟎) 𝟐 + (−𝟏 − 𝟑) 𝟐 √𝟒𝟏 5 X(3,5) Y(2,6) |𝑿𝒀| = √(𝟑 − 𝟐) 𝟐 + (𝟓 − 𝟔) 𝟐 √𝟐 รวมคะแนน
  • 11. การสะสมคะแนนพิเศษใน บัตรสะสมคะแนนจาก Application Line คะแนนแต่ละคะแนนในบัตรสะสมคะแนนจาก Application Line จะได้จากกิจกรรมต่าง ๆ ที่ครูจัดขึ้นใน ห้องเรียนตั้งแต่ต้นภาคเรียน จนกระทั่งถึงการเรียนวันสุดท้ายในภาคเรียนนั้น ๆ แล้วแต่กรณีตามครูผู้สอนกาหนด ไว้ เช่น การยกมือตอบคาถาม รางวัลจากการแข่งขันเกม การทากิจกรรมกลุ่ม การส่งการบ้านตรงตามเวลา ฯลฯ บัตรสะสมคะแนนมี 2 แบบ คือ บัตรสะสมแต้ม กับ บัตรสะสมคะแนนระดับพรีเมียม ซึ่งมีความแตกต่างกันดังนี้ บัตรสะสมแต้ม ได้รับเมื่อAdd เป็นเพื่อนกับ Line@ ของ Krulookgade มีเงื่อนไขในการใช้บัตรสะสมแต้ม คือ 1. รับ 1 คะแนนเมื่อนักเรียนทากิจกรรมตามที่ครูกาหนดได้สาเร็จ 2. รับคะแนนได้ไม่จากัดต่อวัน 3. ในกรณีพบว่ามีการใช้บัตรสะสมคะแนนอย่างไม่ถูกต้อง มีการประพฤติตนไม่เหมาะสมในห้องเรียน ครูสามารถยกเลิกบัตรสะสมแต้มได้ 4. กรณีต้องออกบัตรใหม่ มีค่าธรรมเนียมในการออกบัตรตามดุลพินิจของครู เช่น การทาโจทย์ คณิตศาสตร์ การตอบคาถามเกี่ยวกับคณิตศาสตร์ การแก้ไขความประพฤติแล้วแต่กรณี ตัวอย่าง บัตรสะสมแต้มของนักเรียน
  • 12. บัตรสะสมคะแนนระดับพรีเมียม ได้รับเมื่อสะสมคะแนนในบัตรสะสมแต้มครบ 20 คะแนน จะได้รับรางวัลเป็น บัตรสะสมคะแนนระดับพรีเมียม เงื่อนไขในการใช้บัตรสะสมคะแนนระดับพรีเมียม 1. 3 คะแนนในบัตรสะสมคะแนนระดับพรีเมียมเท่ากับ 1 คะแนนพิเศษ ซึ่งสามารถนาไปบวกคะแนนเก็บ ระหว่างภาคเรียนได้ เช่น คะแนนชิ้นงาน คะแนนสอบเก็บคะแนน 2. ไม่สามารถนาคะแนนในบัตรสะสมคะแนนระดับพรีเมียมแลกเป็นคะแนนสอบกลางภาคและคะแนนสอบ ปลายภาคได้ 3. บัตรสะสมคะแนนระดับพรีเมียมที่อยู่ในสถานะ “ใช้แล้ว” ไม่สามารถนามาแลกคะแนนพิเศษได้ ตัวอย่าง บัตรสะสมคะแนนระดับพรีเมียม