SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
ภารกิจที่ 1
วิเคราะห์สาเหตุที่ทาให ้การเรียนรู้จากสื่อ
ของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่ต ้องการให ้
เกิดขึ้น พร ้อมอธิบายเหตุผล
วิเคราะห์สาเหตุที่ทาให ้การเรียนรู้จากสื่อของครู
สมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่ต ้องการให ้เกิดขึ้น
- ครูสมศรีสร ้างสื่อขึ้นตามแนวคิด และประสบการณ์ของ
ตนเอง โดยในสื่ออยากให ้มีข ้อความรู้ก็นาเนื้อหามาบรรจุ
อยากให ้มีรูปภาพประกอบก็นารูปภาพมาบรรจุในสื่อแทน
การอธิบายจากตน
- เทคนิคกราฟิกต่างๆที่เพิ่มเข ้าไป เพื่อให ้เกิดความ
สวยงามนั้นก็ทาตามแนวคิดของตน ไม่ได ้ศึกษาวิธีทาจาก
แหล่งเรียนรู้อื่นๆ หรือสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญเลย
- รูปแบบวิธีการสอนนั้นก็ไม่ได ้แตกต่างไปจากแบบเดิม
- ครูสมศรีไม่มีการจัดกิจกรรมที่น่าสนใจภายในห ้องเรียน
เพื่อที่จะให ้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน จึงทาให ้
นักเรียนเกิดความเบื่อหน่าย
ภารกิจที่ 2
วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการ
ออกแบบการสอนและสื่อการสอนว่ามาจากพื้นฐาน
ใดบ ้างและพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กัน
อย่างไร
มุมมองจิตวิทยา
การเรียนรู้
กลุ่มพฤติกรรมนิยม
Behaviorism
หรือ
S-R Associationism
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
(Cognitivism)
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
(Constructivism)
การ
ออกแบบ
การสอน
การ
ออกแบบ
สื่อการ
สอน
ในช่วงแรก มุ่งเน้นการออกแบบ
เพื่อให ้ผู้เรียนสามารถจดจาความรู้ให ้ได ้ใน
ปริมาณมากที่สุด บทบาทของผู้เรียนเป็นผู้รับ
ข ้อมูลสารสนเทศ งานของครูผู้สอนจะเป็นผู้
นาเสนอข ้อมูลข่าวสาร เช่น ตาราเรียน การ
บรรยาย
1. วัตถุประสงค์การสอนที่ชัดเจน
2. การสอนในแต่ละขั้นตอน นาไปสู่การเรียนแบบรอบ
รู้ในหน่วยการสอนรวม
3. ให ้ผู้เรียนได ้เรียนไปตามอัตราการเรียนรู้ของ
ตนเอง
4. . ดาเนินการสอนไปตามโปรแกรมหรือลาดับขั้นที่
กาหนดไว ้ จากง่ายไปยาก โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น
ส่วนย่อยๆ เพื่อให ้ผู้เรียนสามารถจดจาได ้ง่าย
5. การออกแบบการเรียนเป็ นลักษณะเชิงเส ้นที่เป็น
ลาดับขั้นตอน
6. . การให ้ผลตอบกลับทันทีทันใด เมื่อผู้เรียน
กระทาพฤติกรรมนั้นสาเร็จจะได ้รับผลกลับพร้อมทั้ง
แรงเสริมทันทีทันใดในขณะที่เรียนรู้
กลุ่ม
พฤติกรรม
นิยม
Behaviorism
หรือ
S-R
Associationis
m
กลุ่มพุทธิปัญญา
นิยม
(Cognitivism)
การเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด ้านปริมาณ
และคุณภาพ หรือการเรียนรู้เป็นผลมาจากการจัดระเบียบ จัด
หมวดหมู่ของความจาลงสู่โครงสร ้างทางปัญญา เพื่อสามารถถ่าย
โยงความรู้และทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล ้วไปสู่บริบทและ
ปัญหาใหม่ ให ้ความสาคัญในการศึกษาเกี่ยวกับ “ปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสิ่งเร ้าภายนอก (ส่งผ่านโดยสื่อต่างๆ) กับสิ่งเร ้าภายนอกใน
คือ ความรู้ความเข ้าใจ หรือกระบวนการรู้คิด”การออกแบบ
การสอน
การออกแบบ
สื่อการสอน
1. การจัดระเบียบสารสนเทศใหม่และสร้างโครงสร้างสารสนเทศให ้กับ
ผู้เรียน เช่น การสร้างโครงร่างของเนื้อหา การจัดความคิดรวบยอดที่แสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาที่จะเรียนรู้
2. การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศให ้กับความรู้เดิม วิธีการนี้จะ
ช่วยให ้ผู้เรียนเรียนรู้ได ้อย่างมีความหมายและเกิดการเรียนรู้ที่มี
ประสิทธิภาพ
3. ใช ้เทคนิคเพื่อแนะนาและสนับสนุนให ้ผู้เรียนใส่ใจ เข ้ารหัสและเรียก
สารสนเทศกลับมาใช ้ใหม่ได ้
3.1 การมุ่งเน้นคาถาม (Focusing question)
3.2 การเน้นคาหรือข้อความ (Highlighting)
3.3 การใช้ (Mnemonic)
3.4 การสร้างภาพ (Imagery)
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
(Constructivism)
การออกแบบ
การสอน
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม
Vygotsky สนับสนุนผู้เรียน งานสาคัญของครู
คือ ผู้ช่วยนักเรียนแต่ละคนให ้เกิดการเรียนรู้
โดยครูทาหน้าที่จัดสิ่งแวดล ้อมทางการเรียน
ให ้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพที่
ตอบสนองกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน
เป็นศูนย์กลาง เน้นการพัฒนากระบวนการคิด
อย่างสร ้างความรู้ได ้ด ้วยตนเอง เพื่อนาไปสู่
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสังคมไทย คือ
สามารถคิดแบบองค์รวม เรียนรู้ร่วมกันและ
ทางานเป็นทีมเพื่อประโยชน์ของสังคมไทย
โดยมีเป้าหมายให ้คนไทยมีศักยภาพในการ
แข่งขัน และร่วมมืออย่างสร ้างสรรค์
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิง
ปัญญา Piaget มีหลักสาคัญว่า
มนุษย์ เราต ้อง “สร้าง” ความรู้
ด ้วยตนเอง โดยผ่านทาง
ประสบการณ์ บทบาทของครู
คือ จัดเตรียมสิ่งแวดล ้อมที่ให ้
ผู้เรียนได ้สารวจ ค ้นหา ตาม
ธรรมชาติ ห ้องเรียนควรเติมสิ่งที่
น่าสนใจที่จะกระตุ้นให ้ผู้เรียน
เป็นผู้สร้างความรู้ด ้วยตนเอง
อย่างตื่นตัว
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์
(Constructivism)
การออกแบบสื่อ
การสอน
การจัดการเรียนรู้ที่ประสานกันระหว่าง “สื่อ” (Media) กับ “วิธีการ”
(Methods) โดยการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ
ร่วมกับสื่อ
1. สถานการณ์ปัญหา
2. แหล่งการเรียนรู้
3. ฐานการช่วยเหลือ
4. การร่วมมือกันแก ้ปัญหา
5. การโค ้ช
สาหรับการออกแบบสิ่งแวดล ้อมทางการเรียนรู้จะมุ่งเน้นการพัฒนา
กระบวนการคิดอย่างอิสระและสร ้างความรู้ได ้ด ้วยตนเองของผู้เรียน
ทั้งพฤติกรรมนิยมและพุทธิปัญญานิยม จะพยายามจัดการสอน
โดยเปรียบผู้เรียนเป็นถัง หรือภาชนะที่จะต ้องเท หรือเติมความรู้โดย
ครูผู้สอน หนังสือเรียน ตารา สื่อการสอนต่างๆ แต่ในทางตรงกันข ้ามตาม
แนวคิดของคอนสตรัคติวิสต์ ผู้เรียนจะเป็นผู้สร ้างความรู้โดยการสังเกต
ลงมือกระทา และอธิบายความหมายโลกรอบๆตัวผู้เรียน และการนา
ทฤษฎีมาสู่งานทางด ้านเทคโนโลยีการศึกษาจะผสมผสาน หลักการทั้ง
3 มาใช ้เป็นวิธีการใหม่ “ครูผู้สอน นักออกแบบการสอน และผู้ที่
เกี่ยวข ้อง จาเป็นต ้องศึกษาเกี่ยวกับหลักการทฤษฎีของการเรียนรู้ทั้ง 3
ให ้เกิดความเข ้าใจอย่างลึกซึ้ง และสามารถนามาใช ้ในการจัดการเรียนรู้
ของผู้เรียนได ้อย่างเหมาะสม หรือในบางกรณีอาจผสมผสานแนวคิด ให ้
สอดคล ้องกับการจัดการเรียนรู้และสภาพบริบท รวมถึงวัฒนธรรมไทย”
ความสัมพันธ์
ภารกิจที่ 3
วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการ
เปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนการทัศน์ใหม่ของ
การจัดการศึกษา ในการออกแบบการสอนและสื่อ
การสอนนั้นควรอยู่พื้นฐานของสิ่งใดบ ้างอธิบาย
พร ้อมให ้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
พื้นฐานของการออกแบบสื่อการสอน
1. เป้าหมายของการเรียนการสอนพฤติกรรมด ้านพุทธพิสัย แสดงว่าได ้เกิด
ความรู้และสามารถอธิบายวิเคราะห์ได ้พฤติกรรมด ้านทักษะพิสัย เป็นทักษะ
ในการเคลื่อนไหวลงมือทางาน หรือความว่องไวในการแก ้ปัญหาพฤติกรรม
ด ้านจิตพิสัย แสดงความรู้สึก อารมณ์ที่มีต่อสิ่งที่เรียนรู้และสภาพแวดล ้อม
4. ลักษณะสื่อ- ลักษณะเฉพาะตัวของสื่อ- ขนาดมาตรฐานของสื่อวิธีระบบ
กับการออกแบบสื่อการเรียนการสอนเป็นวิธีการนาเอา ผลที่ได ้(ข ้อมูล
ย ้อนกลับ)จากการผลิตหรือการประเมินผล มาพิจารณาปรับปรุงแก ้ไขระบบ
ให ้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
3. ลักษณะแวดล ้อมของการผลิตสื่อลักษณะผู้เรียน- การสอนกลุ่มใหญ่ ใน
ลักษณะการบรรยาย สาธิต- การสอนกลุ่มเล็ก- การสอนเป็นรายบุคคลสิ่ง
อานวยความสะดวกในการใช ้สื่อ
2. ลักษณะของผู้เรียน เนื้อหาและรายละเอียดของสื่อย่อมแปรตามอายุ และ
ความรู้พื้นฐานของผู้เรียน
การออกแบบการเรียนการสอน
ตามทฤษฎีสร ้างความรู้นิยม 3 รูปแบบ (Three Constructivist Design
Model) Concept to Classroom ได ้กล่าวถึงรูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีสร ้าง
ความรู้นิยมไว ้ดังนี้
ขั้นที่ 1 ครูจะจูงใจ
ให ้ผู้เรียนตั้งคาถาม
หรือตั้งสมมติฐาน
จากงานที่ทาจาก
วัสดุการ เรียน
หลาย ๆ ชิ้น
ขั้นที่ 2 ครูจะ
จัดเตรียม แนะนา
แนวคิดของบทเรียน
ครูจะปรับจุดสนใจของ
ผู้เรียน ด ้วยคาถามและ
ช่วยนักเรียนในการ
สร ้างสมมติฐานและ
ออกแบบการทดลอง
ในขั้นที่ 3 โดย
ประยุกต์
แนวความคิด
นักเรียนจะทางาน
ด ้วยปัญหาใหม่ที่
ถูกพิจารณา
แนวความคิดใน
การศึกษาใหม่
Introduction to technologies and educational media.chapter 3

More Related Content

What's hot

มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3Ptato Ok
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาsaowana
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีPennapa Kumpang
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนThamonwan Kottapan
 
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาวิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาSasitorn Seajew
 
Chapter 3: มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3:  มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาChapter 3:  มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3: มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาratiporn-hk
 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้panisa thepthawat
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...Nattapon
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
นำเสนอ บทท 3
นำเสนอ บทท  3นำเสนอ บทท  3
นำเสนอ บทท 3PattrapornSakkunee
 
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาa35974185
 
Com โครงาน
Com โครงานCom โครงาน
Com โครงานKeng Pongpinit
 

What's hot (18)

มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
นวัตกรรม Chapter 3
นวัตกรรม Chapter 3นวัตกรรม Chapter 3
นวัตกรรม Chapter 3
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาวิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
No3
No3No3
No3
 
Chapter 3: มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3:  มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาChapter 3:  มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3: มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
การจัดเรียนเรียนรู้โดยใช้ Social Media ตามทฤษฎีการสร้างองค์ความรู้ (Construct...
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
นำเสนอ บทท 3
นำเสนอ บทท  3นำเสนอ บทท  3
นำเสนอ บทท 3
 
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Com โครงาน
Com โครงานCom โครงาน
Com โครงาน
 
จืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษาจืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษา
 

Similar to Introduction to technologies and educational media.chapter 3

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Chaya Kunnock
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Noppasorn Boonsena
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาAiijoo Yume
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
บท 3 แจน
บท 3 แจนบท 3 แจน
บท 3 แจนjittraphorn
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยNoppasorn Boonsena
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)suparada
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1Piyamas Songtronge
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 

Similar to Introduction to technologies and educational media.chapter 3 (20)

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยา
 
งานบทที่ 3
งานบทที่ 3งานบทที่ 3
งานบทที่ 3
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
บท 3 แจน
บท 3 แจนบท 3 แจน
บท 3 แจน
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
คอม01.doc
คอม01.docคอม01.doc
คอม01.doc
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 

More from pompompam

INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIAINTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIApompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies chapter 5
Introduction to technologies chapter 5Introduction to technologies chapter 5
Introduction to technologies chapter 5pompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to  technologiesIntroduction to  technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 

More from pompompam (18)

chapter 9
chapter 9chapter 9
chapter 9
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIAINTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies chapter 5
Introduction to technologies chapter 5Introduction to technologies chapter 5
Introduction to technologies chapter 5
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to  technologiesIntroduction to  technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 

Introduction to technologies and educational media.chapter 3

  • 1.
  • 3. วิเคราะห์สาเหตุที่ทาให ้การเรียนรู้จากสื่อของครู สมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่ต ้องการให ้เกิดขึ้น - ครูสมศรีสร ้างสื่อขึ้นตามแนวคิด และประสบการณ์ของ ตนเอง โดยในสื่ออยากให ้มีข ้อความรู้ก็นาเนื้อหามาบรรจุ อยากให ้มีรูปภาพประกอบก็นารูปภาพมาบรรจุในสื่อแทน การอธิบายจากตน - เทคนิคกราฟิกต่างๆที่เพิ่มเข ้าไป เพื่อให ้เกิดความ สวยงามนั้นก็ทาตามแนวคิดของตน ไม่ได ้ศึกษาวิธีทาจาก แหล่งเรียนรู้อื่นๆ หรือสอบถามจากผู้เชี่ยวชาญเลย - รูปแบบวิธีการสอนนั้นก็ไม่ได ้แตกต่างไปจากแบบเดิม - ครูสมศรีไม่มีการจัดกิจกรรมที่น่าสนใจภายในห ้องเรียน เพื่อที่จะให ้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนการสอน จึงทาให ้ นักเรียนเกิดความเบื่อหน่าย
  • 6. การ ออกแบบ การสอน การ ออกแบบ สื่อการ สอน ในช่วงแรก มุ่งเน้นการออกแบบ เพื่อให ้ผู้เรียนสามารถจดจาความรู้ให ้ได ้ใน ปริมาณมากที่สุด บทบาทของผู้เรียนเป็นผู้รับ ข ้อมูลสารสนเทศ งานของครูผู้สอนจะเป็นผู้ นาเสนอข ้อมูลข่าวสาร เช่น ตาราเรียน การ บรรยาย 1. วัตถุประสงค์การสอนที่ชัดเจน 2. การสอนในแต่ละขั้นตอน นาไปสู่การเรียนแบบรอบ รู้ในหน่วยการสอนรวม 3. ให ้ผู้เรียนได ้เรียนไปตามอัตราการเรียนรู้ของ ตนเอง 4. . ดาเนินการสอนไปตามโปรแกรมหรือลาดับขั้นที่ กาหนดไว ้ จากง่ายไปยาก โดยแบ่งเนื้อหาออกเป็น ส่วนย่อยๆ เพื่อให ้ผู้เรียนสามารถจดจาได ้ง่าย 5. การออกแบบการเรียนเป็ นลักษณะเชิงเส ้นที่เป็น ลาดับขั้นตอน 6. . การให ้ผลตอบกลับทันทีทันใด เมื่อผู้เรียน กระทาพฤติกรรมนั้นสาเร็จจะได ้รับผลกลับพร้อมทั้ง แรงเสริมทันทีทันใดในขณะที่เรียนรู้ กลุ่ม พฤติกรรม นิยม Behaviorism หรือ S-R Associationis m
  • 7. กลุ่มพุทธิปัญญา นิยม (Cognitivism) การเปลี่ยนแปลงความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด ้านปริมาณ และคุณภาพ หรือการเรียนรู้เป็นผลมาจากการจัดระเบียบ จัด หมวดหมู่ของความจาลงสู่โครงสร ้างทางปัญญา เพื่อสามารถถ่าย โยงความรู้และทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล ้วไปสู่บริบทและ ปัญหาใหม่ ให ้ความสาคัญในการศึกษาเกี่ยวกับ “ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งเร ้าภายนอก (ส่งผ่านโดยสื่อต่างๆ) กับสิ่งเร ้าภายนอกใน คือ ความรู้ความเข ้าใจ หรือกระบวนการรู้คิด”การออกแบบ การสอน การออกแบบ สื่อการสอน 1. การจัดระเบียบสารสนเทศใหม่และสร้างโครงสร้างสารสนเทศให ้กับ ผู้เรียน เช่น การสร้างโครงร่างของเนื้อหา การจัดความคิดรวบยอดที่แสดง ความสัมพันธ์ระหว่างเนื้อหาที่จะเรียนรู้ 2. การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศให ้กับความรู้เดิม วิธีการนี้จะ ช่วยให ้ผู้เรียนเรียนรู้ได ้อย่างมีความหมายและเกิดการเรียนรู้ที่มี ประสิทธิภาพ 3. ใช ้เทคนิคเพื่อแนะนาและสนับสนุนให ้ผู้เรียนใส่ใจ เข ้ารหัสและเรียก สารสนเทศกลับมาใช ้ใหม่ได ้ 3.1 การมุ่งเน้นคาถาม (Focusing question) 3.2 การเน้นคาหรือข้อความ (Highlighting) 3.3 การใช้ (Mnemonic) 3.4 การสร้างภาพ (Imagery)
  • 8. ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) การออกแบบ การสอน ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม Vygotsky สนับสนุนผู้เรียน งานสาคัญของครู คือ ผู้ช่วยนักเรียนแต่ละคนให ้เกิดการเรียนรู้ โดยครูทาหน้าที่จัดสิ่งแวดล ้อมทางการเรียน ให ้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพที่ ตอบสนองกับการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียน เป็นศูนย์กลาง เน้นการพัฒนากระบวนการคิด อย่างสร ้างความรู้ได ้ด ้วยตนเอง เพื่อนาไปสู่ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของสังคมไทย คือ สามารถคิดแบบองค์รวม เรียนรู้ร่วมกันและ ทางานเป็นทีมเพื่อประโยชน์ของสังคมไทย โดยมีเป้าหมายให ้คนไทยมีศักยภาพในการ แข่งขัน และร่วมมืออย่างสร ้างสรรค์ ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิง ปัญญา Piaget มีหลักสาคัญว่า มนุษย์ เราต ้อง “สร้าง” ความรู้ ด ้วยตนเอง โดยผ่านทาง ประสบการณ์ บทบาทของครู คือ จัดเตรียมสิ่งแวดล ้อมที่ให ้ ผู้เรียนได ้สารวจ ค ้นหา ตาม ธรรมชาติ ห ้องเรียนควรเติมสิ่งที่ น่าสนใจที่จะกระตุ้นให ้ผู้เรียน เป็นผู้สร้างความรู้ด ้วยตนเอง อย่างตื่นตัว
  • 9. ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) การออกแบบสื่อ การสอน การจัดการเรียนรู้ที่ประสานกันระหว่าง “สื่อ” (Media) กับ “วิธีการ” (Methods) โดยการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ ร่วมกับสื่อ 1. สถานการณ์ปัญหา 2. แหล่งการเรียนรู้ 3. ฐานการช่วยเหลือ 4. การร่วมมือกันแก ้ปัญหา 5. การโค ้ช สาหรับการออกแบบสิ่งแวดล ้อมทางการเรียนรู้จะมุ่งเน้นการพัฒนา กระบวนการคิดอย่างอิสระและสร ้างความรู้ได ้ด ้วยตนเองของผู้เรียน
  • 10. ทั้งพฤติกรรมนิยมและพุทธิปัญญานิยม จะพยายามจัดการสอน โดยเปรียบผู้เรียนเป็นถัง หรือภาชนะที่จะต ้องเท หรือเติมความรู้โดย ครูผู้สอน หนังสือเรียน ตารา สื่อการสอนต่างๆ แต่ในทางตรงกันข ้ามตาม แนวคิดของคอนสตรัคติวิสต์ ผู้เรียนจะเป็นผู้สร ้างความรู้โดยการสังเกต ลงมือกระทา และอธิบายความหมายโลกรอบๆตัวผู้เรียน และการนา ทฤษฎีมาสู่งานทางด ้านเทคโนโลยีการศึกษาจะผสมผสาน หลักการทั้ง 3 มาใช ้เป็นวิธีการใหม่ “ครูผู้สอน นักออกแบบการสอน และผู้ที่ เกี่ยวข ้อง จาเป็นต ้องศึกษาเกี่ยวกับหลักการทฤษฎีของการเรียนรู้ทั้ง 3 ให ้เกิดความเข ้าใจอย่างลึกซึ้ง และสามารถนามาใช ้ในการจัดการเรียนรู้ ของผู้เรียนได ้อย่างเหมาะสม หรือในบางกรณีอาจผสมผสานแนวคิด ให ้ สอดคล ้องกับการจัดการเรียนรู้และสภาพบริบท รวมถึงวัฒนธรรมไทย” ความสัมพันธ์
  • 11. ภารกิจที่ 3 วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการ เปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนการทัศน์ใหม่ของ การจัดการศึกษา ในการออกแบบการสอนและสื่อ การสอนนั้นควรอยู่พื้นฐานของสิ่งใดบ ้างอธิบาย พร ้อมให ้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
  • 12. พื้นฐานของการออกแบบสื่อการสอน 1. เป้าหมายของการเรียนการสอนพฤติกรรมด ้านพุทธพิสัย แสดงว่าได ้เกิด ความรู้และสามารถอธิบายวิเคราะห์ได ้พฤติกรรมด ้านทักษะพิสัย เป็นทักษะ ในการเคลื่อนไหวลงมือทางาน หรือความว่องไวในการแก ้ปัญหาพฤติกรรม ด ้านจิตพิสัย แสดงความรู้สึก อารมณ์ที่มีต่อสิ่งที่เรียนรู้และสภาพแวดล ้อม 4. ลักษณะสื่อ- ลักษณะเฉพาะตัวของสื่อ- ขนาดมาตรฐานของสื่อวิธีระบบ กับการออกแบบสื่อการเรียนการสอนเป็นวิธีการนาเอา ผลที่ได ้(ข ้อมูล ย ้อนกลับ)จากการผลิตหรือการประเมินผล มาพิจารณาปรับปรุงแก ้ไขระบบ ให ้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 3. ลักษณะแวดล ้อมของการผลิตสื่อลักษณะผู้เรียน- การสอนกลุ่มใหญ่ ใน ลักษณะการบรรยาย สาธิต- การสอนกลุ่มเล็ก- การสอนเป็นรายบุคคลสิ่ง อานวยความสะดวกในการใช ้สื่อ 2. ลักษณะของผู้เรียน เนื้อหาและรายละเอียดของสื่อย่อมแปรตามอายุ และ ความรู้พื้นฐานของผู้เรียน
  • 13. การออกแบบการเรียนการสอน ตามทฤษฎีสร ้างความรู้นิยม 3 รูปแบบ (Three Constructivist Design Model) Concept to Classroom ได ้กล่าวถึงรูปแบบการเรียนการสอนตามทฤษฎีสร ้าง ความรู้นิยมไว ้ดังนี้ ขั้นที่ 1 ครูจะจูงใจ ให ้ผู้เรียนตั้งคาถาม หรือตั้งสมมติฐาน จากงานที่ทาจาก วัสดุการ เรียน หลาย ๆ ชิ้น ขั้นที่ 2 ครูจะ จัดเตรียม แนะนา แนวคิดของบทเรียน ครูจะปรับจุดสนใจของ ผู้เรียน ด ้วยคาถามและ ช่วยนักเรียนในการ สร ้างสมมติฐานและ ออกแบบการทดลอง ในขั้นที่ 3 โดย ประยุกต์ แนวความคิด นักเรียนจะทางาน ด ้วยปัญหาใหม่ที่ ถูกพิจารณา แนวความคิดใน การศึกษาใหม่