SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
รายวิชา 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
563050086-6 
563050106-6 
563050120-2 
563050124-4
หลังจากที่ใช้วิธีการสอนที่เน้นให้นักเรียนจดจาความรู้ของครูเป็นหลัก ครูสมศรี 
จึงเปลี่ยนวิธีการสอนใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี 
สารสนเทศในปัจจุบัน โดยนาสื่อเข้ามาใช้ในการเรียนการสอนโดยครูสมศรีได้สร้างสื่อ 
ขึน้มาตามแนวความคิด และประสบการณ์ของตนเอง เช่น ในสื่ออยากให้มีข้อความรู้ก็ 
นาเนือ้หามาบรรจุ อยากให้มีรูปภาพประกอบก็นารูปภาพมาบรรจุในสื่อแทนการบอก 
จากครู และเพิ่มเทคนิคทางกราฟิกต่างๆ เข้าไป เพื่อให้เกิดความสวยงามตรงตาม 
แนวคิดของตนและส่งเสริมการสอนของตนเองให้มีประสิทธิภาพมากขึน้แต่พอใช้ไปได้ 
ระยะหนึ่งพบว่าในช่วงแรกๆ ผู้เรียนให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะมีกราฟิกที่ดึงดูด 
ความสนใจแต่พอหลังจากนัน้ไปสักระยะผู้เรียนก็ไม่ให้ความสนใจกับสื่อที่ครูสมศรีสร้าง 
ขึน้ทัง้ผลการเรียนและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการสอน 
แบบเดิมที่เคยใช้ก็ไม่แตกต่างกัน จึงทาให้ครูสมศรีกลับมาทบทวนใหม่ว่าทาไมจึงเป็น 
เช่นนีใ้นฐานะที่นักศึกษาเป็นครูนักเทคโนโลยีทางการศึกษาจะมีวิธีการช่วยเหลือครู 
สมศรีอย่างไร
1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทา ให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ 
ที่ต้องการให้เกิดขึ้นพร้อมอธิบายเหตุผล 
2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนวา่ 
มาจากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าวมีความสัมพันธ์กันอย่างไร 
3. วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ 
ของการจัดการศึกษาในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พื้นฐาน 
ของสงิ่ใดบ้างอธิบายพร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
จากการเรียนการสอนแบบเดิมของครูสมศรี คือการที่ครูสอนไป 
เรื่อยๆ โดยที่ให้ตนเองเป็นผู้อธิบาย บรรยายเนื้อหา แต่เพียงฝ่ายเดียว และให้ 
นักเรียนจดจา เนื้อหาที่สอน ซึ่งความรู้ที่นักเรียนได้รับ กลับมีอยู่ได้ไม่นาน 
นักเรียนก็ลืมเนื้อหาที่ได้เรียนไป ครูสมศรีจึงปรับเปลี่ยนวิธีการสอน โดยการนา 
สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาช่วยในการสอน ซึ่งเพมิ่ความสนใจในการเรียนของ 
นักเรียนมากยงิ่ขึ้น แต่ถึงกระนั้น พอใช้สื่อได้ไม่นาน นักเรียนก็เกิดเบื่อและ 
กลับมาในวังวนเดิม คือ ลืมเนื้อหาที่เรียนไปอีกเช่นเดียวกัน
จะเห็นว่า แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนของครูสมศรี จะไปตรง 
กับมุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กล่มุพฤติกรรมนิยม ซึ่งครูสมศรีอาจจะไม่รู้ก็ 
ได้ว่าแนวคิดในการสอนของตน จะไปตรงกับมุมมองจิตวิทยาข้อนี้ 
จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม กล่าวโดยสรุปคือ เป็นการมี 
สงิ่เร้า และเกิดพฤติกรรมการตอบสนองเป็นการเรียนรู้ ครูสมศรีนาสื่อมาใช้ 
เป็นสงิ่เร้า มุ่งเน้นให้นักเรียนสามารถจดจา ความรู้ให้ได้ในปริมาณมากที่สุด 
งานของครูผู้สอนจะเป็นผู้นาเสนอข้อมูล บทบาทของนักเรียนเป็นผู้รับข้อมูล 
ตอบสนองการเรียนโดยที่นักเรียนมีความกระตือรือร้น ให้ความสนใจในการ 
เรียนมากยงิ่ขึ้น แต่เมื่อผ่านไประยะหนึ่ง การใช้สื่อเดิม วิธีการเดิมซ้า ๆ 
แน่นอนว่า พฤติกรรมที่ตอบสนองแบบเดิมจะหายไป เนื่องด้วยความเคยชิน 
จากวิธีการเรียนเก่าๆ ซึ่งก็เหมือนกับว่า ครูสมศรีสอนในแบบเดิม เพียงแค่มีสื่อ 
เพมิ่เข้ามาในการเรียนการสอนเท่านั้น แต่แก่นหลักก็ยังคงเป็นการอธิบาย 
ถ่ายทอดความรู้ให้นักเรียนแต่ฝ่า 
ยเดียวเหมือนเดิม การเรียนเช่นนี้ จึงไม่ได้ 
ผลดีตามที่ครูสมศรีต้องการ
เป้าหมายของ 
การเรียนการสอน 
ลักษณะ 
ของผู้เรียน 
ปัจจัยพื้นฐานของการ 
ออกแบบสื่อการสอน 
ลักษณะแวดล้อม 
ของการผลิตสื่อ 
ลักษณะของสื่อ
เป็นสงิ่ที่กา หนดพฤติกรรมขัน้สุดท้ายของผู้เรียนว่าจะมีลักษณะเช่นไร 
โดยทัว่ไปนิยมกา หนดพฤติกรรมที่เป็นเป้าหมายของการเรียนการสอนไว้เป็น 
3 ลักษณะ 
1. พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) เป็นพฤติกรรมที่แสดง 
ว่าได้เกิดปัญ 
ญาความรู้ในเนื้อหาวิชานั้น ๆ แล้ว สามารถที่จะบอก อธิบาย 
วิเคราะห์ สังเคราะห์ หรือแก้ปัญ 
หาเกี่ยวกับเนื้อหาความรู้นั้นได้ 
2. พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) เป็นพฤติกรรม 
ด้านทักษะของร่างกายในการเคลื่อนไหว ลงมือทา งาน หรือความว่องไว 
ในการแก้ปัญหา 
3. พฤติกรรมด้านจิตพิสัย (Affective Domain) เป็นพฤติกรรมที่แสดงถึง 
ความรู้สึกด้านอารมณ์ที่มีต่อสงิ่ที่เรียนรู้และสภาพแวดล้อม
ความเหมาะสมกับวัย ความสนใจ ระดับชัน้ ความรู้ ทักษะ พื้นฐาน 
และประสบการณ์ของผู้เรียนเนื้อหาและรายละเอียดของสื่อชนิดหนึ่งๆ 
ย่อมแปรตามอายุ และความรู้พื้นฐานของผู้เรียน แต่โดยสภาพความเป็นจริงแล้ว 
ผู้เรียนแต่ละคนย่อมมีความแตกต่างกัน หากจะนามาเป็นเกณฑ์ในการพิจารณา 
สื่อย่อมทา ไม่ได้ ในทางปฏิบัติจึงใช้ลักษณะของผู้เรียนในกลุ่มหลัก เป็นพื้นฐาน 
ของการพิจารณาสื่อก่อน หากจา เป็นจึงค่อยพิจารณาสื่อเฉพาะสา หรับผู้เรียนใน 
กลุ่มพิเศษต่อไป 
วัยอนุบาล วัยประถม วัยมัธยม ระดับอุดมศึกษา
ได้แก่ลักษณะกิจกรรมการเรียน ซึ่งครูอาจจัดได้หลายรูปแบบ เช่น 
- การสอนกลุ่มใหญ่ ในลักษณะของการบรรยายการสาธิต 
- การสอนกลุ่มเล็ก 
- การสอนเป็นรายบุคคล 
กิจกรรมการเรียนการสอนแต่ละลักษณะย่อมต้องการสื่อต่าง ประเภท 
ต่างขนาด เช่น สื่อประเภทสไลด์ ภาพยนตร์มีความเหมาะสมกับการเรียนใน 
ลักษณะกล่มุใหญ่ วีดีโอ ภาพขนาดกลาง เหมาะกับการสอนกลุ่มเล็ก ส่วนสื่อ 
สา หรับรายบุคคลจะต้องในลักษณะเฉพาะตัวที่จะเปิดโอกาสให้เด็กได้ เรียนรู้ 
และวัดผลด้วยตนเอง
ในการออกแบบและผลิตสื่อ ลักษณะเฉพาะของสื่อต่าง ๆ การออกแบบ 
ให้การนาไปใช้ สามารถเร้าความสนใจ ให้ความหมาย และมีผลต่อประสบการณ์ 
การเรียนรู้แก่ผู้เรียนซึ่งสื่อแต่ละชนิดมีความเหมาะสมกับผู้เรียนบางระดับ หรือ 
เหมาะกับจา นวนผู้เรียนที่แตกต่างกัน ซึ่งสื่อที่ดีนั้น ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้ 
1. เร้าความสนใจ 
2. บอกวัตถุประสงค์ 
3. ทวนความรู้เดิม 
4. การเสนอเนื้อหา 
5. ชี้แนวทางการเรียนรู้ 
6. กระตุ้นการตอบสนอง 
7. ทดสอบความรู้ 
8. การจาและนาไปใช้
ผู้สอนจะต้องคิดวิธีการที่จะนาเสนอ หรือถ่ายทอดความรู้ผ่านการ 
สอนโดยใช้สื่อ ซึ่งการออกแบบวิธีการสอนแต่ละครัง้ ต้องอาศัยองค์ประกอบ 
หลายๆด้าน ทัง้ตัวสื่อ สภาพความพร้อมของผู้เรียน วุฒิภาวะของผู้เรียน 
ความพร้อมของห้องเรียนหรือสถานที่ในการทา การเรียนการสอน ที่สา คัญ 
ผู้สอนจะต้องเข้าใจถึงวิธีการที่ก่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ ซึ่งในบทเรียนนี้ 
นาเสนอมุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้ทัง้ 3 ด้าน คือ 
1. มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม 
2. มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม 
3. มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กล่มุคอนสตรัคติวิสต์ 
ซึ่งการเลือกใช้วิธีการสอนแบบใด ก็ขึ้นอยู่กับสถานการณ์หรือความ 
เหมาะสมในเวลานั้น
จากการที่นาเสนอไปในข้อที่ 2 ซึ่งกล่าวถึงปัจ 
จัยและพื้นฐานของการ 
ออกแบบสื่อและการสอน เราจะต้องผนวกและบูรณาการพื้นฐานนั้นเข้ากับแนวคิด 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน โดยในยุคปัจ 
จุบัน การจัดการสอนและ 
ใช้สื่อควรใช้ควบคู่กับแนวคิดจิตวิทยาการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ซึ่งเชื่อ 
ว่า เป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด แต่บางครัง้ การเรียน 
การสอนก็ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ความเหมาะสม ลักษณะของสื่อ ลักษณะของ 
ผู้เรียน และเป้าหมายของการเรียนการสอน ว่าควรใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบใด 
เราจึงจา เป็นต้องศึกษาแนวทางการเกิดกระบวนการเรียนรู้ทัง้ 3 ด้าน ซึ่งต่างก็มี 
ข้อดีข้อเสียแตกต่างกันไป
ตัวอย่างเช่น ในการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ รูปแบบ 
การสอนก็ควรจะใช้แนวการเรียนรู้ตามกล่มุคอนสตรัคติวิสต์ที่เน้นผู้เรียนเป็น 
ศูนย์กลางให้เกิดการคิด เกิดความเข้าใจ เกิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และการ 
สรุปองค์ความรู้ด้วยตัวเอง แทนที่จะรับข้อมูลความรู้จากครูทีเดียว 
หรือวิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษ วิชาสังคมที่คุณครูสมศรีสอน ก็อาจจะ 
ใช้แนวการเรียนรู้ตามกลุ่มพุทธินิยม อธิบายสร้างความเข้าใจให้นักเรียนเป็น 
ลา ดับ ใช้สื่อเป็นองค์ประกอบช่วยให้นักเรียนมีแนวทางในการจดจา หรือ 
ลา ดับองค์ความรู้ของตนเอง 
สงิ่เหล่านี้เป็นเพียงการยกตัวอย่าง ในการเรียนการสอนจริง ไม่ 
จา เป็นว่าวิชาคณิตศาสตร์หรือวิชาสายคา นวณจะต้องใช้ทฤษฎีคอนสตรัคติ 
วิสต์เสมอไป หรือวิชาพวกความจา เช่นสังคมศึกษา หรือภาษาต่างๆ อาจ 
ไม่ได้ใช้แค่ทฤษฎีพุทธินิยม คนเป็นครูจะต้องสามารถเลือกใช้วิธีการสร้าง 
ความรู้ให้นักเรียนได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ได้ ซึ่งเชื่อว่าจะส่งผลให้ 
ประสิทธิภาพในการสอนแต่ละวิชา ดีขึ้นกว่าที่เป็นอยู่
นวัตกรรม Chapter 3

More Related Content

What's hot

วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาวิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาSasitorn Seajew
 
บทที่๓
บทที่๓บทที่๓
บทที่๓snxnuux
 
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3pompompam
 
Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4Kittipun Udomseth
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีPennapa Kumpang
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาB'nust Thaporn
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาAlice Misty
 
Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Kittipun Udomseth
 
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้Aon Onuma
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาpohn
 

What's hot (15)

Chapter 3
Chapter 3 Chapter 3
Chapter 3
 
Chapter 3
Chapter   3Chapter   3
Chapter 3
 
No3
No3No3
No3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาวิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
บทที่๓
บทที่๓บทที่๓
บทที่๓
 
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
 
Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4Media&tech2learn 004 - Part 4
Media&tech2learn 004 - Part 4
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
Chap.3
Chap.3Chap.3
Chap.3
 
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยา ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3Media&tech2learn 003 - Part 3
Media&tech2learn 003 - Part 3
 
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 

Similar to นวัตกรรม Chapter 3

Sattakamon a4 group
Sattakamon a4 groupSattakamon a4 group
Sattakamon a4 groupSattakamon
 
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3Ann Pawinee
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาsinarack
 
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4Pui Chanisa Itkeat
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4Bee Bie
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Chaya Kunnock
 
Lasson3 drta1
Lasson3 drta1 Lasson3 drta1
Lasson3 drta1 Ptato Ok
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาJune Nitipan
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04Bunsasi
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3beta_t
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3FerNews
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาAomJi Math-ed
 

Similar to นวัตกรรม Chapter 3 (20)

จืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษาจืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษา
 
Sattakamon a4 group
Sattakamon a4 groupSattakamon a4 group
Sattakamon a4 group
 
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
 
Chap.3
Chap.3Chap.3
Chap.3
 
Chapter4
Chapter4Chapter4
Chapter4
 
งานบทที่ 3
งานบทที่ 3งานบทที่ 3
งานบทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
นวัตกรรม Chapter 1
นวัตกรรม Chapter 1นวัตกรรม Chapter 1
นวัตกรรม Chapter 1
 
Lasson3 drta1
Lasson3 drta1 Lasson3 drta1
Lasson3 drta1
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chapter 04
Chapter 04Chapter 04
Chapter 04
 
Inno
InnoInno
Inno
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 

นวัตกรรม Chapter 3

  • 3. หลังจากที่ใช้วิธีการสอนที่เน้นให้นักเรียนจดจาความรู้ของครูเป็นหลัก ครูสมศรี จึงเปลี่ยนวิธีการสอนใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี สารสนเทศในปัจจุบัน โดยนาสื่อเข้ามาใช้ในการเรียนการสอนโดยครูสมศรีได้สร้างสื่อ ขึน้มาตามแนวความคิด และประสบการณ์ของตนเอง เช่น ในสื่ออยากให้มีข้อความรู้ก็ นาเนือ้หามาบรรจุ อยากให้มีรูปภาพประกอบก็นารูปภาพมาบรรจุในสื่อแทนการบอก จากครู และเพิ่มเทคนิคทางกราฟิกต่างๆ เข้าไป เพื่อให้เกิดความสวยงามตรงตาม แนวคิดของตนและส่งเสริมการสอนของตนเองให้มีประสิทธิภาพมากขึน้แต่พอใช้ไปได้ ระยะหนึ่งพบว่าในช่วงแรกๆ ผู้เรียนให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะมีกราฟิกที่ดึงดูด ความสนใจแต่พอหลังจากนัน้ไปสักระยะผู้เรียนก็ไม่ให้ความสนใจกับสื่อที่ครูสมศรีสร้าง ขึน้ทัง้ผลการเรียนและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการสอน แบบเดิมที่เคยใช้ก็ไม่แตกต่างกัน จึงทาให้ครูสมศรีกลับมาทบทวนใหม่ว่าทาไมจึงเป็น เช่นนีใ้นฐานะที่นักศึกษาเป็นครูนักเทคโนโลยีทางการศึกษาจะมีวิธีการช่วยเหลือครู สมศรีอย่างไร
  • 4. 1. วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทา ให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ ที่ต้องการให้เกิดขึ้นพร้อมอธิบายเหตุผล 2. วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนวา่ มาจากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าวมีความสัมพันธ์กันอย่างไร 3. วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ ของการจัดการศึกษาในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พื้นฐาน ของสงิ่ใดบ้างอธิบายพร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
  • 5. จากการเรียนการสอนแบบเดิมของครูสมศรี คือการที่ครูสอนไป เรื่อยๆ โดยที่ให้ตนเองเป็นผู้อธิบาย บรรยายเนื้อหา แต่เพียงฝ่ายเดียว และให้ นักเรียนจดจา เนื้อหาที่สอน ซึ่งความรู้ที่นักเรียนได้รับ กลับมีอยู่ได้ไม่นาน นักเรียนก็ลืมเนื้อหาที่ได้เรียนไป ครูสมศรีจึงปรับเปลี่ยนวิธีการสอน โดยการนา สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาช่วยในการสอน ซึ่งเพมิ่ความสนใจในการเรียนของ นักเรียนมากยงิ่ขึ้น แต่ถึงกระนั้น พอใช้สื่อได้ไม่นาน นักเรียนก็เกิดเบื่อและ กลับมาในวังวนเดิม คือ ลืมเนื้อหาที่เรียนไปอีกเช่นเดียวกัน
  • 6. จะเห็นว่า แนวคิดในการจัดการเรียนการสอนของครูสมศรี จะไปตรง กับมุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กล่มุพฤติกรรมนิยม ซึ่งครูสมศรีอาจจะไม่รู้ก็ ได้ว่าแนวคิดในการสอนของตน จะไปตรงกับมุมมองจิตวิทยาข้อนี้ จิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม กล่าวโดยสรุปคือ เป็นการมี สงิ่เร้า และเกิดพฤติกรรมการตอบสนองเป็นการเรียนรู้ ครูสมศรีนาสื่อมาใช้ เป็นสงิ่เร้า มุ่งเน้นให้นักเรียนสามารถจดจา ความรู้ให้ได้ในปริมาณมากที่สุด งานของครูผู้สอนจะเป็นผู้นาเสนอข้อมูล บทบาทของนักเรียนเป็นผู้รับข้อมูล ตอบสนองการเรียนโดยที่นักเรียนมีความกระตือรือร้น ให้ความสนใจในการ เรียนมากยงิ่ขึ้น แต่เมื่อผ่านไประยะหนึ่ง การใช้สื่อเดิม วิธีการเดิมซ้า ๆ แน่นอนว่า พฤติกรรมที่ตอบสนองแบบเดิมจะหายไป เนื่องด้วยความเคยชิน จากวิธีการเรียนเก่าๆ ซึ่งก็เหมือนกับว่า ครูสมศรีสอนในแบบเดิม เพียงแค่มีสื่อ เพมิ่เข้ามาในการเรียนการสอนเท่านั้น แต่แก่นหลักก็ยังคงเป็นการอธิบาย ถ่ายทอดความรู้ให้นักเรียนแต่ฝ่า ยเดียวเหมือนเดิม การเรียนเช่นนี้ จึงไม่ได้ ผลดีตามที่ครูสมศรีต้องการ
  • 7. เป้าหมายของ การเรียนการสอน ลักษณะ ของผู้เรียน ปัจจัยพื้นฐานของการ ออกแบบสื่อการสอน ลักษณะแวดล้อม ของการผลิตสื่อ ลักษณะของสื่อ
  • 8. เป็นสงิ่ที่กา หนดพฤติกรรมขัน้สุดท้ายของผู้เรียนว่าจะมีลักษณะเช่นไร โดยทัว่ไปนิยมกา หนดพฤติกรรมที่เป็นเป้าหมายของการเรียนการสอนไว้เป็น 3 ลักษณะ 1. พฤติกรรมด้านพุทธิพิสัย (Cognitive Domain) เป็นพฤติกรรมที่แสดง ว่าได้เกิดปัญ ญาความรู้ในเนื้อหาวิชานั้น ๆ แล้ว สามารถที่จะบอก อธิบาย วิเคราะห์ สังเคราะห์ หรือแก้ปัญ หาเกี่ยวกับเนื้อหาความรู้นั้นได้ 2. พฤติกรรมด้านทักษะพิสัย (Psychomotor Domain) เป็นพฤติกรรม ด้านทักษะของร่างกายในการเคลื่อนไหว ลงมือทา งาน หรือความว่องไว ในการแก้ปัญหา 3. พฤติกรรมด้านจิตพิสัย (Affective Domain) เป็นพฤติกรรมที่แสดงถึง ความรู้สึกด้านอารมณ์ที่มีต่อสงิ่ที่เรียนรู้และสภาพแวดล้อม
  • 9. ความเหมาะสมกับวัย ความสนใจ ระดับชัน้ ความรู้ ทักษะ พื้นฐาน และประสบการณ์ของผู้เรียนเนื้อหาและรายละเอียดของสื่อชนิดหนึ่งๆ ย่อมแปรตามอายุ และความรู้พื้นฐานของผู้เรียน แต่โดยสภาพความเป็นจริงแล้ว ผู้เรียนแต่ละคนย่อมมีความแตกต่างกัน หากจะนามาเป็นเกณฑ์ในการพิจารณา สื่อย่อมทา ไม่ได้ ในทางปฏิบัติจึงใช้ลักษณะของผู้เรียนในกลุ่มหลัก เป็นพื้นฐาน ของการพิจารณาสื่อก่อน หากจา เป็นจึงค่อยพิจารณาสื่อเฉพาะสา หรับผู้เรียนใน กลุ่มพิเศษต่อไป วัยอนุบาล วัยประถม วัยมัธยม ระดับอุดมศึกษา
  • 10. ได้แก่ลักษณะกิจกรรมการเรียน ซึ่งครูอาจจัดได้หลายรูปแบบ เช่น - การสอนกลุ่มใหญ่ ในลักษณะของการบรรยายการสาธิต - การสอนกลุ่มเล็ก - การสอนเป็นรายบุคคล กิจกรรมการเรียนการสอนแต่ละลักษณะย่อมต้องการสื่อต่าง ประเภท ต่างขนาด เช่น สื่อประเภทสไลด์ ภาพยนตร์มีความเหมาะสมกับการเรียนใน ลักษณะกล่มุใหญ่ วีดีโอ ภาพขนาดกลาง เหมาะกับการสอนกลุ่มเล็ก ส่วนสื่อ สา หรับรายบุคคลจะต้องในลักษณะเฉพาะตัวที่จะเปิดโอกาสให้เด็กได้ เรียนรู้ และวัดผลด้วยตนเอง
  • 11. ในการออกแบบและผลิตสื่อ ลักษณะเฉพาะของสื่อต่าง ๆ การออกแบบ ให้การนาไปใช้ สามารถเร้าความสนใจ ให้ความหมาย และมีผลต่อประสบการณ์ การเรียนรู้แก่ผู้เรียนซึ่งสื่อแต่ละชนิดมีความเหมาะสมกับผู้เรียนบางระดับ หรือ เหมาะกับจา นวนผู้เรียนที่แตกต่างกัน ซึ่งสื่อที่ดีนั้น ควรมีลักษณะดังต่อไปนี้ 1. เร้าความสนใจ 2. บอกวัตถุประสงค์ 3. ทวนความรู้เดิม 4. การเสนอเนื้อหา 5. ชี้แนวทางการเรียนรู้ 6. กระตุ้นการตอบสนอง 7. ทดสอบความรู้ 8. การจาและนาไปใช้
  • 12. ผู้สอนจะต้องคิดวิธีการที่จะนาเสนอ หรือถ่ายทอดความรู้ผ่านการ สอนโดยใช้สื่อ ซึ่งการออกแบบวิธีการสอนแต่ละครัง้ ต้องอาศัยองค์ประกอบ หลายๆด้าน ทัง้ตัวสื่อ สภาพความพร้อมของผู้เรียน วุฒิภาวะของผู้เรียน ความพร้อมของห้องเรียนหรือสถานที่ในการทา การเรียนการสอน ที่สา คัญ ผู้สอนจะต้องเข้าใจถึงวิธีการที่ก่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ ซึ่งในบทเรียนนี้ นาเสนอมุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้ทัง้ 3 ด้าน คือ 1. มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม 2. มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กลุ่มพุทธินิยม 3. มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กล่มุคอนสตรัคติวิสต์ ซึ่งการเลือกใช้วิธีการสอนแบบใด ก็ขึ้นอยู่กับสถานการณ์หรือความ เหมาะสมในเวลานั้น
  • 13. จากการที่นาเสนอไปในข้อที่ 2 ซึ่งกล่าวถึงปัจ จัยและพื้นฐานของการ ออกแบบสื่อและการสอน เราจะต้องผนวกและบูรณาการพื้นฐานนั้นเข้ากับแนวคิด มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้ทั้ง 3 ด้าน โดยในยุคปัจ จุบัน การจัดการสอนและ ใช้สื่อควรใช้ควบคู่กับแนวคิดจิตวิทยาการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ ซึ่งเชื่อ ว่า เป็นแนวทางการจัดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด แต่บางครัง้ การเรียน การสอนก็ขึ้นอยู่กับสถานการณ์ ความเหมาะสม ลักษณะของสื่อ ลักษณะของ ผู้เรียน และเป้าหมายของการเรียนการสอน ว่าควรใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบใด เราจึงจา เป็นต้องศึกษาแนวทางการเกิดกระบวนการเรียนรู้ทัง้ 3 ด้าน ซึ่งต่างก็มี ข้อดีข้อเสียแตกต่างกันไป
  • 14. ตัวอย่างเช่น ในการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์ รูปแบบ การสอนก็ควรจะใช้แนวการเรียนรู้ตามกล่มุคอนสตรัคติวิสต์ที่เน้นผู้เรียนเป็น ศูนย์กลางให้เกิดการคิด เกิดความเข้าใจ เกิดวิเคราะห์ สังเคราะห์และการ สรุปองค์ความรู้ด้วยตัวเอง แทนที่จะรับข้อมูลความรู้จากครูทีเดียว หรือวิชาภาษาไทย วิชาภาษาอังกฤษ วิชาสังคมที่คุณครูสมศรีสอน ก็อาจจะ ใช้แนวการเรียนรู้ตามกลุ่มพุทธินิยม อธิบายสร้างความเข้าใจให้นักเรียนเป็น ลา ดับ ใช้สื่อเป็นองค์ประกอบช่วยให้นักเรียนมีแนวทางในการจดจา หรือ ลา ดับองค์ความรู้ของตนเอง สงิ่เหล่านี้เป็นเพียงการยกตัวอย่าง ในการเรียนการสอนจริง ไม่ จา เป็นว่าวิชาคณิตศาสตร์หรือวิชาสายคา นวณจะต้องใช้ทฤษฎีคอนสตรัคติ วิสต์เสมอไป หรือวิชาพวกความจา เช่นสังคมศึกษา หรือภาษาต่างๆ อาจ ไม่ได้ใช้แค่ทฤษฎีพุทธินิยม คนเป็นครูจะต้องสามารถเลือกใช้วิธีการสร้าง ความรู้ให้นักเรียนได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์ได้ ซึ่งเชื่อว่าจะส่งผลให้ ประสิทธิภาพในการสอนแต่ละวิชา ดีขึ้นกว่าที่เป็นอยู่