SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
กระทรวงศึกษาธิการต ้องการให ้ท่านเลือกและสร ้างนวัตกรรมการ
เรียนรู้ให ้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียน
เปรมสวัสดิ์ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
ภารกิจที่ 1
การเรียนรู้ตาม
แนว
คอมสตรัคติ
วิสต์
การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางที่ให ้ความสาคัญต่อการ
เรียนรู้ของผู้เรียน
เน้นการสร ้างความรู้ด ้วยตนเอง โดยการลงมือกระทา
หรือปฏิบัติผ่านกระบวนการคิด
การเรียนรู้อาศัยประสบการณ์เดิมหรือความรู้เดิมที่มีอยู่
แล ้วเชื่อมโยงกับประสบการณ์ใหม่หรือความรู้ใหม่ เพื่อขยาย
โครงสร ้างทางปัญญา
ครูเป็นผู้จัดสิ่งแวดล ้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้หรือสร ้าง
ความรู้ของผู้เรียน ด ้วยการนาวิธีการ เทคโนโลยี และนวัตกรรม
หรือสื่อ ตลอดจนภูมิปัญญาท ้องถิ่นมาใช ้ร่วมกันเพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการเรียนรู้
สุมาลี ชัยเจริญ (2547) กล่าวว่า
สิ่งแวดล ้อมทางการเรียนรู้ที่พัฒนาตามแนว
คอนสตรัคติวิสต์ เป็นการออกแบบที่ประสาน
ร่วมกันระหว่าง “สื่อ (Media)” กับ “วิธีการ
(Methods)” โดยการนาทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์
มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบร่วมกับสื่อ มี
คุณลักษณะของสื่อและระบบสัญลักษณ์ของสื่อที่
สนับสนุนการสร ้างความรู้ของผู้เรียน
- ประเภทของสิ่งแวดล ้อมทางการเรียนรู้ สามารถแยกตาม
บริบทของสื่อและคุณลักษณะของสื่อได ้3 ลักษณะ คือ
(3) ชุดสร้างความรู้ เป็นการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการ
ออกแบบ โดยประสานร่วมกับการนาสื่อประเภทต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือ วี
ดีทัศน์ ภูมิปัญญาท ้องถิ่น อุปกรณ์การทดลอง รวมทั้งกิจกรรมต่างๆมาใช ้ร่วมกัน
โดยคุณลักษณะของสื่อต่างๆจะส่งเสริมซึ่งกันและกัน เพื่อให ้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีหลักการและองค์ประกอบที่สาคัญได ้แก่
สถานการณ์ปัญหา ฐานความช่วยเหลือ การร่วมมือกันแก ้ปัญหา และการโค ้ช
- ประเภทของสิ่งแวดล ้อมทางการเรียนรู้ สามารถแยกตาม
บริบทของสื่อและคุณลักษณะของสื่อได ้3 ลักษณะ คือ
(1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็น
พื้นฐานที่ประสานร่วมกับคุณลักษณะของสื่อบนเครือข่ายที่สนองต่อหาการสร ้าง
ความรู้ของผู้เรียน ได ้แก่ ลักษณะเป็นโนด (Node) ของความรู้ที่เชื่อมโยงกัน
(Link) ซึ่งแต่ละโนดความรู้ที่ผู้เรียนคลิกเข ้าไปศึกษาจะสนับสนุนผู้เรียนในการ
เชื่อมโยงปูพื้นฐานความรู้ที่ช่วยในการสร ้างความรู้ตลอดจนคุณลักษณะด ้านการ
สื่อสารที่สามารถใช ้แลกเปลี่ยนความรู้
(2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็นการกาหนดทฤษฎีคอนสตรัคติวิ
สต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ โดนประสานร่วมกับคุณลักษณะของมัลติมีเดีย
ที่นาเสนอทั้งข ้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง รวมทั้งการเชื่อมโยง
หลายมิติ (Hyperlink) การเชื่อมโยงหลายมิติ (Hypermedia) โดยมีหลักการที่
สาคัญดังต่อไปนี้ สถานการณ์ ปัญหา อาจอยู่ในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น เกม
สถานการณ์จาลอง เป็นต ้น
ภารกิจที่ 2
แก ้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให ้เด็กมีความสนใจในการเรียน
มากขึ้น สื่อนี้สามารถทาให ้เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง (Realistic) และ
เหมาะสมกับการศึกษารายบุคคล โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรง
อาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดีทัศน์ ประกอบอยู่ในสื่อ
นั้น เพื่อสร ้างความตื่นเต ้นน่าสนใจ และสามารถย ้อนทบทวนส่วนที่
ต ้องการได ้โดยไม่มีข ้อจากัด มีการประเมินเพื่อแก ้ไขข ้อบกพร่องของ
ตนเองได ้ อาจจะออกแบบมาในลักษณะของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้น
ให ้ผู้เรียนให ้มีความกระตือรือร ้นมากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรกเนื้อหาวิชาการ
เข ้าไว ้อย่างเหมาะสม
เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความ
เจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่าย
อินเตอร์เน็ตแต่พอจะมีคอมพิวเตอร์
ใช ้บ ้าง ซึ่งเป็นห ้องคอมพิวเตอร์สา
หรับนักเรียน ความต ้องการของ
โรงเรียนคืออยากจะได ้สื่อที่มา
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์
จากการวิเคราะห์ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ ควรใช ้
นวัตกรรม มัลติมีเดีย และ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน
เนื่องจากโรงเรียนอยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการ
เชื่อมโยงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และโรงเรียนอยากจะได ้
สื่อที่มาแก ้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให ้เด็กมี
ความสนใจในการเรียนมากขึ้น การเลือกใช ้นวัตกรรม
มัลติมีเดีย และ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีความ
สอดคล ้องกับโรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็นโปรแกรมการเรียน
การสอนโดยใช ้เครื่องคอมพิวเตอร์บันทึกเนื้อหาวิชา มี
ทั้งอักษร ข ้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว กราฟ
แผนภูมิ ภาพเคลื่อนไหวและเสียง ลาดับวิธีการเสนอ
ความรู้ต่างๆ
ประโยชน์ คือ มัลติมีเดีย และ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นโปรแกรมการเรียน
การสอนโดยใช ้เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่จะให ้ผู้เรียนได ้เรียนรู้เนื้อหาวิชา มีส่วนร่วม
และสนองต่อการเรียนรู้อย่างแข็งขันเพื่อบรรลุผลตามความมุ่งหมายของรายวิชา
ซึ่งมีความสอดคล ้องกับบริบทของโรงเรียนเป็นอย่างดี
โรงเรียนมหาชัย
ต ้องการนวัตกรรมที่สามารถแก ้ไขข ้อ
จากัดด ้านสถานที่ และเวลา โดย
ประยุกต์ใช ้คุณสมบัติ เวิล์ด ไวด์
เว็บที่โรงเรียนมีอยู่ ในการจัด
สภาพแวดล ้อมและสนับสนุนการ
เรียนการสอน สิ่งแรกที่ต ้องมีคือการ
ลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข ้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจ
เป็นการอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่องของตน หรือสั่งพิมพ์
ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษาภายหลังก็ได ้ผู้เรียนสามารถกาหนดการเรียน
ได ้ด ้วยตนเอง (Self-directed) เปิดโอกาสให ้เลือกเรียนได ้ตามสะดวก
สามารถ กาหนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ได ้เหมาะสมกับความสามารถใน
การเรียนรู้ของตนเอง คลอบคลุมทั้งการเรียนแบบประสานเวลา
(Synchronous Learning) และไม่ประสานเวลา (Asynchronous
Learning) และสามารถถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทารายงานกลุ่ม
อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่นๆได ้และยังสามารถ
เข ้าถึงเนื้อหาได ้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกสถานที่
โรงเรียนมหาชัย
จากการวิเคราะห์ โรงเรียนมหาชัย ควรใช ้
นวัตกรรม การเรียนรู้บนเครือข่าย และ E-
Learning เนื่องจากโรงเรียนมหาชัย ต ้องการ
นวัตกรรมที่สามารถแก ้ไขข ้อจากัดด ้านสถานที่
และเวลา โดยประยุกต์ใช ้คุณสมบัติ เวิล์ด ไวด์
เว็บ ที่โรงเรียนมีอยู่ ในการจัดสภาพแวดล ้อมและ
สนับสนุนการเรียนการสอน ได ้แก่ กระดานข่าว
ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ การประชุมทางไกล
ประโยชน์ คือ เนื่องจากการใช ้การเรียนรู้บนเครือข่าย และ E-Learning เป็น
เทคโนโลยีที่ทาให ้มีการเรียนดาเนินไปโดยไม่จากัด ซึ่งเครื่องมือเหล่านี้ทาให ้เกิดการ
เรียนไม่พร ้อมกันได ้การเรียนไม่พร ้อมกันนี้ มีความหมายกว ้างไกลกว่าคาที่กล่าวว่า
“ใครก็ได ้ ที่ไหนก็ได ้ เวลาใดก็ได ้ เรื่องอะไรก็ได ้” ซึ่ง การเรียนรู้บนเครือข่าย
และ E-Learning มีความสอดคล ้องกับความต ้องการของโรงเรียนมหาชัย
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
ต ้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้
ที่เน้นให ้ผู้เรียนสามารถสร ้างความรู้
ด ้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์
ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให ้ผู้เรียนได ้
สืบค ้น เมื่อไม่สามารถแก ้ปัญหาได ้ก็มี
ฐานความช่วยเหลือ พร ้อมทั้งมี
เครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก ้ปัญหา สามารถแลกเปลี่ยนความ
คิดเห็นระหว่างกันได ้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต ้อง
สามารถนามาใช ้ได ้ในหลายบริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน
บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บางกลุ่มชอบที่จะเรียนแบบ
มัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนาไปใช ้เรียนได ้ทุกสถานที่
ไม่ว่าจะเป็นใต ้ร่มไม ้หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช ้เรียนรู้
เพื่อให ้เกิดประสิทธิภาพได ้
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
จากการวิเคราะห์ โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ โรงเรียน
สามารถใช ้นวัตกรรมได ้ทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการใช ้
นวัตกรรม มัลติมีเดีย การเรียนบนเครือข่าย
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือจะเป็นการเรียนแบบ
E-Learning ก็ได ้ เพราะผู้เรียนแต่ละคนนั้นมีความชอบ
ที่จะเรียนรู้ในวิธีที่แตกต่างกัน ดังนั้นหากต ้องการเน้นให ้
ผู้เรียนสามารถสร ้างความรู้ด ้วยตนเอง โรงเรียนก็ควรจะมี
นวัตกรรมที่หลายหลาย ให ้ผู้เรียนได ้เลือก ดังนั้นเพื่อให ้
สอดคล ้องกับบริบทของโรงเรียนนี้ โรงเรียนควรมีการใช ้
นวัตกรรมที่หลากหลาย เช่น มัลติมีเดีย การเรียนบน
เครือข่าย คอมพิวเตอร์ช่วยสอน และ E-Learning
เป็นต ้น
ประโยชน์ คือ ผู้เรียนสามารถสร ้างความรู้ด ้วยตนเอง โดยการเผชิญ
สถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให ้ผู้เรียนได ้สืบค ้นเมื่อไม่สามารถ
แก ้ปัญหาได ้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร ้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการ
ร่วมมือการแก ้ปัญหา สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได ้
ตลอดเวลา
ภารกิจที่ 3
กลุ่มของเราได ้เลือกนวัตกรรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพราะกลุ่มคิดว่า
ผู้เรียนสามารถศึกษาบทเรียนด ้วยตัวเองได ้โดยไม่จากัดเวลา โดยไม่ต ้องรอ
ครูหรือเข ้าชั้นเรียน
หากไม่เข ้าใจสามารถดูหรือเรียนซ้าได ้บทเรียนใดเข ้าใจแล ้ว สามารถผ่านไป
เรียนบทอื่นได ้โดยไม่ต ้องรอให ้บทนั้นๆจบก่อน
คอมพิวเตอร์ จะช่วยเพิ่มแรงจูงใจในการเรียนให ้แก่ผู้เรียน เนื่องจากการ
เรียนด ้วยคอมพิวเตอร์นั้นเป็นประสบการณ์ที่แปลกและใหม่
ความสามารถของหน่วยความจาของเครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยในการ บันทึก
คะแนนและพฤติกรรมต่างๆ ของผู้เรียนไว ้เพื่อใช ้ในการวางแผนบทเรียนขั้น
ต่อไปได ้อย่างเที่ยงตรง
ผู้เรียนสามารถศึกษาบทเรียนด ้วยตัวเองได ้โดยไม่จากัดเวลา โดยไม่ต ้องรอ
ครูหรือเข ้าชั้นเรียน
ผู้เรียนสามารถศึกษาบทเรียนด ้วยตัวเองได ้โดยไม่จากัดเวลา โดยไม่ต ้องรอ
ครูหรือเข ้าชั้นเรียน
สมาชิกกลุ่ม
นางสาวกานดา เรืองวานิช 533050421-5
นางสาวกานติมา มุนติเก 533050422-3
นางสาววิภาดา จันทร์โสม 533050443-5
นางสาวศิริวรรณ ศรีเดช 533050445-1
นักศึกษาชั้นปีที่ 4
สาขาการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

More Related Content

What's hot

การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาMintra Subprue
 
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปThunyalak Thumphila
 
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังเทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังPanwipa' Pornpirunroj
 
บทที่ 2 เซค 1
บทที่  2 เซค 1บทที่  2 เซค 1
บทที่ 2 เซค 1yaowalakMathEd
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7Tsheej Thoj
 
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCharpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาThitaporn Chobsanchon
 
นำเสนอนวัตกรรม4
นำเสนอนวัตกรรม4นำเสนอนวัตกรรม4
นำเสนอนวัตกรรม4Kanlayanee Thongthab
 
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2Kanlayanee Thongthab
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาChapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาสาวกปิศาจ Kudo
 

What's hot (19)

Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูปการเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
การเปลี่ยนแปลงทางการศึกษามาสู่ยุคปฏิรูป
 
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซังเทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
เทคโนโลยีสารนเทศทางการศึกษา โดยกลุ่มโจโจ้ซัง
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
บทที่ 2 เซค 1
บทที่  2 เซค 1บทที่  2 เซค 1
บทที่ 2 เซค 1
 
สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7สรุปบทที่ 7
สรุปบทที่ 7
 
241203 chapter02
241203 chapter02241203 chapter02
241203 chapter02
 
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาCharpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Charpter 2 การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
นำเสนอนวัตกรรม4
นำเสนอนวัตกรรม4นำเสนอนวัตกรรม4
นำเสนอนวัตกรรม4
 
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2
คำตอบตามสถาณการณืปัญหา บทที่ 2
 
งานบทที่ 2
งานบทที่ 2งานบทที่ 2
งานบทที่ 2
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
นวัตกรรม Chapter 2
นวัตกรรม Chapter 2นวัตกรรม Chapter 2
นวัตกรรม Chapter 2
 
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาChapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
Chapter2การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 

Similar to INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA

ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์Narathip Khrongyut
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้Rainbow Tiwa
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมporpia
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Tanyaporn Tiaotrakul
 
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)Kanpirom Trangern
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยFuangFah Tingmaha-in
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
Computerproject3418
Computerproject3418Computerproject3418
Computerproject3418Review Wlp
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
โครงงานคอมพิวเตอร์606
โครงงานคอมพิวเตอร์606โครงงานคอมพิวเตอร์606
โครงงานคอมพิวเตอร์606Ploy Purr
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8Niraporn Pousiri
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอrainacid
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4Bee Bie
 

Similar to INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA (20)

ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์หลักการออกแบบเว็บไซต์
หลักการออกแบบเว็บไซต์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม 33
งานคอม 33งานคอม 33
งานคอม 33
 
ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้ทฤษฎีการสร้างความรู้
ทฤษฎีการสร้างความรู้
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)
Chapter 4 สื่อการเรียนรู้ (ภารกิจ)
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
Computerproject3418
Computerproject3418Computerproject3418
Computerproject3418
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies  and  educational mediaIntroduction to technologies  and  educational media
Introduction to technologies and educational media
 
งานคอม 11
งานคอม 11งานคอม 11
งานคอม 11
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
โครงงานคอมพิวเตอร์606
โครงงานคอมพิวเตอร์606โครงงานคอมพิวเตอร์606
โครงงานคอมพิวเตอร์606
 
ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8ใบงานที่2-8
ใบงานที่2-8
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 

More from pompompam

Introduction to technologies chapter 5
Introduction to technologies chapter 5Introduction to technologies chapter 5
Introduction to technologies chapter 5pompompam
 
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3pompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to  technologiesIntroduction to  technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 

More from pompompam (15)

chapter 9
chapter 9chapter 9
chapter 9
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
Introduction to technologies chapter 5
Introduction to technologies chapter 5Introduction to technologies chapter 5
Introduction to technologies chapter 5
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to  technologiesIntroduction to  technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 

INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA

  • 1.
  • 2. กระทรวงศึกษาธิการต ้องการให ้ท่านเลือกและสร ้างนวัตกรรมการ เรียนรู้ให ้เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียน เปรมสวัสดิ์ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
  • 4. การเรียนรู้ตาม แนว คอมสตรัคติ วิสต์ การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางที่ให ้ความสาคัญต่อการ เรียนรู้ของผู้เรียน เน้นการสร ้างความรู้ด ้วยตนเอง โดยการลงมือกระทา หรือปฏิบัติผ่านกระบวนการคิด การเรียนรู้อาศัยประสบการณ์เดิมหรือความรู้เดิมที่มีอยู่ แล ้วเชื่อมโยงกับประสบการณ์ใหม่หรือความรู้ใหม่ เพื่อขยาย โครงสร ้างทางปัญญา ครูเป็นผู้จัดสิ่งแวดล ้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้หรือสร ้าง ความรู้ของผู้เรียน ด ้วยการนาวิธีการ เทคโนโลยี และนวัตกรรม หรือสื่อ ตลอดจนภูมิปัญญาท ้องถิ่นมาใช ้ร่วมกันเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพในการเรียนรู้
  • 5. สุมาลี ชัยเจริญ (2547) กล่าวว่า สิ่งแวดล ้อมทางการเรียนรู้ที่พัฒนาตามแนว คอนสตรัคติวิสต์ เป็นการออกแบบที่ประสาน ร่วมกันระหว่าง “สื่อ (Media)” กับ “วิธีการ (Methods)” โดยการนาทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์ มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบร่วมกับสื่อ มี คุณลักษณะของสื่อและระบบสัญลักษณ์ของสื่อที่ สนับสนุนการสร ้างความรู้ของผู้เรียน
  • 6. - ประเภทของสิ่งแวดล ้อมทางการเรียนรู้ สามารถแยกตาม บริบทของสื่อและคุณลักษณะของสื่อได ้3 ลักษณะ คือ (3) ชุดสร้างความรู้ เป็นการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการ ออกแบบ โดยประสานร่วมกับการนาสื่อประเภทต่างๆ เช่น สื่อสิ่งพิมพ์ หนังสือ วี ดีทัศน์ ภูมิปัญญาท ้องถิ่น อุปกรณ์การทดลอง รวมทั้งกิจกรรมต่างๆมาใช ้ร่วมกัน โดยคุณลักษณะของสื่อต่างๆจะส่งเสริมซึ่งกันและกัน เพื่อให ้ผู้เรียนเกิดการ เรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยมีหลักการและองค์ประกอบที่สาคัญได ้แก่ สถานการณ์ปัญหา ฐานความช่วยเหลือ การร่วมมือกันแก ้ปัญหา และการโค ้ช
  • 7. - ประเภทของสิ่งแวดล ้อมทางการเรียนรู้ สามารถแยกตาม บริบทของสื่อและคุณลักษณะของสื่อได ้3 ลักษณะ คือ (1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็น พื้นฐานที่ประสานร่วมกับคุณลักษณะของสื่อบนเครือข่ายที่สนองต่อหาการสร ้าง ความรู้ของผู้เรียน ได ้แก่ ลักษณะเป็นโนด (Node) ของความรู้ที่เชื่อมโยงกัน (Link) ซึ่งแต่ละโนดความรู้ที่ผู้เรียนคลิกเข ้าไปศึกษาจะสนับสนุนผู้เรียนในการ เชื่อมโยงปูพื้นฐานความรู้ที่ช่วยในการสร ้างความรู้ตลอดจนคุณลักษณะด ้านการ สื่อสารที่สามารถใช ้แลกเปลี่ยนความรู้ (2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ เป็นการกาหนดทฤษฎีคอนสตรัคติวิ สต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ โดนประสานร่วมกับคุณลักษณะของมัลติมีเดีย ที่นาเสนอทั้งข ้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง รวมทั้งการเชื่อมโยง หลายมิติ (Hyperlink) การเชื่อมโยงหลายมิติ (Hypermedia) โดยมีหลักการที่ สาคัญดังต่อไปนี้ สถานการณ์ ปัญหา อาจอยู่ในรูปแบบที่หลากหลาย เช่น เกม สถานการณ์จาลอง เป็นต ้น
  • 9. แก ้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให ้เด็กมีความสนใจในการเรียน มากขึ้น สื่อนี้สามารถทาให ้เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง (Realistic) และ เหมาะสมกับการศึกษารายบุคคล โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรง อาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดีทัศน์ ประกอบอยู่ในสื่อ นั้น เพื่อสร ้างความตื่นเต ้นน่าสนใจ และสามารถย ้อนทบทวนส่วนที่ ต ้องการได ้โดยไม่มีข ้อจากัด มีการประเมินเพื่อแก ้ไขข ้อบกพร่องของ ตนเองได ้ อาจจะออกแบบมาในลักษณะของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้น ให ้ผู้เรียนให ้มีความกระตือรือร ้นมากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรกเนื้อหาวิชาการ เข ้าไว ้อย่างเหมาะสม เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความ เจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่าย อินเตอร์เน็ตแต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ ใช ้บ ้าง ซึ่งเป็นห ้องคอมพิวเตอร์สา หรับนักเรียน ความต ้องการของ โรงเรียนคืออยากจะได ้สื่อที่มา โรงเรียนเปรมสวัสดิ์
  • 10. โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ จากการวิเคราะห์ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ ควรใช ้ นวัตกรรม มัลติมีเดีย และ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เนื่องจากโรงเรียนอยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการ เชื่อมโยงเครือข่ายอินเตอร์เน็ต และโรงเรียนอยากจะได ้ สื่อที่มาแก ้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให ้เด็กมี ความสนใจในการเรียนมากขึ้น การเลือกใช ้นวัตกรรม มัลติมีเดีย และ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มีความ สอดคล ้องกับโรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็นโปรแกรมการเรียน การสอนโดยใช ้เครื่องคอมพิวเตอร์บันทึกเนื้อหาวิชา มี ทั้งอักษร ข ้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว กราฟ แผนภูมิ ภาพเคลื่อนไหวและเสียง ลาดับวิธีการเสนอ ความรู้ต่างๆ ประโยชน์ คือ มัลติมีเดีย และ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นโปรแกรมการเรียน การสอนโดยใช ้เครื่องคอมพิวเตอร์ ที่จะให ้ผู้เรียนได ้เรียนรู้เนื้อหาวิชา มีส่วนร่วม และสนองต่อการเรียนรู้อย่างแข็งขันเพื่อบรรลุผลตามความมุ่งหมายของรายวิชา ซึ่งมีความสอดคล ้องกับบริบทของโรงเรียนเป็นอย่างดี
  • 11. โรงเรียนมหาชัย ต ้องการนวัตกรรมที่สามารถแก ้ไขข ้อ จากัดด ้านสถานที่ และเวลา โดย ประยุกต์ใช ้คุณสมบัติ เวิล์ด ไวด์ เว็บที่โรงเรียนมีอยู่ ในการจัด สภาพแวดล ้อมและสนับสนุนการ เรียนการสอน สิ่งแรกที่ต ้องมีคือการ ลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข ้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจ เป็นการอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่องของตน หรือสั่งพิมพ์ ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษาภายหลังก็ได ้ผู้เรียนสามารถกาหนดการเรียน ได ้ด ้วยตนเอง (Self-directed) เปิดโอกาสให ้เลือกเรียนได ้ตามสะดวก สามารถ กาหนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ได ้เหมาะสมกับความสามารถใน การเรียนรู้ของตนเอง คลอบคลุมทั้งการเรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และไม่ประสานเวลา (Asynchronous Learning) และสามารถถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทารายงานกลุ่ม อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่นๆได ้และยังสามารถ เข ้าถึงเนื้อหาได ้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกสถานที่
  • 12. โรงเรียนมหาชัย จากการวิเคราะห์ โรงเรียนมหาชัย ควรใช ้ นวัตกรรม การเรียนรู้บนเครือข่าย และ E- Learning เนื่องจากโรงเรียนมหาชัย ต ้องการ นวัตกรรมที่สามารถแก ้ไขข ้อจากัดด ้านสถานที่ และเวลา โดยประยุกต์ใช ้คุณสมบัติ เวิล์ด ไวด์ เว็บ ที่โรงเรียนมีอยู่ ในการจัดสภาพแวดล ้อมและ สนับสนุนการเรียนการสอน ได ้แก่ กระดานข่าว ไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ การประชุมทางไกล ประโยชน์ คือ เนื่องจากการใช ้การเรียนรู้บนเครือข่าย และ E-Learning เป็น เทคโนโลยีที่ทาให ้มีการเรียนดาเนินไปโดยไม่จากัด ซึ่งเครื่องมือเหล่านี้ทาให ้เกิดการ เรียนไม่พร ้อมกันได ้การเรียนไม่พร ้อมกันนี้ มีความหมายกว ้างไกลกว่าคาที่กล่าวว่า “ใครก็ได ้ ที่ไหนก็ได ้ เวลาใดก็ได ้ เรื่องอะไรก็ได ้” ซึ่ง การเรียนรู้บนเครือข่าย และ E-Learning มีความสอดคล ้องกับความต ้องการของโรงเรียนมหาชัย
  • 13. โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต ้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ ที่เน้นให ้ผู้เรียนสามารถสร ้างความรู้ ด ้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให ้ผู้เรียนได ้ สืบค ้น เมื่อไม่สามารถแก ้ปัญหาได ้ก็มี ฐานความช่วยเหลือ พร ้อมทั้งมี เครื่องมือที่สนับสนุนการร่วมมือกันแก ้ปัญหา สามารถแลกเปลี่ยนความ คิดเห็นระหว่างกันได ้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต ้อง สามารถนามาใช ้ได ้ในหลายบริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียนบนเครือข่าย บางกลุ่มชอบที่จะเรียนแบบ มัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนาไปใช ้เรียนได ้ทุกสถานที่ ไม่ว่าจะเป็นใต ้ร่มไม ้หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช ้เรียนรู้ เพื่อให ้เกิดประสิทธิภาพได ้
  • 14. โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ จากการวิเคราะห์ โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ โรงเรียน สามารถใช ้นวัตกรรมได ้ทุกรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นการใช ้ นวัตกรรม มัลติมีเดีย การเรียนบนเครือข่าย คอมพิวเตอร์ช่วยสอน หรือจะเป็นการเรียนแบบ E-Learning ก็ได ้ เพราะผู้เรียนแต่ละคนนั้นมีความชอบ ที่จะเรียนรู้ในวิธีที่แตกต่างกัน ดังนั้นหากต ้องการเน้นให ้ ผู้เรียนสามารถสร ้างความรู้ด ้วยตนเอง โรงเรียนก็ควรจะมี นวัตกรรมที่หลายหลาย ให ้ผู้เรียนได ้เลือก ดังนั้นเพื่อให ้ สอดคล ้องกับบริบทของโรงเรียนนี้ โรงเรียนควรมีการใช ้ นวัตกรรมที่หลากหลาย เช่น มัลติมีเดีย การเรียนบน เครือข่าย คอมพิวเตอร์ช่วยสอน และ E-Learning เป็นต ้น ประโยชน์ คือ ผู้เรียนสามารถสร ้างความรู้ด ้วยตนเอง โดยการเผชิญ สถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให ้ผู้เรียนได ้สืบค ้นเมื่อไม่สามารถ แก ้ปัญหาได ้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร ้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการ ร่วมมือการแก ้ปัญหา สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได ้ ตลอดเวลา
  • 16. กลุ่มของเราได ้เลือกนวัตกรรมคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพราะกลุ่มคิดว่า ผู้เรียนสามารถศึกษาบทเรียนด ้วยตัวเองได ้โดยไม่จากัดเวลา โดยไม่ต ้องรอ ครูหรือเข ้าชั้นเรียน หากไม่เข ้าใจสามารถดูหรือเรียนซ้าได ้บทเรียนใดเข ้าใจแล ้ว สามารถผ่านไป เรียนบทอื่นได ้โดยไม่ต ้องรอให ้บทนั้นๆจบก่อน คอมพิวเตอร์ จะช่วยเพิ่มแรงจูงใจในการเรียนให ้แก่ผู้เรียน เนื่องจากการ เรียนด ้วยคอมพิวเตอร์นั้นเป็นประสบการณ์ที่แปลกและใหม่ ความสามารถของหน่วยความจาของเครื่องคอมพิวเตอร์ช่วยในการ บันทึก คะแนนและพฤติกรรมต่างๆ ของผู้เรียนไว ้เพื่อใช ้ในการวางแผนบทเรียนขั้น ต่อไปได ้อย่างเที่ยงตรง ผู้เรียนสามารถศึกษาบทเรียนด ้วยตัวเองได ้โดยไม่จากัดเวลา โดยไม่ต ้องรอ ครูหรือเข ้าชั้นเรียน ผู้เรียนสามารถศึกษาบทเรียนด ้วยตัวเองได ้โดยไม่จากัดเวลา โดยไม่ต ้องรอ ครูหรือเข ้าชั้นเรียน
  • 17. สมาชิกกลุ่ม นางสาวกานดา เรืองวานิช 533050421-5 นางสาวกานติมา มุนติเก 533050422-3 นางสาววิภาดา จันทร์โสม 533050443-5 นางสาวศิริวรรณ ศรีเดช 533050445-1 นักศึกษาชั้นปีที่ 4 สาขาการสอนภาษาจีนในฐานะภาษาต่างประเทศ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น