SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
ภายหลังที่รัฐบาลได ้จัดการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งมีหัวใจ
สาคัญอยู่ที่ "การยกระดับคุณภาพประชากรของประเทศให ้สูงขึ้น
คือ ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได ้และ
ถือว่าผู้เรียนมีความที่สุด ที่ต ้องส่งเสริมและพัฒนาให ้เต็มตาม
ศักยภาพ ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การประยุกต์ความรู้และการ
แสวงหาความรู้ด ้วยตนเอง สามารถในการคิดวิเคราะห์ และริเริ่ม
สร ้างสรรค์ มีความสามารถในการแก ้ปัญหา ตลอดจนรู้จักการทา
งานเป็นหมู่คณะ" มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข ้ามาใช ้เพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถเข ้าถึงได ้อย่าง
หลากหลาย สามารถเรียนได ้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อที่จะทาให ้ผู้เรียน
เกิดความรู้ความเข ้าใจ และเหมาะสมกับยุคแห่งข ้อมูลสารสนเทศ
ที่มีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึงการทาให ้การเรียนรู้นั้นเกิด
ประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังเพื่อเป็นการเตรียมพัฒนาผู้เรียน ให ้มี
คุณลักษณะที่เหมาะสมกับสังคมยุคโลกาภิวัฒน์
1. วิเคราะห์บทบาทและความสาคัญของ
เทคโนโลยีสารสนเทศกับการพัฒนา
การศึกษาตามแนวทางปฏิรูปการศึกษา
ปัจจุบันเทคโนโลยีสารสนเทศได ้เข ้ามา
มีบทบาทต่อการศึกษาเป็นอย่างมาก
โดยเฉพาะเทคโนโลยีทางด ้านคอมพิวเตอร์
และการสื่อสารโทรคมนาคม
1. เทคโนโลยีที่เข ้ามามีส่วนช่วยในเรื่องการเรียนรู้ ปัจจุบันมีเครื่องมือเครื่องใช ้ที่
ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้หลายอย่าง เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI), ระบบ
มัลติมีเดีย และอินเตอร์เน็ต (Internet) เป็นต ้น ระบบเหล่านี้เป็นระบบสนับสนุนการ
รับรู้ข่าวสารและการค ้นหาข ้อมูลข่าวสารเพื่อการเรียนรู้
2. เทคโนโลยีที่เข ้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษา ในการจัดการศึกษาสมัยใหม่
จาเป็นต ้องอาศัยข ้อมูลข่าวสารเพื่อการวางแผนการดาเนินการ การ
ติดตาม ประเมินผลคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารโทรคมนาคม
3. เทคโนโลยีที่เข ้ามาช่วยให ้การสื่อสารระหว่างบุคคล เกือบทุกวงการ
ทั้งทางด ้านการศึกษาจาเป็นต ้องอาศัยการสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียน
กับผู้เรียน ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการเรียนการสอน และการ
ดาเนินงานในหลายด ้าน ทั้งนี้โดยอาศัยเทคโนโลยีการสื่อสาร การดาเนินงาน
และเทคโนโลยีการสื่อสารระหว่างบุคคล เช่น การใช ้โทรศัพท์ โทรสาร เทเลคอน
เฟอเรนส์ และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต ้น
ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ประการแรก การสื่อสารถือเป็นสิ่งจาเป็นในการดาเนินกิจกรรมต่างๆของ
มนุษย์ สิงสาคัญที่มีส่วนในการพัฒนากิจกรรมต่างๆของมนุษย์
ประกอบด ้วย Communications media, การสื่อสารโทรคมนาคม
(Telecoms) และเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT)
ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประกอบด ้วย
ผลิตภัณฑ์หลักที่มากไปกว่าโทรศัพท์ และคอมพิวเตอร์ เช่น แฟกซ์
อินเทอร์เน็ต อีเมล์ ทาให ้สารสนเทศเผยแพร่หรือกระจายออกไปในที่
ต่างๆได ้สะดวก
ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศหรือการสื่อสารมีผลให ้งานด ้านต่างๆมี
ราคาถูกลง
ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
ประการที่สี่ เครือข่ายสื่อสาร (Communication networks) ได ้รับประโยชน์
จากเครือข่ายภายนอก เนื่องจากจานวนการใช ้เครือข่าย จานวนผู้เชื่อมต่อ
และจานวนผู้ที่มีศักยภาพในการเข ้าเชื่อมต่อกับเครือข่ายนับวันจะเพิ่มสูงขึ้น
ประการที่ห ้า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทาให ้ฮาร์ตแวร์
คอมพิวเตอร์ และต ้นทุนการใช ้ICT มีราคาถูกลงมาก
ประการที่หก เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให ้เกิดการวางแผนการดาเนินการ
ระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทาให ้วิถีการตัดสินใจ หรือเลือกทางเลือกได ้
ละเอียดขึ้น
2. วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์
เทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการจัดการ
เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสาคัญ
วิธีการเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ (E-learning) การ
เรียนรู้แบบออนไลน์เป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่าย
คอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นการเรียนรู้ด ้วยตนเอง ผู้เรียน
จะได ้เรียนตามความสามารถและความสนใจของตน โดย
เนื้อหาของบทเรียนจะประกอบไปด ้วยข ้อความ รูปภาพ เสียง
วีดีโอและมัลติมีเดียอื่นๆจะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่าน web
browser โดยผู้เรียน ผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้นเรียนทุกคน
สามารถติดต่อปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได ้
เช่นเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนปกติ โดยอาศัยเครื่องมือการ
ติดต่อสื่อสารที่ทันสมัย สาหรับทุกคนที่สามารถเรียนรู้ได ้ทุก
เวลา และทุกสถานที่ แต่วิธีการเรียนรู้แบบออนไลน์นี้ก็มีทั้ง
ข ้อดีและข ้อเสียโดย
2. วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์เทคโนโลยี
สารสนเทศมาใช ้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้น
ผู้เรียนเป็นสาคัญ
ข้อดี
เอื้ออานวยให ้กับการติดต่อสื่อสารที่รวดเร็ว ไม่
จากัดเวลาและสถานที่ รวมทั้งบุคคล
ผู้เรียนและผู้สอนไม่ต ้องการเรียนและสอนในเวลา
เดียวกัน
ผู้เรียนและผู้สอนไม่ต ้องมาพบกันในห ้องเรียน
ตอบสนองความต ้องการของผู้เรียน และผู้สอนที่ไม่พร ้อมด ้านเวลา
ระยะทางในการเรียนได ้เป็นอย่าง
ผู้เรียนที่ไม่มีความมั่นใจ กลัวการตอบคาถาม ตั้งคาถาม ตั้งประเด็นการเรียนรู้
ในห ้องเรียน มีความกล ้ามากกว่าเดิม เนื่องจากไม่ต ้องแสดงตนต่อหน้าผู้สอน
และเพื่อนร่วมชั้น โดยอาศัยเครื่องมือ เช่น E-Mail, Webboard, Chat,
Newsgroup แสดงความคิดเห็นได ้อย่าง
ข้อเสีย
ไม่สามารถรับรู้ความรู้สึก ปฏิกิริยาที่แท ้จริงของ
ผู้เรียนและผู้สอน
ไม่สามารถสื่อความรู้สึก อารมณ์ในการเรียนรู้ได ้
อย่างแท ้จริง
ผู้เรียน และผู้สอน จะต ้องมีความพร ้อมในการใช ้คอมพิวเตอร์
และอินเทอร์เน็ต ทั้งด ้านอุปกรณ์ ทักษะการใช ้งาน
ผู้เรียนบางคน ไม่สามารถศึกษาด ้วยตนเองได ้
3. ให ้ท่านพิจารณาเลือกใช ้เทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ ตามบริบท
ของโรงเรียนที่กาหนดให ้ต่อไปนี้ พร ้อมทั้งให ้
เหตุผลประกอบการอธิบาย
โรงเรียนบ ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่
ห่างไกลในถิ่นธุระกันดาร โรงเรียนมี
คอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มี
สัญญาณโทรศัพท์
ควรที่จะใช ้เทคโนโลยีสารสนเทศประเภท คอมพิวเตอร์
ช่วยสอนด ้วยซีดีรอม ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการเรียนการสอนเพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ เนื่องจากโรงเรียนบ ้านหนอง
งูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลในถิ่นธุระกันดาร โรงเรียนมี
คอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์
ดังนั้นการใช ้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศประเภท คอมพิวเตอร์ช่วย
สอนด ้วยซีดีรอม จึงเป็นการจัดการเรียนรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
การจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมได ้
ควรจะใช ้การเรียนการสอนแบบ E-Learning คือ มีการใช ้
คอมพิวเตอร์ช่วยสอนด ้วยซีดีรอม การเรียนการสอนบนเว็บ
(Web-Based Learning) การเรียนออนไลน์(On-line Learning)
การเรียนทางไกลผ่านดาวเทียมหรือการเพียงพอ ดังนั้นการใช ้
สื่อที่มีความพร ้อมอยู่แล ้วก็จะเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ที่
เหมาะสมได ้เรียนด ้วยวิดีโอผ่านออนไลน์ เป็นต ้น เนื่องจาก
โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง มีความพร ้อมทางด ้านสื่อแต่มีครูผู้สอน
ไม่
โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความ
พร ้อมทางด ้านสื่อ เทคโนโลยี มีห ้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ต
ความเร็วสูง แต่ครูมีไม่เพียงพอ เนื่องจากย ้ายหนีเหตุการณ์ความไม่สงบ
Introduction to technologies  and  educational media

More Related Content

What's hot

นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษานวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษาAmu P Thaiying
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาjanepi49
 
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา วีรวัฒน์ สว่างแสง
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Nichaya100376
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารThamonwan Kottapan
 
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)Naparat Sriton
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารKanlayanee Thongthab
 
สิบ พีดีเอฟ
สิบ พีดีเอฟสิบ พีดีเอฟ
สิบ พีดีเอฟO-mu Aomaam
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotiondecnun
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Nichaya100376
 
สิบค่า
สิบค่าสิบค่า
สิบค่าO-mu Aomaam
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาB'nust Thaporn
 

What's hot (19)

นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษานวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
นวัตกรรมบทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศทางศึกษา
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศกับการศึกษา
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
 
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)งานนำเสนอบทท   6จ_า (1)
งานนำเสนอบทท 6จ_า (1)
 
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารบทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
บทที่6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 
สิบ พีดีเอฟ
สิบ พีดีเอฟสิบ พีดีเอฟ
สิบ พีดีเอฟ
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
ICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading PromotionICt For School & Reading Promotion
ICt For School & Reading Promotion
 
Lesson6
Lesson6Lesson6
Lesson6
 
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่6เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
สิบค่า
สิบค่าสิบค่า
สิบค่า
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Digital e book
Digital e bookDigital e book
Digital e book
 
บทที่๗
บทที่๗บทที่๗
บทที่๗
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 

Similar to Introduction to technologies and educational media

Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาAa-bb Sangwut
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาWuth Chokcharoen
 
chapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningchapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningPacharaporn087-3
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6Zhao Er
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาN'Fern White-Choc
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนNatmol Thedsanabun
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์sa_jaimun
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาAomJi Math-ed
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้thanakorn
 
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__Chanaaun Ying
 
Dlit socialmedia
Dlit socialmediaDlit socialmedia
Dlit socialmediatayval
 

Similar to Introduction to technologies and educational media (20)

Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
บทท 6
บทท   6บทท   6
บทท 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
presentation 6
presentation 6presentation 6
presentation 6
 
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษานวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
นวัต6เทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการแบบนำเสนอผลงานวิชาการ
แบบนำเสนอผลงานวิชาการ
 
Chapter6
Chapter6Chapter6
Chapter6
 
chapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learningchapter 6 information technology for learning
chapter 6 information technology for learning
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาบทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
บทที่ 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานพัฒนาการเรียนการสอนโดยใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอนรายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
รายงานผลการพัฒนาการเรียนการสอนด้วยสื่อรคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
 
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
ใบความรู้ 1.1ความหมายและคุณค่าของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
การพัฒนาแหล่งการเรียนรู้
 
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
เทคโนโลย สารสนเทศเพ _อการเร_ยนร__
 
Dlit socialmedia
Dlit socialmediaDlit socialmedia
Dlit socialmedia
 

More from pompompam

INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIAINTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIApompompam
 
Introduction to technologies chapter 5
Introduction to technologies chapter 5Introduction to technologies chapter 5
Introduction to technologies chapter 5pompompam
 
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3pompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediapompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to  technologiesIntroduction to  technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologiespompompam
 

More from pompompam (18)

chapter 9
chapter 9chapter 9
chapter 9
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIAINTRODUCTION TO TECHNOLOGIES  AND  EDUCATIONAL MEDIA
INTRODUCTION TO TECHNOLOGIES AND EDUCATIONAL MEDIA
 
Introduction to technologies chapter 5
Introduction to technologies chapter 5Introduction to technologies chapter 5
Introduction to technologies chapter 5
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational mediaIntroduction to technologies and educational media
Introduction to technologies and educational media
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to  technologiesIntroduction to  technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 
Introduction to technologies
Introduction to technologiesIntroduction to technologies
Introduction to technologies
 

Introduction to technologies and educational media

  • 1.
  • 2. ภายหลังที่รัฐบาลได ้จัดการปฏิรูปการศึกษา ซึ่งมีหัวใจ สาคัญอยู่ที่ "การยกระดับคุณภาพประชากรของประเทศให ้สูงขึ้น คือ ผู้เรียนทุกคนมีความสามารถเรียนรู้และพัฒนาตนเองได ้และ ถือว่าผู้เรียนมีความที่สุด ที่ต ้องส่งเสริมและพัฒนาให ้เต็มตาม ศักยภาพ ฝึกทักษะ กระบวนการคิด การประยุกต์ความรู้และการ แสวงหาความรู้ด ้วยตนเอง สามารถในการคิดวิเคราะห์ และริเริ่ม สร ้างสรรค์ มีความสามารถในการแก ้ปัญหา ตลอดจนรู้จักการทา งานเป็นหมู่คณะ" มีการนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข ้ามาใช ้เพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ที่ผู้เรียนสามารถเข ้าถึงได ้อย่าง หลากหลาย สามารถเรียนได ้ทุกที่ทุกเวลา เพื่อที่จะทาให ้ผู้เรียน เกิดความรู้ความเข ้าใจ และเหมาะสมกับยุคแห่งข ้อมูลสารสนเทศ ที่มีอยู่อย่างมากมาย รวมไปถึงการทาให ้การเรียนรู้นั้นเกิด ประสิทธิภาพสูงสุด ทั้งยังเพื่อเป็นการเตรียมพัฒนาผู้เรียน ให ้มี คุณลักษณะที่เหมาะสมกับสังคมยุคโลกาภิวัฒน์
  • 5. 1. เทคโนโลยีที่เข ้ามามีส่วนช่วยในเรื่องการเรียนรู้ ปัจจุบันมีเครื่องมือเครื่องใช ้ที่ ช่วยสนับสนุนการเรียนรู้หลายอย่าง เช่น ระบบคอมพิวเตอร์ช่วยสอน (CAI), ระบบ มัลติมีเดีย และอินเตอร์เน็ต (Internet) เป็นต ้น ระบบเหล่านี้เป็นระบบสนับสนุนการ รับรู้ข่าวสารและการค ้นหาข ้อมูลข่าวสารเพื่อการเรียนรู้ 2. เทคโนโลยีที่เข ้ามาสนับสนุนการจัดการศึกษา ในการจัดการศึกษาสมัยใหม่ จาเป็นต ้องอาศัยข ้อมูลข่าวสารเพื่อการวางแผนการดาเนินการ การ ติดตาม ประเมินผลคอมพิวเตอร์และระบบสื่อสารโทรคมนาคม 3. เทคโนโลยีที่เข ้ามาช่วยให ้การสื่อสารระหว่างบุคคล เกือบทุกวงการ ทั้งทางด ้านการศึกษาจาเป็นต ้องอาศัยการสื่อสารระหว่างผู้สอนกับผู้เรียน ผู้เรียน กับผู้เรียน ซึ่งจะช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในกระบวนการเรียนการสอน และการ ดาเนินงานในหลายด ้าน ทั้งนี้โดยอาศัยเทคโนโลยีการสื่อสาร การดาเนินงาน และเทคโนโลยีการสื่อสารระหว่างบุคคล เช่น การใช ้โทรศัพท์ โทรสาร เทเลคอน เฟอเรนส์ และไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ เป็นต ้น
  • 6. ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประการแรก การสื่อสารถือเป็นสิ่งจาเป็นในการดาเนินกิจกรรมต่างๆของ มนุษย์ สิงสาคัญที่มีส่วนในการพัฒนากิจกรรมต่างๆของมนุษย์ ประกอบด ้วย Communications media, การสื่อสารโทรคมนาคม (Telecoms) และเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT) ประการที่สอง เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารประกอบด ้วย ผลิตภัณฑ์หลักที่มากไปกว่าโทรศัพท์ และคอมพิวเตอร์ เช่น แฟกซ์ อินเทอร์เน็ต อีเมล์ ทาให ้สารสนเทศเผยแพร่หรือกระจายออกไปในที่ ต่างๆได ้สะดวก ประการที่สาม เทคโนโลยีสารสนเทศหรือการสื่อสารมีผลให ้งานด ้านต่างๆมี ราคาถูกลง
  • 7. ความสาคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ประการที่สี่ เครือข่ายสื่อสาร (Communication networks) ได ้รับประโยชน์ จากเครือข่ายภายนอก เนื่องจากจานวนการใช ้เครือข่าย จานวนผู้เชื่อมต่อ และจานวนผู้ที่มีศักยภาพในการเข ้าเชื่อมต่อกับเครือข่ายนับวันจะเพิ่มสูงขึ้น ประการที่ห ้า เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทาให ้ฮาร์ตแวร์ คอมพิวเตอร์ และต ้นทุนการใช ้ICT มีราคาถูกลงมาก ประการที่หก เทคโนโลยีสารสนเทศก่อให ้เกิดการวางแผนการดาเนินการ ระยะยาวขึ้น อีกทั้งยังทาให ้วิถีการตัดสินใจ หรือเลือกทางเลือกได ้ ละเอียดขึ้น
  • 9. วิธีการเรียนรู้แบบออนไลน์ หรือ (E-learning) การ เรียนรู้แบบออนไลน์เป็นการศึกษา เรียนรู้ผ่านเครือข่าย คอมพิวเตอร์อินเทอร์เน็ต ซึ่งเป็นการเรียนรู้ด ้วยตนเอง ผู้เรียน จะได ้เรียนตามความสามารถและความสนใจของตน โดย เนื้อหาของบทเรียนจะประกอบไปด ้วยข ้อความ รูปภาพ เสียง วีดีโอและมัลติมีเดียอื่นๆจะถูกส่งไปยังผู้เรียนผ่าน web browser โดยผู้เรียน ผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้นเรียนทุกคน สามารถติดต่อปรึกษา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได ้ เช่นเดียวกับการเรียนในชั้นเรียนปกติ โดยอาศัยเครื่องมือการ ติดต่อสื่อสารที่ทันสมัย สาหรับทุกคนที่สามารถเรียนรู้ได ้ทุก เวลา และทุกสถานที่ แต่วิธีการเรียนรู้แบบออนไลน์นี้ก็มีทั้ง ข ้อดีและข ้อเสียโดย 2. วิเคราะห์หาวิธีการที่จะประยุกต์เทคโนโลยี สารสนเทศมาใช ้ในการจัดการเรียนรู้ที่เน้น ผู้เรียนเป็นสาคัญ
  • 10. ข้อดี เอื้ออานวยให ้กับการติดต่อสื่อสารที่รวดเร็ว ไม่ จากัดเวลาและสถานที่ รวมทั้งบุคคล ผู้เรียนและผู้สอนไม่ต ้องการเรียนและสอนในเวลา เดียวกัน ผู้เรียนและผู้สอนไม่ต ้องมาพบกันในห ้องเรียน ตอบสนองความต ้องการของผู้เรียน และผู้สอนที่ไม่พร ้อมด ้านเวลา ระยะทางในการเรียนได ้เป็นอย่าง ผู้เรียนที่ไม่มีความมั่นใจ กลัวการตอบคาถาม ตั้งคาถาม ตั้งประเด็นการเรียนรู้ ในห ้องเรียน มีความกล ้ามากกว่าเดิม เนื่องจากไม่ต ้องแสดงตนต่อหน้าผู้สอน และเพื่อนร่วมชั้น โดยอาศัยเครื่องมือ เช่น E-Mail, Webboard, Chat, Newsgroup แสดงความคิดเห็นได ้อย่าง
  • 11. ข้อเสีย ไม่สามารถรับรู้ความรู้สึก ปฏิกิริยาที่แท ้จริงของ ผู้เรียนและผู้สอน ไม่สามารถสื่อความรู้สึก อารมณ์ในการเรียนรู้ได ้ อย่างแท ้จริง ผู้เรียน และผู้สอน จะต ้องมีความพร ้อมในการใช ้คอมพิวเตอร์ และอินเทอร์เน็ต ทั้งด ้านอุปกรณ์ ทักษะการใช ้งาน ผู้เรียนบางคน ไม่สามารถศึกษาด ้วยตนเองได ้
  • 12. 3. ให ้ท่านพิจารณาเลือกใช ้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ ตามบริบท ของโรงเรียนที่กาหนดให ้ต่อไปนี้ พร ้อมทั้งให ้ เหตุผลประกอบการอธิบาย
  • 13. โรงเรียนบ ้านหนองงูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ ห่างไกลในถิ่นธุระกันดาร โรงเรียนมี คอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มี สัญญาณโทรศัพท์ ควรที่จะใช ้เทคโนโลยีสารสนเทศประเภท คอมพิวเตอร์ ช่วยสอนด ้วยซีดีรอม ที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับการเรียนการสอนเพื่อ เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ เนื่องจากโรงเรียนบ ้านหนอง งูเห่า เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลในถิ่นธุระกันดาร โรงเรียนมี คอมพิวเตอร์สามเครื่อง มีโทรทัศน์ ไม่มีสัญญาณโทรศัพท์ ดังนั้นการใช ้สื่อเทคโนโลยีสารสนเทศประเภท คอมพิวเตอร์ช่วย สอนด ้วยซีดีรอม จึงเป็นการจัดการเรียนรู้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมได ้
  • 14. ควรจะใช ้การเรียนการสอนแบบ E-Learning คือ มีการใช ้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอนด ้วยซีดีรอม การเรียนการสอนบนเว็บ (Web-Based Learning) การเรียนออนไลน์(On-line Learning) การเรียนทางไกลผ่านดาวเทียมหรือการเพียงพอ ดังนั้นการใช ้ สื่อที่มีความพร ้อมอยู่แล ้วก็จะเพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเรียนรู้ที่ เหมาะสมได ้เรียนด ้วยวิดีโอผ่านออนไลน์ เป็นต ้น เนื่องจาก โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง มีความพร ้อมทางด ้านสื่อแต่มีครูผู้สอน ไม่ โรงเรียนมัธยมไฮโซเบตง เป็นโรงเรียนที่ตั้งอยู่ในเมือง มีความ พร ้อมทางด ้านสื่อ เทคโนโลยี มีห ้องคอมพิวเตอร์ มีระบบอินเตอร์เน็ต ความเร็วสูง แต่ครูมีไม่เพียงพอ เนื่องจากย ้ายหนีเหตุการณ์ความไม่สงบ