SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
ใบความรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.1 หลักการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
ในการแก้ปัญหานั้นมีหลายวิธีการ ขึ้นอยู่กับชนิดของงาน วิธีการแก้ปัญหาอย่างหนึ่งอาจไม่
สามารถแก้ปัญหาอีกอย่างหนึ่งได้ และการแก้ปัญหาอาจจาเป็นต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้
หรือไม่ก็ได้เช่นกัน ดังนั้นเราจึงควรยึดหลักการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ วิธีการแก้ปัญหานั้นมีดังนี้
คือ
1. หลักการแก้ปัญหาด้วยวิธีการวิทยาศาสตร์ เป็นวิธีการที่มีมานานมากแล้ว เป็นการ
ศึกษาค้นคว้าความรู้ใหม่ๆ ด้วยขั้นตอนต่างๆดังนี้ คือ
1) เก็บข้อมูลเบื้องต้น โดยการศึกษา สังเกต
2) ตั้งสมมติฐาน
3) พัฒนาวิธีการทดสอบสมมติฐาน
4) ทาการทดลองเพื่อพิสูจน์สมมติฐาน
5) วิเคราะห์ผลการทดลอง
6) เขียนรายงานสรุปการทดลอง
2. หลักการแก้ปัญหาตามวิธีการวิศวกรรม วิธีนี้เหมาะกับการแก้ปัญหาในงานออก
แบบผลิตภัณฑ์ สินค้าหรือการสร้างสิ่งใหม่ๆ มีขั้นตอนดังนี้
1) วิเคราะห์ปัญหา เพื่อกาหนดรายละเอียดของปัญหาให้ชัดเจน
2) สร้างแบบจาลองวิธีการแก้ปัญหา
3) คานวณหาคาตอบ
4) นาผลลัพธ์ที่สมเหตุสมผล ไปใช้ปฏิบัติงาน
3. วิธีการแก้ปัญหาแบบสร้างสรรค์ เป็นวิธีการแก้ปัญหาที่ใช้แนวคิดในการสร้างสรรค์
สามารถนาไปใช้ได้อย่างกว้างขวาง มีวิธีตามขั้นตอนดังนี้
1) ใช้การสังเกตอย่างพินิจวิเคราะห์
2) ค้นหาความจริง โดยการเก็บรวบรวมข้อมูล
3) ค้นหาปัญหาว่าแท้จริงคืออะไร
4) ค้นหาแนวคิดในการแก้ปัญหาหลายๆ วิธี
5) ค้นหาวิธีแก้ปัญหาที่ดีที่สุด แล้วเลือกแก้ปัญหาโดยวิธีนั้น
6) ค้นหาวิธีที่ทาให้ตนเอง และผู้อื่นยอมรับในการใช้วิธีนั้นๆแก้ปัญหา
การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นแก้ปัญหาโดยนาระบบ
คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย เพื่อเพิ่มความรวดเร็ว ถูกต้องและสามารถทางานแบบซ้าๆได้ง่าย การนา
คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการแก้ปัญหานั้นมีความจาเป็นต้องปรับรูปแบบวิธีการทางานใหม่ให้
เหมาะสมกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นเรา
จาเป็นต้องสร้างระบบงานด้วยคอมพิวเตอร์ นั้นก็หมายถึงการเขียนโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน
นั่นเอง ดังนั้นในการพัฒนาระบบงานด้วยคอมพิวเตอร์เราจึงจาเป็นต้องศึกษาและวางขั้นตอนดังนี้
1) การวิเคราะห์งาน
2 ) การเขียนผังงาน
3) การเขียนคาสั่งซูโดโค้ด
4) การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์
5) การทดสอบโปรแกรม
6) การนาไปใช้
7) การบารุงรักษา
8) การติดตาม ประเมินผลเพื่อปรับปรุงแก้ไข
1.2 การวิเคราะห์งาน
เป็นขั้นตอนแรกที่ต้องการะทาเมื่อเริ่มที่จะเขียนโปรแกรมและถือว่าเป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุด
การวิเคราะห์งานเริ่มต้นจากการกาหนดขอบข่าย หรือปัญหาของงาน รวบรวมรายละเอียดของงาน
ศึกษาวิเคราะห์โดยละเอียดว่าต้องการให้คอมพิวเตอร์ทาอะไร มีรูปแบบของผลลัพธ์เป็นอย่างไร
ต้องการข้อมูลอะไรเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการและการประมวลผลจะมีขั้นตอนและใช้สูตรอะไรบ้าง
การวิเคราะห์จึงเป็นงานขั้นวางแผนเพื่อเตรียมการให้พร้อมที่จะเขียนโปรแกรม
สรุปได้ว่า การวิเคราะห์งานเป็นการศึกษา ผลลัพธ์ (Output) ข้อมูลที่นาเข้า (Input) และ
วิธีการประมวลผล (Process) ที่จะใช้ในการเขียนโปรแกรมนั่นเอง โดยทั่วไปนิยมแบ่งวิธีการวิเคราะห์
งานเป็น 5 ข้อ ดังนี้
1) สิ่งที่ต้องการ : เป็นการบอกให้ทราบว่างานที่ต้องการให้ทามีอะไรบ้าง
2) รูปแบบผลลัพธ์ : เป็นการบอกลักษณะหรือรูปแบบที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทาให้
3) ข้อมูลนาเข้า : ข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลมีอะไรบ้าง
4) ตัวแปรที่ใช้ : บอกว่าใช้ตัวแปรอะไรแทนข้อมูลนาเข้า หรือแทนค่าที่อยู่ระหว่างการ
ประมวลผล ตลอดจนตัวแปรที่ใช้แสดงผล
5) วิธีการประมวลผล : คือขั้นตอนของคาสั่งหรือวิธีการที่ใช้ในโปรกแกรม ซึ่งขั้นตอน
บางอย่างจะต้องเรียงลาดับก่อนหลัง สลับลาดับไม่ได้ เพราะจะทาให้ไม่สามารถ
ประมวลผลหรือทาให้ได้ผลลัพธ์ไม่ตรงตามที่ต้องการ
ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน
ตัวอย่างที่ 1.1 ผลลัพธ์ที่ต้องการ คือ พื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉากข้อมูลนาเข้าที่ต้องใส่เข้าไปใน
โปรแกรมคือ
1) สูตรคานวณพื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉาก
พื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉาก = ? x ฐาน x สูง
2) ความยาวของฐานและความสูงของรูปสามเหลี่ยม
จากตัวอย่างที่ 1.1 สามารถแสดงการวิเคราะห์งานตั้งแต่ขั้นตอนที่ 1 ถึง 4 ได้ดังนี้
1) วัตถุประสงค์ของการเขียนโปรแกรม
เพื่อคานวณหาค่าพื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉาก
2) รูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการ
พิมพ์ผลลัพธ์ที่ต้องการออกทางภาพดังนี้
* ** output ***
Base = 5
High = 4
Area = 10
3) ข้อมูลนาเข้า คือ ความยาวฐานและความสูง
4) ตัวแปรที่ใช้
B = ตัวแปรที่เก็บความยาวของสามเหลี่ยมมุมฉาก
H = ตัวแปรที่เก็บความสูงของสามเหลี่ยมมุมฉาก
Area = ตัวแปรที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณตามสูตร
Area = 1/2*B*H หรือ Area = 0.5*B*H
5) การหาขั้นตอนวิธีการทางานของโปรแกรม การหาขั้นตอนวิธีการทางานของโปรแกรมจะขึ้นอยู่
กับลักษณะของการแก้ปัญหา ดังนั้นนักเขียนโปรแกรมที่มีความชานาญในระดับหนึ่งแล้วจะสามารถ
หาขั้นตอนวิธีการทางานของโปรแกรมได้โดยไม่ยาก แต่สาหรับผู้ที่เริ่มต้นศึกษาการเขียน
โปรแกรม ควรหาขั้นตอนวิธีการทางานของโปรแกรมตามคาแนะนาโดยเรียงตามลาดับดังนี้
ขั้นตอนวิธีการทางานของโปรแกรมที่แนะนา
5.1) เริ่มต้นทางาน
5.2) กาหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปร
5.3) พิมพ์หัวรายงาน (ถ้ามีรายงาน)
5.4) รับข้อมูลเข้าทีละเรคอร์ด
5.5) ตรวจสอบข้อมูลว่าเป็นชุดสุดท้ายหรือไม่
5.5.1 ถ้าเป็นข้อมูลชุดสุดท้าย ให้ไปทางานข้อ 5.11
5.5.2 ถ้าไม่ใช่ข้อมูลชุดสุดท้าย ให้ทางานข้อต่อมา (ข้อ 5.6)
5.6) คานวณผลลัพธ์
5.7) เปรียบเทียบผลลัพธ์ (ถ้ามี)
5.8) เพิ่มค่าตัวแปรสะสม (ถ้ามี)
5.9) พิมพ์ค่าผลลัพธ์ทีละเรคอร์ด
5.10) ย้อนกลับไปทางานข้อ 5.4
5.11) พิมพ์สรุป (ถ้ามี)
5.12) จบการทางาน
ทั้งนี้การวิเคราะห์งานเพื่อแก้ปัญหาแต่ละอย่างอาจมีบางขั้นตอนแตกต่างกันไป ดังนั้น
คาแนะนาข้างต้นจึงเป็นเพียงแนวทางของการหาขั้นตอนวิธีการทางานของโปรแกรมเท่านั้น ซึ่ง
เวลาใช้งานจริงผู้วิเคราะห์งานต้องประยุกต์ให้เข้ากับปัญหาที่ต้องการแก้ไขต่อไป
เพื่อความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนวิธีการวิเคราะห์งานมากยิ่งขึ้น ให้ศึกษาจากตัวอย่างการ
วิเคราะห์งานดังต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1.2 จงเขียนวิเคราะห์งาน เพื่อเขียนโปรแกรมคานวณ พื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า จานวน 1 รูป
โดยที่ผู้ใช้โปรแกรม จะต้องป้อนความกว้าง และความยาวของสี่เหลี่ยมผืนผ้า เข้าไปในโปรแกรม
วิธีทา
ขั้นตอนการวิเคราะห์งานทั้ง 5 ขั้นตอน สามารถแสดงได้ดังนี้
1) วัตถุประสงค์ของการเขียนโปรแกรม
เพื่อคานวณพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้าจานวน 1 รูป
2) รูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการ
พิมพ์ผลลัพธ์ออกทางจอภาพ ดังนี้
3) ข้อมูลนาเข้า
3.1) สูตรคานวณพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า
Area = Width*Length
3.2) รับค่าความกว้างและความยาวของสี่เหลี่ยมผืนผ้าผ่านทางคีย์บอร์ด
4) ตัวแปรที่ตั้งขึ้นเพื่อใช้ในโปรแกรม
Width = ตัวแปรที่ใช้เก็บความกว้างของสี่เหลี่ยมผืนผ้า
Length = ตัวแปรที่ใช้เก็บความยาวของสี่เหลี่ยมผืนผ้า
Area = ตัวแปรที่ใช้เก็บพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้า
โดยคานวณได้จากสูตร Area = Width*Length
5) ขั้นตอนวิธีการทางานของโปรแกรมมีดังนี้
5.1) เริ่มต้นทางาน
5.2) รับข้อมูลค่าความยาวและความกว้างของสี่เหลี่ยมผืนผ้าผ่านทางคีย์บอร์ด
5.3) คานวณพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้าตามสูตร
Area = Width*Length
5.4) พิมพ์ค่าความยาว ความกว้างและพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้าออกทางจอภาพ
5.5) จบการทางาน
ตัวอย่างที่ 1.3 บริษัทแห่งหนึ่งต้องการทาบัญชีเงินเดือนของพนักงาน โดยหักภาษีไว้ด้วย และมี
เงื่อนไขในการคานวณภาษีดังนี้
รายได้น้อยกว่า หรือเท่ากับ 2,000 บาท ยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี
รายได้ตั้งแต่ 2,000 ขึ้นไปเสียภาษี 4 % ของรายได้
จงหาจานวนเงินที่พนักงานแต่ละคนจะได้รับ และเงินรวมทั้งหมดที่จะต้องจ่ายให้แก่พนักงาน
วิเคราะห์งาน
1. สิ่งที่ต้องการ
-คานวณเงินที่พนักงานแต่ละคนจะได้รับหลังจากหักภาษีแล้ว
-คานวณเงินรวมที่บริษัทจะต้องจ่ายทั้งหมด
2. รูปแบบผลลัพธ์
ชื่อบริษัท
ชื่อพนักงาน เงินเดือน ภาษี สุทธิที่ได้รับ
………………. xx,xxx.xx xx.xx xx,xxx.xx
………………. xx,xxx.xx xx.xx xx,xxx.xx
รวม
xxx,xxx.xx
3. ข้อมูลนาเข้า
ชื่อและเงินเดือนของพนักงานแต่ละคน
สัญลักษณ์หรือตัวแปรที่ใช้ทดสอบว่าข้อมูลหมด
4. ตัวแปรที่ใช้
ชื่อตัวแปร ความหมาย
Name ชื่อพนักงานแต่ละคน
Salary เงินเดือนพนักงานแต่ละคน
TAX ภาษีที่หักจากเงินเดือนของพนักงานแต่ละคน
NET เงินเดือนสุทธิที่พนักงานแต่ละคนได้รับ
LC ตัวแปรที่ใช้ทดสอบว่าข้อมูลหมด
Total เงินรวมที่บริษัทจะต้องจ่ายทั้งหมด
5. วิธีการประมวลผล
แสดงหัวตาราง
Total = 0
รับค่าจากตัวแปร Name , Salary , LC ทีละรายการ
เปรียบเทียบค่า Salary กับ 2,000
- ถ้าให้ Salary < = 2,000 ให้ TAX = 0
- ถ้าให้ Salary > 2,000 ให้ TAX = 0.4 * Salary
NET = Salary – TAX
Total = Total + NET
พิมพ์ผลลัพธ์ Name , Salary , TAX , NET ทีละรายการ
เปรียบเทียบ LC กับ 1
- ถ้า LC < > 1 ให้ย้อนกลับไปทาข้อ 3
- ถ้า LC = 1 ให้ทาข้อถัดไป
พิมพ์ค่า Total
หยุดทางาน
เอกสารอ้างอิง
“ ขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหาการเขียนโปรแกรม.” 2559. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา
http://www.natthawat.us/index.php (๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๙)
“หลัก 5 ข้อในการวิเคราะห์ปัญหา.” 2559. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา
https://sites.google.com/site/programmingm42/hlak-5-khx-ni-kar-wikheraah-
payha. (๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๙)

More Related Content

What's hot

Unit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptUnit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptIrinApat
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมnuknook
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาคีตะบลู รักคำภีร์
 
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาแผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาwichudaaon
 
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญาการสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญาNU
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solutionaumaiaiai
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร Toffee Nohcc
 
ใบงานที่ 2 3 4
ใบงานที่ 2 3 4ใบงานที่ 2 3 4
ใบงานที่ 2 3 4siriluck29
 
หลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหาหลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหาKhon Kaen University
 
แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1Heinrich79
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordpeter dontoom
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศThitikorn Prakrongyad
 

What's hot (18)

Unit1 decveloping concept
Unit1 decveloping conceptUnit1 decveloping concept
Unit1 decveloping concept
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหาใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
ใบความรู้ที่2 การวิเคราะห์ขั้นตอนวิธีการแก้ปัญหา
 
Mini Master in software testing
Mini Master in software testingMini Master in software testing
Mini Master in software testing
 
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหาแผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
แผนเรื่องหลักการแก้ปัญหา
 
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญาการสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
การสร้างเครื่องมือวัดความรู้และทักษะทางปัญญา
 
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรมใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
ใบความรู้ การเขียนโปรแกรม
 
Pbl3
Pbl3 Pbl3
Pbl3
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร โครงงานคอมพ วเตอร
โครงงานคอมพ วเตอร
 
ใบงานที่ 2 3 4
ใบงานที่ 2 3 4ใบงานที่ 2 3 4
ใบงานที่ 2 3 4
 
หลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหาหลักการแก้ปัญหา
หลักการแก้ปัญหา
 
Problem solution
Problem solutionProblem solution
Problem solution
 
ส่งคอม
ส่งคอมส่งคอม
ส่งคอม
 
แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1แบบทดสอบที่ 1
แบบทดสอบที่ 1
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ปัญหาโดยช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
 

Viewers also liked

ใบความรู้ที่ 19 การนำภาพวาดไปใช้งาน
ใบความรู้ที่ 19 การนำภาพวาดไปใช้งานใบความรู้ที่ 19 การนำภาพวาดไปใช้งาน
ใบความรู้ที่ 19 การนำภาพวาดไปใช้งานณัฐพล บัวพันธ์
 
3โครงสร้างตามลำดับ
3โครงสร้างตามลำดับ3โครงสร้างตามลำดับ
3โครงสร้างตามลำดับFon Edu Com-sci
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงสร้างโปรแกรม
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงสร้างโปรแกรมใบงานที่ 4 เรื่อง โครงสร้างโปรแกรม
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงสร้างโปรแกรมFon Edu Com-sci
 
สัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงานสัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงานPannathat Champakul
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน9inglobin
 
ใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรมใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรมdechathon
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานChess
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีณัฐพล บัวพันธ์
 

Viewers also liked (10)

ใบความรู้ที่ 19 การนำภาพวาดไปใช้งาน
ใบความรู้ที่ 19 การนำภาพวาดไปใช้งานใบความรู้ที่ 19 การนำภาพวาดไปใช้งาน
ใบความรู้ที่ 19 การนำภาพวาดไปใช้งาน
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
การเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษาการเขียนโปรแกรมภาษา
การเขียนโปรแกรมภาษา
 
3โครงสร้างตามลำดับ
3โครงสร้างตามลำดับ3โครงสร้างตามลำดับ
3โครงสร้างตามลำดับ
 
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงสร้างโปรแกรม
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงสร้างโปรแกรมใบงานที่ 4 เรื่อง โครงสร้างโปรแกรม
ใบงานที่ 4 เรื่อง โครงสร้างโปรแกรม
 
สัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงานสัญลักษณ์ผังงาน
สัญลักษณ์ผังงาน
 
ความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงานความหมายของผังงาน
ความหมายของผังงาน
 
ใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรมใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรม
ใบความรู้ที่ 5 การเขียนผังงานโปรแกรม
 
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงานแบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
แบบฝึกหัดโครงสร้างการเขียนผังงาน
 
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซีโครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
โครงสร้างของโปรแกรมภาษาซี
 

Similar to การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopcheekymoodygirl92
 
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopcheekymoodygirl92
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมPassawan' Koohar
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศB'Benz Sunisa
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศPaweena Kittitongchaikul
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9Rattana Wongphu-nga
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3anusong
 
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์Kutjung Rmuti
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanokwan Pudlee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Kanokwan Pudlee
 
แบบทดสอบ1
แบบทดสอบ1แบบทดสอบ1
แบบทดสอบ1mayochikijo
 
ประมวลรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
ประมวลรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกประมวลรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
ประมวลรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกเบญญาภา ตนกลาย
 

Similar to การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ (20)

โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
 
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshopโครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
โครงงานภาพสวยด้วย Photoshop
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
งานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอมงานนำเสนอ1 คอม
งานนำเสนอ1 คอม
 
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศการแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การแก้ไขปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
คอมทรงสัก1
คอมทรงสัก1คอมทรงสัก1
คอมทรงสัก1
 
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
ความหมายของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9ใบความรู้ที่ 9
ใบความรู้ที่ 9
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 
โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3โจทย์ Pbl3
โจทย์ Pbl3
 
Presentation 3 (1)
Presentation 3 (1)Presentation 3 (1)
Presentation 3 (1)
 
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบทดสอบ1
แบบทดสอบ1แบบทดสอบ1
แบบทดสอบ1
 
Infor
InforInfor
Infor
 
ประมวลรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
ประมวลรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิกประมวลรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
ประมวลรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิก
 
2 3
2 32 3
2 3
 

More from ณัฐพล บัวพันธ์

เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightณัฐพล บัวพันธ์
 
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น  บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น ณัฐพล บัวพันธ์
 
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh ณัฐพล บัวพันธ์
 
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์ณัฐพล บัวพันธ์
 

More from ณัฐพล บัวพันธ์ (20)

ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
ออกแบบและเทคโนโลยี ม.5
 
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbrightเทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
เทคโนโลยีวิทยาการคำนวณ Coding Kidbright
 
วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3วิทยาการคำนวณ3
วิทยาการคำนวณ3
 
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
 
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น62
 
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น
รายนามศิษย์เก่าดีเด่นรายนามศิษย์เก่าดีเด่น
รายนามศิษย์เก่าดีเด่น
 
กำหนดการรับสมัครนักเรียน
กำหนดการรับสมัครนักเรียนกำหนดการรับสมัครนักเรียน
กำหนดการรับสมัครนักเรียน
 
บทที่ 7 เล่นกับเวลา
บทที่ 7 เล่นกับเวลา  บทที่ 7 เล่นกับเวลา
บทที่ 7 เล่นกับเวลา
 
บทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรี
บทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรีบทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรี
บทที่ 6 ตะลุย โลกดนตรี
 
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น  บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
บทที่ 5 คิดอย่างไร ได้อย่างนั้น
 
บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright
บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright  บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright
บทที่ 4 สนุกคณิตกับ KidBright
 
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
บทที่ 3 การสร้างภาพเคลื่อนไหว ด้วย Kidbrigh
 
บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright
บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright  บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright
บทที่ 2 ท่องไปในโลก Kidbright
 
บทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุก
บทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุกบทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุก
บทที่ 1 คิดคำนวณชวนสนุก
 
ผลการสอบม1
ผลการสอบม1ผลการสอบม1
ผลการสอบม1
 
การจัดห้องเรียน ม4
การจัดห้องเรียน ม4การจัดห้องเรียน ม4
การจัดห้องเรียน ม4
 
ผลการสอบม4
ผลการสอบม4ผลการสอบม4
ผลการสอบม4
 
การจัดห้องเรียน
การจัดห้องเรียนการจัดห้องเรียน
การจัดห้องเรียน
 
ผลการสอบม1
ผลการสอบม1ผลการสอบม1
ผลการสอบม1
 
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
การพัฒนาโครงงานคอมพิวเตอร์
 

การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ

  • 1. ใบความรู้ที่ 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ 1.1 หลักการแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการแก้ปัญหานั้นมีหลายวิธีการ ขึ้นอยู่กับชนิดของงาน วิธีการแก้ปัญหาอย่างหนึ่งอาจไม่ สามารถแก้ปัญหาอีกอย่างหนึ่งได้ และการแก้ปัญหาอาจจาเป็นต้องใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้ หรือไม่ก็ได้เช่นกัน ดังนั้นเราจึงควรยึดหลักการแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ วิธีการแก้ปัญหานั้นมีดังนี้ คือ 1. หลักการแก้ปัญหาด้วยวิธีการวิทยาศาสตร์ เป็นวิธีการที่มีมานานมากแล้ว เป็นการ ศึกษาค้นคว้าความรู้ใหม่ๆ ด้วยขั้นตอนต่างๆดังนี้ คือ 1) เก็บข้อมูลเบื้องต้น โดยการศึกษา สังเกต 2) ตั้งสมมติฐาน 3) พัฒนาวิธีการทดสอบสมมติฐาน 4) ทาการทดลองเพื่อพิสูจน์สมมติฐาน 5) วิเคราะห์ผลการทดลอง 6) เขียนรายงานสรุปการทดลอง 2. หลักการแก้ปัญหาตามวิธีการวิศวกรรม วิธีนี้เหมาะกับการแก้ปัญหาในงานออก แบบผลิตภัณฑ์ สินค้าหรือการสร้างสิ่งใหม่ๆ มีขั้นตอนดังนี้ 1) วิเคราะห์ปัญหา เพื่อกาหนดรายละเอียดของปัญหาให้ชัดเจน 2) สร้างแบบจาลองวิธีการแก้ปัญหา 3) คานวณหาคาตอบ 4) นาผลลัพธ์ที่สมเหตุสมผล ไปใช้ปฏิบัติงาน 3. วิธีการแก้ปัญหาแบบสร้างสรรค์ เป็นวิธีการแก้ปัญหาที่ใช้แนวคิดในการสร้างสรรค์ สามารถนาไปใช้ได้อย่างกว้างขวาง มีวิธีตามขั้นตอนดังนี้ 1) ใช้การสังเกตอย่างพินิจวิเคราะห์ 2) ค้นหาความจริง โดยการเก็บรวบรวมข้อมูล 3) ค้นหาปัญหาว่าแท้จริงคืออะไร 4) ค้นหาแนวคิดในการแก้ปัญหาหลายๆ วิธี 5) ค้นหาวิธีแก้ปัญหาที่ดีที่สุด แล้วเลือกแก้ปัญหาโดยวิธีนั้น 6) ค้นหาวิธีที่ทาให้ตนเอง และผู้อื่นยอมรับในการใช้วิธีนั้นๆแก้ปัญหา การแก้ปัญหาด้วยกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นแก้ปัญหาโดยนาระบบ คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วย เพื่อเพิ่มความรวดเร็ว ถูกต้องและสามารถทางานแบบซ้าๆได้ง่าย การนา คอมพิวเตอร์เข้ามาช่วยในการแก้ปัญหานั้นมีความจาเป็นต้องปรับรูปแบบวิธีการทางานใหม่ให้ เหมาะสมกับเทคโนโลยีสารสนเทศ ในการแก้ปัญหาโดยใช้กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศนั้นเรา
  • 2. จาเป็นต้องสร้างระบบงานด้วยคอมพิวเตอร์ นั้นก็หมายถึงการเขียนโปรแกรมสั่งให้คอมพิวเตอร์ทางาน นั่นเอง ดังนั้นในการพัฒนาระบบงานด้วยคอมพิวเตอร์เราจึงจาเป็นต้องศึกษาและวางขั้นตอนดังนี้ 1) การวิเคราะห์งาน 2 ) การเขียนผังงาน 3) การเขียนคาสั่งซูโดโค้ด 4) การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 5) การทดสอบโปรแกรม 6) การนาไปใช้ 7) การบารุงรักษา 8) การติดตาม ประเมินผลเพื่อปรับปรุงแก้ไข 1.2 การวิเคราะห์งาน เป็นขั้นตอนแรกที่ต้องการะทาเมื่อเริ่มที่จะเขียนโปรแกรมและถือว่าเป็นขั้นตอนที่สาคัญที่สุด การวิเคราะห์งานเริ่มต้นจากการกาหนดขอบข่าย หรือปัญหาของงาน รวบรวมรายละเอียดของงาน ศึกษาวิเคราะห์โดยละเอียดว่าต้องการให้คอมพิวเตอร์ทาอะไร มีรูปแบบของผลลัพธ์เป็นอย่างไร ต้องการข้อมูลอะไรเพื่อให้ได้ผลลัพธ์ตามต้องการและการประมวลผลจะมีขั้นตอนและใช้สูตรอะไรบ้าง การวิเคราะห์จึงเป็นงานขั้นวางแผนเพื่อเตรียมการให้พร้อมที่จะเขียนโปรแกรม สรุปได้ว่า การวิเคราะห์งานเป็นการศึกษา ผลลัพธ์ (Output) ข้อมูลที่นาเข้า (Input) และ วิธีการประมวลผล (Process) ที่จะใช้ในการเขียนโปรแกรมนั่นเอง โดยทั่วไปนิยมแบ่งวิธีการวิเคราะห์ งานเป็น 5 ข้อ ดังนี้ 1) สิ่งที่ต้องการ : เป็นการบอกให้ทราบว่างานที่ต้องการให้ทามีอะไรบ้าง 2) รูปแบบผลลัพธ์ : เป็นการบอกลักษณะหรือรูปแบบที่ต้องการให้คอมพิวเตอร์ทาให้ 3) ข้อมูลนาเข้า : ข้อมูลที่ใช้ในการประมวลผลมีอะไรบ้าง 4) ตัวแปรที่ใช้ : บอกว่าใช้ตัวแปรอะไรแทนข้อมูลนาเข้า หรือแทนค่าที่อยู่ระหว่างการ ประมวลผล ตลอดจนตัวแปรที่ใช้แสดงผล 5) วิธีการประมวลผล : คือขั้นตอนของคาสั่งหรือวิธีการที่ใช้ในโปรกแกรม ซึ่งขั้นตอน บางอย่างจะต้องเรียงลาดับก่อนหลัง สลับลาดับไม่ได้ เพราะจะทาให้ไม่สามารถ ประมวลผลหรือทาให้ได้ผลลัพธ์ไม่ตรงตามที่ต้องการ ตัวอย่างการวิเคราะห์งาน ตัวอย่างที่ 1.1 ผลลัพธ์ที่ต้องการ คือ พื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉากข้อมูลนาเข้าที่ต้องใส่เข้าไปใน โปรแกรมคือ 1) สูตรคานวณพื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉาก พื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉาก = ? x ฐาน x สูง 2) ความยาวของฐานและความสูงของรูปสามเหลี่ยม
  • 3. จากตัวอย่างที่ 1.1 สามารถแสดงการวิเคราะห์งานตั้งแต่ขั้นตอนที่ 1 ถึง 4 ได้ดังนี้ 1) วัตถุประสงค์ของการเขียนโปรแกรม เพื่อคานวณหาค่าพื้นที่สามเหลี่ยมมุมฉาก 2) รูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการ พิมพ์ผลลัพธ์ที่ต้องการออกทางภาพดังนี้ * ** output *** Base = 5 High = 4 Area = 10 3) ข้อมูลนาเข้า คือ ความยาวฐานและความสูง 4) ตัวแปรที่ใช้ B = ตัวแปรที่เก็บความยาวของสามเหลี่ยมมุมฉาก H = ตัวแปรที่เก็บความสูงของสามเหลี่ยมมุมฉาก Area = ตัวแปรที่เก็บผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณตามสูตร Area = 1/2*B*H หรือ Area = 0.5*B*H 5) การหาขั้นตอนวิธีการทางานของโปรแกรม การหาขั้นตอนวิธีการทางานของโปรแกรมจะขึ้นอยู่ กับลักษณะของการแก้ปัญหา ดังนั้นนักเขียนโปรแกรมที่มีความชานาญในระดับหนึ่งแล้วจะสามารถ หาขั้นตอนวิธีการทางานของโปรแกรมได้โดยไม่ยาก แต่สาหรับผู้ที่เริ่มต้นศึกษาการเขียน โปรแกรม ควรหาขั้นตอนวิธีการทางานของโปรแกรมตามคาแนะนาโดยเรียงตามลาดับดังนี้ ขั้นตอนวิธีการทางานของโปรแกรมที่แนะนา 5.1) เริ่มต้นทางาน 5.2) กาหนดค่าเริ่มต้นให้กับตัวแปร 5.3) พิมพ์หัวรายงาน (ถ้ามีรายงาน) 5.4) รับข้อมูลเข้าทีละเรคอร์ด 5.5) ตรวจสอบข้อมูลว่าเป็นชุดสุดท้ายหรือไม่ 5.5.1 ถ้าเป็นข้อมูลชุดสุดท้าย ให้ไปทางานข้อ 5.11 5.5.2 ถ้าไม่ใช่ข้อมูลชุดสุดท้าย ให้ทางานข้อต่อมา (ข้อ 5.6) 5.6) คานวณผลลัพธ์ 5.7) เปรียบเทียบผลลัพธ์ (ถ้ามี) 5.8) เพิ่มค่าตัวแปรสะสม (ถ้ามี) 5.9) พิมพ์ค่าผลลัพธ์ทีละเรคอร์ด
  • 4. 5.10) ย้อนกลับไปทางานข้อ 5.4 5.11) พิมพ์สรุป (ถ้ามี) 5.12) จบการทางาน ทั้งนี้การวิเคราะห์งานเพื่อแก้ปัญหาแต่ละอย่างอาจมีบางขั้นตอนแตกต่างกันไป ดังนั้น คาแนะนาข้างต้นจึงเป็นเพียงแนวทางของการหาขั้นตอนวิธีการทางานของโปรแกรมเท่านั้น ซึ่ง เวลาใช้งานจริงผู้วิเคราะห์งานต้องประยุกต์ให้เข้ากับปัญหาที่ต้องการแก้ไขต่อไป เพื่อความเข้าใจเกี่ยวกับขั้นตอนวิธีการวิเคราะห์งานมากยิ่งขึ้น ให้ศึกษาจากตัวอย่างการ วิเคราะห์งานดังต่อไปนี้ ตัวอย่างที่ 1.2 จงเขียนวิเคราะห์งาน เพื่อเขียนโปรแกรมคานวณ พื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า จานวน 1 รูป โดยที่ผู้ใช้โปรแกรม จะต้องป้อนความกว้าง และความยาวของสี่เหลี่ยมผืนผ้า เข้าไปในโปรแกรม วิธีทา ขั้นตอนการวิเคราะห์งานทั้ง 5 ขั้นตอน สามารถแสดงได้ดังนี้ 1) วัตถุประสงค์ของการเขียนโปรแกรม เพื่อคานวณพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้าจานวน 1 รูป 2) รูปแบบผลลัพธ์ที่ต้องการ พิมพ์ผลลัพธ์ออกทางจอภาพ ดังนี้ 3) ข้อมูลนาเข้า 3.1) สูตรคานวณพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้า Area = Width*Length 3.2) รับค่าความกว้างและความยาวของสี่เหลี่ยมผืนผ้าผ่านทางคีย์บอร์ด 4) ตัวแปรที่ตั้งขึ้นเพื่อใช้ในโปรแกรม Width = ตัวแปรที่ใช้เก็บความกว้างของสี่เหลี่ยมผืนผ้า Length = ตัวแปรที่ใช้เก็บความยาวของสี่เหลี่ยมผืนผ้า Area = ตัวแปรที่ใช้เก็บพื้นที่ของสี่เหลี่ยมผืนผ้า โดยคานวณได้จากสูตร Area = Width*Length 5) ขั้นตอนวิธีการทางานของโปรแกรมมีดังนี้ 5.1) เริ่มต้นทางาน 5.2) รับข้อมูลค่าความยาวและความกว้างของสี่เหลี่ยมผืนผ้าผ่านทางคีย์บอร์ด 5.3) คานวณพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้าตามสูตร Area = Width*Length 5.4) พิมพ์ค่าความยาว ความกว้างและพื้นที่สี่เหลี่ยมผืนผ้าออกทางจอภาพ 5.5) จบการทางาน
  • 5. ตัวอย่างที่ 1.3 บริษัทแห่งหนึ่งต้องการทาบัญชีเงินเดือนของพนักงาน โดยหักภาษีไว้ด้วย และมี เงื่อนไขในการคานวณภาษีดังนี้ รายได้น้อยกว่า หรือเท่ากับ 2,000 บาท ยกเว้นไม่ต้องเสียภาษี รายได้ตั้งแต่ 2,000 ขึ้นไปเสียภาษี 4 % ของรายได้ จงหาจานวนเงินที่พนักงานแต่ละคนจะได้รับ และเงินรวมทั้งหมดที่จะต้องจ่ายให้แก่พนักงาน วิเคราะห์งาน 1. สิ่งที่ต้องการ -คานวณเงินที่พนักงานแต่ละคนจะได้รับหลังจากหักภาษีแล้ว -คานวณเงินรวมที่บริษัทจะต้องจ่ายทั้งหมด 2. รูปแบบผลลัพธ์ ชื่อบริษัท ชื่อพนักงาน เงินเดือน ภาษี สุทธิที่ได้รับ ………………. xx,xxx.xx xx.xx xx,xxx.xx ………………. xx,xxx.xx xx.xx xx,xxx.xx รวม xxx,xxx.xx 3. ข้อมูลนาเข้า ชื่อและเงินเดือนของพนักงานแต่ละคน สัญลักษณ์หรือตัวแปรที่ใช้ทดสอบว่าข้อมูลหมด 4. ตัวแปรที่ใช้ ชื่อตัวแปร ความหมาย Name ชื่อพนักงานแต่ละคน Salary เงินเดือนพนักงานแต่ละคน TAX ภาษีที่หักจากเงินเดือนของพนักงานแต่ละคน NET เงินเดือนสุทธิที่พนักงานแต่ละคนได้รับ LC ตัวแปรที่ใช้ทดสอบว่าข้อมูลหมด Total เงินรวมที่บริษัทจะต้องจ่ายทั้งหมด 5. วิธีการประมวลผล แสดงหัวตาราง Total = 0
  • 6. รับค่าจากตัวแปร Name , Salary , LC ทีละรายการ เปรียบเทียบค่า Salary กับ 2,000 - ถ้าให้ Salary < = 2,000 ให้ TAX = 0 - ถ้าให้ Salary > 2,000 ให้ TAX = 0.4 * Salary NET = Salary – TAX Total = Total + NET พิมพ์ผลลัพธ์ Name , Salary , TAX , NET ทีละรายการ เปรียบเทียบ LC กับ 1 - ถ้า LC < > 1 ให้ย้อนกลับไปทาข้อ 3 - ถ้า LC = 1 ให้ทาข้อถัดไป พิมพ์ค่า Total หยุดทางาน เอกสารอ้างอิง “ ขั้นตอนการวิเคราะห์ปัญหาการเขียนโปรแกรม.” 2559. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา http://www.natthawat.us/index.php (๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๙) “หลัก 5 ข้อในการวิเคราะห์ปัญหา.” 2559. [ออนไลน์]. แหล่งที่มา https://sites.google.com/site/programmingm42/hlak-5-khx-ni-kar-wikheraah- payha. (๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๙)