SlideShare a Scribd company logo
1 of 22
Download to read offline
ภารกิจครูมือใหม่
ปัญหาข้อที่ 1 ?


ปัญหาข้อที่ 2 ?


ปัญหาข้อที่ 3 ?


ปัญหาข้อที่ 4 ?
ปัญหาที่ 1 กระบวน
ทัศน์ของการออกแบบ
การสอนเป็นอย่างไร
และสิ่งใดเป็นพื้นฐานที่
สาคัญใน การเปลี่ยน
กระบวนทัศน์ดังกล่าว
                          คาตอบ
กระบวนทัศน์ คือ ทฤษฎีที่มีร่วมกันของคนกลุ่ม
หนึ่ง และก่อตัวเป็นแบบแผนของทัศนะเฉพาะ
อย่าง ซึ่งกระบวนทัศน์นี้ทาหน้าที่ 2 อย่าง



        วางหรือ
                             ชี้แนวทาง
      กาหนดกรอบ
ดังนั้น กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอน
คือ แนวทางในการออกแบบการสอนที่มี
ประสิทธิภาพ ซึ่งในยุคปัจจุบัน จะเน้นผู้เรียนเป็น
ศูนย์กลาง ดังนั้นการออกแบบจากสื่อการสอนจึง
เปลี่ยนมาเป็นสื่อการเรียนรู้
สื่อการสอน                 สื่อการเรียนรู้




             กระบวนทัศน์
โดยสิ่งที่เป็นพื้นฐานสาคัญในการเปลี่ยนกระบวนทัศน์
ดังกล่าวมาจาก ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่ม คอนสตรัคติวิสต์ คือ

                 - ให้ผู้เรียนสร้างความรู้เอง
                 - สร้างสิ่งแทนความรู้
                 - ผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้แนะนา
                 - ผู้ออกแบบสื่อสร้างสิ่งแวดล้อมทางการ
      เรียนรู้
เพื่อมุ่งพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ให้เกิดขึ้นใน
                ตัวผู้เรียน อันได้แก่


    การคิดอย่างสร้างสรรค์   การคิดอย่างมีวิจารณญาณ



    การคิดอย่างมีเหตุผล      แสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง
- ให้ผู้เรียนสร้างความรู้           - การคิดอย่าง
เอง                                 สร้างสรรค์
- สร้างสิ่งแทนความรู้               - การคิดอย่างมี
- ผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้              วิจารณญาณ
แนะนา                       พัฒนา   - การคิดอย่างมีเหตุผล
- ผู้ออกแบบสื่อสร้าง                - แสวงหาความรู้ได้ด้วย
สิ่งแวดล้อมทางการ                   ตนเอง
เรียนรู้
ปัญหาที่ 2 พื้นฐาน
ทฤษฎีการเรียนรู้ที่
สาคัญในการออกแบบ
 การสอนมีอะไรบ้างและ
มีสาระสาคัญอย่างไร
และมีความแตกต่างกัน
อย่างไร
                       คาตอบ
พฤติกรรมนิยม


         ให้ความสนใจกับพฤติกรรมที่สามารถวัด
และสังเกตได้การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้าง
ความเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง
ผู้เรียนเป็นผู้รอรับความรู้ ตลอดจนสิ่งเร้าต่างๆ
บทบาทของครูเป็นผู้บริหารจัดการสิ่งเร้าที่จะให้
ผู้เรียน
พุทธิปญญานิยม
        ั

    ให้ความสนใจในกระบวนการภายในที่
เรียกว่า ความรู้ความเข้าใจหรือการรู้คิดของ
มนุษย์ ผู้เรียนสามารถจัดรวบรวม เรียบเรียง
สิ่งที่เรียนรู้ให้เป็นระเบียบ เปลี่ยนแปลง
ความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด้านปริมาณและ
คุณภาพ ถ่ายโยงความรู้และทักษะเดิม หรือ
สิ่งที่เรียนรู้มาแล้วไปสู่บริบทและปัญหาใหม่
คอนสตรัคติวิสต์

       การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้างความรู้อย่าง
ตื่นตัวด้วยตนเอง ผู้เรียนคือผู้สร้างความรู้ ในขณะที่
ผู้สอนเป็นผู้แนะนา
       ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์อย่างมีความหมายกับ
เนื้อหา สื่อ ตลอดจนแหล่งเรียนรุ้ที่อยู่รอบตัวมนุษย์
ต้องสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านประสบการณ์
ประสบการณ์จะกระตุ้นให้ผู้เรียนสร้าง โครงสร้างทาง
ปัญญา หรือ สกีมา (Schemas)
รูปแบบ            การเรียนรู้            การออกแบบการสอน
พฤติกรรมนิยม     การเปลี่ยนแปลง           - มุ่งเน้นความสาคัญของ
                 พฤติกรรมทีเ่ กิดขึ้น     สิ่งแวดล้อม
                                          - มุงให้ผู้เรียนสามารถจดจาความรู้
                                                 ่
                                          ให้ได้มากที่สุด
                                          - มุงเน้นการพัฒนาพฤติกรรมที่
                                               ่
                                          สนองต่อสิ่งเร้าเพียงอย่างเดียว

พุทธิปัญญานิยม   - การเปลี่ยนแปลงของ      - มุงเน้นกระบวนการทางปัญญา
                                                ่
                 ความรู้ที่ถูกเก็บไว้ใน   คือ กระบวนการรู้คด
                                                           ิ
                 หน่วยความจาระยะ          - มุงเน้นบทบาทของการใช้
                                              ่
                 ยาว                      หน่วยความจา
รูปแบบ             การเรียนรู้             การออกแบบการสอน
คอนสตรัคติวิสต์   - การเปลี่ยนแปลงอย่าง - มุงเน้นให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับ
                                                ่
                  มีความหมายกับความรู้ที่ เนื้อหา สื่อ ตลอดจนแหล่งเรียนรู้
                  สร้างขึ้น โดยผู้เรียนสร้าง รอบตัว
                  ความรู้ดวยตนเองผ่าน
                            ้
                  การแก้ปัญหา
ปัญหาที่ 3 ให้วิเคราะห์
และวิพากษ์จุดเด่นและจุด
ด้อยของการออกแบบการ
สอนที่มีพนฐานจาก
          ื้
ทฤษฎีการเรียนรู้กลุม
                   ่
พฤติกรรมนิยม พุทธิ
ปัญญานิยมและคอน
สตรัคติวิสต์
                          คาตอบ
รูปแบบ               จุดด้อย                      จุดเด่น
พฤติกรรมนิยม     - จาได้ระยะสั้น          - รวดเร็ว เช่น ติวก่อน   สอบ
                 - ต้องมีพื้นฐานทีแน่น
                                  ่       - ประหยัดเวลา
                 - ผู้เรียนรอรับสาร       -ได้ครบเนือหา
                                                     ้
                 - ไม่เกิดกระบวนการคิด

พุทธิปัญญานิยม   - ผู้เรียนต้องมีความจา   - ข้อมูลมีระเบียบ
                 ระยะยาว                  - เรียกมาใช้ได้
                 - ผู้เรียนรอรับสาร       - ปริมาณมาก
                 - ไม่เกิดกระบวนการคิด    - เกิดความเข้าใจ
รูปแบบ             จุดด้อย                   จุดเด่น
คอนสตรัคติวิสต์   - ต้องมีประสบการณ์เดิม - พัฒนากระบวนการคิด
                  ที่ดีพอ                - เกิดความจาระยะยาว
                  - ช้า                  - แก้ปัญหาเองได้
                                         - เรียนรูเ้ องได้
                                         - เกิดปฏิสัมพันธ์
ปัญหาข้อที่ 4 จากสิ่งที่กาหนดต่อไปนี้ให้ท่านจาแนก
ประเภทตามลักษณะการออกแบบโดยระบุเกณฑ์และ
เหตุผลที่ใช้ในการจาแนกด้วย ชุดการสอน ชุดสร้างความรู้
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอน
สตรัคติวิสต์ บทเรียนโปรแกรม เว็บเพื่อการสอน
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย การเรียนแบบ
ร่วมมือกันเรียนรู้



                                                 คาตอบ
จากสิ่งที่กาหนดต่อไปนี้ให้ท่านจาแนกประเภท
ตาม ลักษณะการออกแบบโดยระบุเกณฑ์และเหตุผล
ที่ ใช้ในการจาแนกด้วย ชุดการสอน ชุดสร้าง
ความรู้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มัลติมีเดียที่พัฒนาตาม
แนว คอนสตรัคติวิสต์ บทเรียนโปรแกรม เว็บเพื่อการ
สอน สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย การเรียน
แบบร่วมมือกันเรียนรู้
สื่อการสอน                  เหตุผล
- ชุดการสอน                - เป็นการจัดเนื้อหาสาหรับการสอนให้แก่
                           ผู้เรียน

- คอมพิวเตอร์ชวยสอน
              ่            - เป็นการใช้สื่อ คือคอมพิวเตอร์ ในการ
                           นาเสนอเนื้อหา

- บทเรียนโปรแกรม           -เป็นโปรแกรมที่นาเสนอเนื้อหา
สื่อการเรียนรู้                            เหตุผล
- ชุดการเรียนรู้                      - เป็นสื่อที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ดวยตนเอง
                                                                          ้

- มัลติมเี ดียที่พัฒนาตามแนว คอนสตรัค - ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ คือให้
ติวิสต์                               ผู้เรียนสร้างความรู้เอง

- บทเรียนโปรแกรม                      - ให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ใน
                                      โปรแกรม
- เว็บเพื่อการสอนสิ่งแวดล้อมทางการ    -ผู้เรียนได้เข้าไปเรียนรู้และสามารถแสดง
เรียนรู้บนเครือข่าย                   ความคิดเห็นได้

- การเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้       -ผู้เรียนได้รวมกลุ่มกันปฏิบัติงาน

More Related Content

What's hot

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Noppasorn Boonsena
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาNisachol Poljorhor
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษาTupPee Zhouyongfang
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาBLue Artittaya
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาAomJi Math-ed
 
ภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmapภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี MindmapAnn Pawinee
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาAlice Misty
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้Aon Onuma
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Pitsiri Lumphaopun
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่Moss Worapong
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Phornpen Fuangfoo
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาJune Nitipan
 

What's hot (20)

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
ภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmapภาวินี โยวะศรี Mindmap
ภาวินี โยวะศรี Mindmap
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
Teacher1
Teacher1Teacher1
Teacher1
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Instdev
InstdevInstdev
Instdev
 

Viewers also liked

ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Chaya Kunnock
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่Chaya Kunnock
 
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ Worrachet Boonyong
 
The History of Call Tracking
The History of Call TrackingThe History of Call Tracking
The History of Call TrackingEvgeny Vlasov
 
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.Worrachet Boonyong
 
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)Worrachet Boonyong
 
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5Worrachet Boonyong
 
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]Worrachet Boonyong
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยChaya Kunnock
 
Konstruksi geometri
Konstruksi geometriKonstruksi geometri
Konstruksi geometriEdi Widodo
 
2 6sukanprestasitinggi-130313100415-phpapp02-130325084503-phpapp01
2 6sukanprestasitinggi-130313100415-phpapp02-130325084503-phpapp012 6sukanprestasitinggi-130313100415-phpapp02-130325084503-phpapp01
2 6sukanprestasitinggi-130313100415-phpapp02-130325084503-phpapp01Guo Jing Lim
 
Manualdemicrocentraleshidraulicas
ManualdemicrocentraleshidraulicasManualdemicrocentraleshidraulicas
ManualdemicrocentraleshidraulicasChristian
 
Grandes Monumentos aprentic3
Grandes Monumentos aprentic3Grandes Monumentos aprentic3
Grandes Monumentos aprentic3pepemuxia
 
Bmc boletin diario rueda no 58 26032013
Bmc boletin diario rueda no 58  26032013Bmc boletin diario rueda no 58  26032013
Bmc boletin diario rueda no 58 26032013joseleorcasita
 
Pêssegos peaches pesche
Pêssegos peaches peschePêssegos peaches pesche
Pêssegos peaches pescheCelso Pommer
 

Viewers also liked (20)

ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์ แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
แนวข้อสอบคัดเลือกนักเรียนเข้าห้องเรียนพิเศษ วิทยาศาสตร์
 
Concussions in football
Concussions in footballConcussions in football
Concussions in football
 
The History of Call Tracking
The History of Call TrackingThe History of Call Tracking
The History of Call Tracking
 
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
กิจกรรม การทดลอง ฟิสิกส์ สสวท.
 
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
ไฟฟ้าสถิต (Electrostatics)
 
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
ใบงาน เทคโนโลยีอวกาศ ม.5
 
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
การเคลื่อนที่ (motion) [Physics O - NET]
 
ครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วยครูผู้ช่วย
ครูผู้ช่วย
 
Konstruksi geometri
Konstruksi geometriKonstruksi geometri
Konstruksi geometri
 
redaccions 4t
redaccions 4tredaccions 4t
redaccions 4t
 
2 6sukanprestasitinggi-130313100415-phpapp02-130325084503-phpapp01
2 6sukanprestasitinggi-130313100415-phpapp02-130325084503-phpapp012 6sukanprestasitinggi-130313100415-phpapp02-130325084503-phpapp01
2 6sukanprestasitinggi-130313100415-phpapp02-130325084503-phpapp01
 
Manualdemicrocentraleshidraulicas
ManualdemicrocentraleshidraulicasManualdemicrocentraleshidraulicas
Manualdemicrocentraleshidraulicas
 
Humour
HumourHumour
Humour
 
Grandes Monumentos aprentic3
Grandes Monumentos aprentic3Grandes Monumentos aprentic3
Grandes Monumentos aprentic3
 
Bmc boletin diario rueda no 58 26032013
Bmc boletin diario rueda no 58  26032013Bmc boletin diario rueda no 58  26032013
Bmc boletin diario rueda no 58 26032013
 
Pêssegos peaches pesche
Pêssegos peaches peschePêssegos peaches pesche
Pêssegos peaches pesche
 
Estadistica
EstadisticaEstadistica
Estadistica
 
Extremadura
ExtremaduraExtremadura
Extremadura
 

Similar to ครูมือใหม่

การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)suparada
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1Piyamas Songtronge
 
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วยภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วยAekapong Hemathulin
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยPamkritsaya3147
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 

Similar to ครูมือใหม่ (20)

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
Pys3 pbl
Pys3 pblPys3 pbl
Pys3 pbl
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
คอม01.doc
คอม01.docคอม01.doc
คอม01.doc
 
ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)ใบงานที่คอม1 (1)
ใบงานที่คอม1 (1)
 
ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1ใบงานที่คอม1
ใบงานที่คอม1
 
Learning by project
Learning by projectLearning by project
Learning by project
 
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วยภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจ ระดับครูผู้ช่วย
 
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วยภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจการเรียนรู้ระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Inno
InnoInno
Inno
 
ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2ภารกิจครูผู้ช่วย2
ภารกิจครูผู้ช่วย2
 

ครูมือใหม่

  • 2. ปัญหาข้อที่ 1 ? ปัญหาข้อที่ 2 ? ปัญหาข้อที่ 3 ? ปัญหาข้อที่ 4 ?
  • 4. กระบวนทัศน์ คือ ทฤษฎีที่มีร่วมกันของคนกลุ่ม หนึ่ง และก่อตัวเป็นแบบแผนของทัศนะเฉพาะ อย่าง ซึ่งกระบวนทัศน์นี้ทาหน้าที่ 2 อย่าง วางหรือ ชี้แนวทาง กาหนดกรอบ
  • 5. ดังนั้น กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอน คือ แนวทางในการออกแบบการสอนที่มี ประสิทธิภาพ ซึ่งในยุคปัจจุบัน จะเน้นผู้เรียนเป็น ศูนย์กลาง ดังนั้นการออกแบบจากสื่อการสอนจึง เปลี่ยนมาเป็นสื่อการเรียนรู้
  • 6. สื่อการสอน สื่อการเรียนรู้ กระบวนทัศน์
  • 7. โดยสิ่งที่เป็นพื้นฐานสาคัญในการเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ดังกล่าวมาจาก ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่ม คอนสตรัคติวิสต์ คือ - ให้ผู้เรียนสร้างความรู้เอง - สร้างสิ่งแทนความรู้ - ผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้แนะนา - ผู้ออกแบบสื่อสร้างสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้
  • 8. เพื่อมุ่งพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงค์ ให้เกิดขึ้นใน ตัวผู้เรียน อันได้แก่ การคิดอย่างสร้างสรรค์ การคิดอย่างมีวิจารณญาณ การคิดอย่างมีเหตุผล แสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเอง
  • 9. - ให้ผู้เรียนสร้างความรู้ - การคิดอย่าง เอง สร้างสรรค์ - สร้างสิ่งแทนความรู้ - การคิดอย่างมี - ผู้สอนมีบทบาทเป็นผู้ วิจารณญาณ แนะนา พัฒนา - การคิดอย่างมีเหตุผล - ผู้ออกแบบสื่อสร้าง - แสวงหาความรู้ได้ด้วย สิ่งแวดล้อมทางการ ตนเอง เรียนรู้
  • 10. ปัญหาที่ 2 พื้นฐาน ทฤษฎีการเรียนรู้ที่ สาคัญในการออกแบบ การสอนมีอะไรบ้างและ มีสาระสาคัญอย่างไร และมีความแตกต่างกัน อย่างไร คาตอบ
  • 11. พฤติกรรมนิยม ให้ความสนใจกับพฤติกรรมที่สามารถวัด และสังเกตได้การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้าง ความเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง ผู้เรียนเป็นผู้รอรับความรู้ ตลอดจนสิ่งเร้าต่างๆ บทบาทของครูเป็นผู้บริหารจัดการสิ่งเร้าที่จะให้ ผู้เรียน
  • 12. พุทธิปญญานิยม ั ให้ความสนใจในกระบวนการภายในที่ เรียกว่า ความรู้ความเข้าใจหรือการรู้คิดของ มนุษย์ ผู้เรียนสามารถจัดรวบรวม เรียบเรียง สิ่งที่เรียนรู้ให้เป็นระเบียบ เปลี่ยนแปลง ความรู้ของผู้เรียนทั้งทางด้านปริมาณและ คุณภาพ ถ่ายโยงความรู้และทักษะเดิม หรือ สิ่งที่เรียนรู้มาแล้วไปสู่บริบทและปัญหาใหม่
  • 13. คอนสตรัคติวิสต์ การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้างความรู้อย่าง ตื่นตัวด้วยตนเอง ผู้เรียนคือผู้สร้างความรู้ ในขณะที่ ผู้สอนเป็นผู้แนะนา ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์อย่างมีความหมายกับ เนื้อหา สื่อ ตลอดจนแหล่งเรียนรุ้ที่อยู่รอบตัวมนุษย์ ต้องสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยผ่านประสบการณ์ ประสบการณ์จะกระตุ้นให้ผู้เรียนสร้าง โครงสร้างทาง ปัญญา หรือ สกีมา (Schemas)
  • 14. รูปแบบ การเรียนรู้ การออกแบบการสอน พฤติกรรมนิยม การเปลี่ยนแปลง - มุ่งเน้นความสาคัญของ พฤติกรรมทีเ่ กิดขึ้น สิ่งแวดล้อม - มุงให้ผู้เรียนสามารถจดจาความรู้ ่ ให้ได้มากที่สุด - มุงเน้นการพัฒนาพฤติกรรมที่ ่ สนองต่อสิ่งเร้าเพียงอย่างเดียว พุทธิปัญญานิยม - การเปลี่ยนแปลงของ - มุงเน้นกระบวนการทางปัญญา ่ ความรู้ที่ถูกเก็บไว้ใน คือ กระบวนการรู้คด ิ หน่วยความจาระยะ - มุงเน้นบทบาทของการใช้ ่ ยาว หน่วยความจา
  • 15. รูปแบบ การเรียนรู้ การออกแบบการสอน คอนสตรัคติวิสต์ - การเปลี่ยนแปลงอย่าง - มุงเน้นให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับ ่ มีความหมายกับความรู้ที่ เนื้อหา สื่อ ตลอดจนแหล่งเรียนรู้ สร้างขึ้น โดยผู้เรียนสร้าง รอบตัว ความรู้ดวยตนเองผ่าน ้ การแก้ปัญหา
  • 16. ปัญหาที่ 3 ให้วิเคราะห์ และวิพากษ์จุดเด่นและจุด ด้อยของการออกแบบการ สอนที่มีพนฐานจาก ื้ ทฤษฎีการเรียนรู้กลุม ่ พฤติกรรมนิยม พุทธิ ปัญญานิยมและคอน สตรัคติวิสต์ คาตอบ
  • 17. รูปแบบ จุดด้อย จุดเด่น พฤติกรรมนิยม - จาได้ระยะสั้น - รวดเร็ว เช่น ติวก่อน สอบ - ต้องมีพื้นฐานทีแน่น ่ - ประหยัดเวลา - ผู้เรียนรอรับสาร -ได้ครบเนือหา ้ - ไม่เกิดกระบวนการคิด พุทธิปัญญานิยม - ผู้เรียนต้องมีความจา - ข้อมูลมีระเบียบ ระยะยาว - เรียกมาใช้ได้ - ผู้เรียนรอรับสาร - ปริมาณมาก - ไม่เกิดกระบวนการคิด - เกิดความเข้าใจ
  • 18. รูปแบบ จุดด้อย จุดเด่น คอนสตรัคติวิสต์ - ต้องมีประสบการณ์เดิม - พัฒนากระบวนการคิด ที่ดีพอ - เกิดความจาระยะยาว - ช้า - แก้ปัญหาเองได้ - เรียนรูเ้ องได้ - เกิดปฏิสัมพันธ์
  • 19. ปัญหาข้อที่ 4 จากสิ่งที่กาหนดต่อไปนี้ให้ท่านจาแนก ประเภทตามลักษณะการออกแบบโดยระบุเกณฑ์และ เหตุผลที่ใช้ในการจาแนกด้วย ชุดการสอน ชุดสร้างความรู้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนวคอน สตรัคติวิสต์ บทเรียนโปรแกรม เว็บเพื่อการสอน สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย การเรียนแบบ ร่วมมือกันเรียนรู้ คาตอบ
  • 20. จากสิ่งที่กาหนดต่อไปนี้ให้ท่านจาแนกประเภท ตาม ลักษณะการออกแบบโดยระบุเกณฑ์และเหตุผล ที่ ใช้ในการจาแนกด้วย ชุดการสอน ชุดสร้าง ความรู้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มัลติมีเดียที่พัฒนาตาม แนว คอนสตรัคติวิสต์ บทเรียนโปรแกรม เว็บเพื่อการ สอน สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย การเรียน แบบร่วมมือกันเรียนรู้
  • 21. สื่อการสอน เหตุผล - ชุดการสอน - เป็นการจัดเนื้อหาสาหรับการสอนให้แก่ ผู้เรียน - คอมพิวเตอร์ชวยสอน ่ - เป็นการใช้สื่อ คือคอมพิวเตอร์ ในการ นาเสนอเนื้อหา - บทเรียนโปรแกรม -เป็นโปรแกรมที่นาเสนอเนื้อหา
  • 22. สื่อการเรียนรู้ เหตุผล - ชุดการเรียนรู้ - เป็นสื่อที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ดวยตนเอง ้ - มัลติมเี ดียที่พัฒนาตามแนว คอนสตรัค - ตามทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ คือให้ ติวิสต์ ผู้เรียนสร้างความรู้เอง - บทเรียนโปรแกรม - ให้ผู้เรียนได้มีส่วนร่วมในการเรียนรู้ใน โปรแกรม - เว็บเพื่อการสอนสิ่งแวดล้อมทางการ -ผู้เรียนได้เข้าไปเรียนรู้และสามารถแสดง เรียนรู้บนเครือข่าย ความคิดเห็นได้ - การเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้ -ผู้เรียนได้รวมกลุ่มกันปฏิบัติงาน