SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
มุมมองทางจิตวิทยา
ที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี
และการสื่อสาร
สถานการณ์ปัญหา(Problem-based learning)
หลังจากที่ใช้วิธีการสอนที่เน้นให้นักเรียนจดจาความรู้ของครูเป็นหลัก ครูสมศรีจึงเปลี่ยน
วิธีการสอนใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีสารสนเทศใน
ปัจจุบัน โดยนาสื่อเข้ามาใช้ในการเรียนการสอน โดยครูสมศรีได้สร้างสื่อขึ้นมาตาม
แนวความคิด และประสบการณ์ของตนเอง เช่น ในสื่ออยากให้มีข้อความรู้ก็นาเนื้อหามา
บรรจุ อยากให้มีรูปภาพประกอบก็นารูปภาพมาบรรจุในสื่อ แทนการบอกจากครู และเพิ่ม
เทคนิคทางกราฟิกต่างๆ เข้าไป เพื่อให้เกิดความสวยงามตรงตามแนวคิดของตน และ
ส่งเสริมการสอนของตนเองให้มีระสิทธิภาพมากขึ้น แต่พอใช้ไปได้ระยะหนึ่งพบว่า ในช่วง
แรกๆ ผู้เรียนให้ความสนใจเป็นอย่างมาก เพราะมีกราฟิกที่ดึงดูดความสนใจ แต่พอ
หลังจากนั้นไปสักระยะผู้เรียนก็ไม่ให้ความสนใจกับสื่อที่ครูสมศรีสร้างขึ้น ทั้งผลการเรียน
และกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียนเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีการสอนแบบเดิมที่เคยใช้ก็ไม่
แตกต่างกัน จึงทาให้ครูสมศรีกลับมาทบทวนใหม่ว่าทาไมจึงเป็นเช่นนี้ในฐานะที่
นักศึกษาเป็นครูนักเทคโนโลยีทางการศึกษา จะมีวิธีการช่วยเหลือครูสมศรีอย่างไร
ภารกิจที่ 1
วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทาให้การเรียนรู้
จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตาม
เป้ าประสงค์ที่ต้องการให้เกิดขึ้น
พร้อมอธิบายเหตุผล
เน้นการจดจา
ความรู้เป็ นหลัก
ใช้สื่อในการ
เรียนการสอน
สร้างสื่อขึ้นมาตามแนวความคิดและประสบการณ์ของตนเอง
ในสื่ออยาก
ให ้มีข ้อความรู้
ก็นามาบรรจุ
อยากให ้มี
ภาพประกอบ
ก็นารูปภาพ
มาบรรจุในสื่อ
แทนการบอก
จากครู
เพิ่มเทคนิคทาง
กราฟฟิคต่างๆ
เข ้าไปเพื่อให ้เกิด
ความสวยงาม
ตามแนวคิดของ
ตน
ส่งเสริมการ
สอนของ
ตนเองให ้มี
ประสิทธิภาพ
มากขึ้น
วิธีการสอนใหม่ของครูสมศรี
ผลของวิธีการสอนแบบใหม่ของครูสมศรี
ช่วงแรก
ผู้เรียนให้ความ
สนใจเป็ นอย่าง
มาก
ช่วงหลัง
ผู้เรียนไม่ให้ความสนใจกับสื่อที่ครู
สมศรีสร้างขึ้น ทั้งผลการเรียน และ
กระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน เมื่อ
เปรียบเทียบ กับวิธีการสอนแบบเดิมที่
ไม่เคยใช้สื่อก็ไม่แตกต่างกัน
วิธีการสอนของครูสมศรี
แนวคิดพฤติกรรมนิยม
เป็ นตาม
สาเหตุที่วิธีการสอนแบบใหม่
ของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้ าประสงค์
แนวคิดพฤติกรรมนิยม
เทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทบาทของครู
บทบาทของผู้เรียน
เป็ นผู้นาเสนอข้อมูลสารสนเทศ
เป็ นผู้บริหาร
จัดการ
ความรู้ที่จะให้
ผู้เรียน
เป็ นผู้รอรับความรู้และ
ข้อมูลสารสนเทศ
เป็ นการออกแบบ
การสอนในช่วงเริ่มแรก
มุ่งเน้นการออกแบบเพื่อให้ผู้เรียน
สามารถจดจาความรู้ให้ได้ใน
ปริมาณมากที่สุด
ข้อมูลข่าวสารจะถูกถ่ายทอด
โดยตรงจากครูผู้สอนไปยังผู้เรียน
ภารกิจที่ 2
วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการ
ออกแบบการสอนและสื่อการสอนว่ามา
จากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว
มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
สร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนทาซ้าๆในการ
ตอบสนองที่ง่ายๆ ซึ่งจะได้รับผลตอบสนองกลับทันทีทันใด
ในขณะที่เรียนรู้และจะต้องจาให้ได้ในปริมาณที่มากที่สุด
- การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้างความเชื่อมโยง
ระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง
- มุ่งเน้นเฉพาะพฤติกรรมที่วัดและสังเกตได้
มุ่งเน้นการพัฒนากระบวนการทางปัญญาโดยเฉพาะ
บทบาทการใช้หน่วยความจา
- การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสามารถวางความรู้ใหม่ใน
ความจาระยะยาตามปริมาณความรู้ที่ได้รับโดยตรงจากครู
- ให้ความสาคัญกับกระบวนการภายในที่เรียกว่า การรู้คิด
ของมนุษย์
การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญานิยม
สร้างสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์
อย่างมีความหมายกับเนื้อหา สื่อ ตลอดจนแหล่งเรียนรู้
ทั้งหลายที่อยู่รอบตัวผู้เรียน
การเรียนรู้เกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเองโดย
พยายามสร้างความเข้าใจ ด้วยการสร้างสิ่งแทนความรู้
ขึ้นมา ซึ่งต้องอาศัยการเชื่อมโยงกับประสบการณ์เดิมของ
ตนเอง
การเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ภารกิจที่ 3
วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการ
เปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่
ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการ
สอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่บนพื้นฐาน
ของสิ่งใดบ้าง อธิบายพร้อมให้เหตุผลและ
ยกตัวอย่างประกอบ
ความน่าสนใจ
การออกแบบการสอน
และสื่อการสอนนั้นควร
อยู่บนพื้นฐานของ. . .
ความน่าสนใจ จะเป็นแรงจูงใจ
และเป็นสิ่งกระตุ้นให ้เด็กอยาก
เรียนรู้มากยิ่งขึ้น ถ ้าสื่อนั้นเป็นสิ่งที่
เด็กจับต ้องและเรียนรู้กับมันได ้
เด็กก็จะมีองค์ความรู้ใหม่ๆ เพิ่มขึ้น
ตัวอย่างเช่น
- บทเรียนที่มีรูปภาพประกอบ
- บล็อกไม ้รูปทรงต่างๆ
ความเหมาะสม ความถูกต้อง
ความเหมาะสม ต ้องคานึงว่าสื่อที่
จะใช ้นั้นเหมาะสมกับเนื้อหาและ
วัตถุประสงค์ของการสอนหรือไม่
เพราะถ ้าสื่อไม่มีความเหมาะสม
การเรียนการสอนก็จะเกิด
ประสิทธิผลน้อย ตัวอย่างเช่น
- ความสอดคล ้องกันของสื่อกับ
เนื้อหาในบทเรียน
ความถูกต้อง สิ่งที่ครูนาเสนอ
ต่อเด็ก จะเป็นสิ่งที่เด็กจดจาและ
เรียนรู้นาไปใช ้ในอนาคต หากสื่อ
มีความผิดพลาดในส่วนของ
เนื้อหา เด็กก็จะได ้ข ้อสรุปแบบ
ผิดๆ ตัวอย่างเช่น
- เนื้อหาในบทเรียนที่นามาใส่ใน
สื่อการสอน
ความทันสมัย ความเข้าใจ
ความทันสมัย ต ้องมีการ
ปรับเปลี่ยนทั้งในด ้านองค์
ความรู้ใหม่ๆ กระบวนการใหม่ๆ
ที่สอดคล ้องกับยุคสมัย จะทา
ให ้เด็กมีความรู้เท่าทันต่อการ
เปลี่ยนแปลงของสังคมโลก
ตัวอย่างเช่น
- เทคโนโลยีต่างๆ
ความเข้าใจ สื่อที่จะใช ้นั้นควร
ช่วยให ้เด็กเข ้าใจเนื้อหาได ้ง่าย
ขึ้น ช่วยให ้เด็กรู้จักคิดอย่างมี
เหตุผลและให ้ข ้อมูลที่ถูกต ้อง
แก่เด็ก ให ้เด็กสามารถค ้นคว ้า
เพิ่มเติมด ้วยตนเองได ้
ตัวอย่างเช่น
- สื่อที่ระบุแหล่งค ้นคว ้าเพิ่มเติม
1.นางสาวธัญญารัตน์ พิลาจันทร์ รหัสนักศึกษา 553050079-2
2.นางสาวพชรพร บุญพรม รหัสนักศึกษา 553050087-3
3.นางสาวสุวรรณ พวงยี่โถ รหัสนักศึกษา 553050111-2
4.นางสาวสุพัตรา ผลประสาท รหัสนักศึกษา 553050327-9
สาขาวิชาคณิตศาสตรศึกษา sec.2
รายชื่อสมาชิกกลุ่ม

More Related Content

What's hot

มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษาJitthana_ss
 
บทที่๓
บทที่๓บทที่๓
บทที่๓snxnuux
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาFern's Supakyada
 
Chapter 3: มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3:  มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาChapter 3:  มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3: มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาratiporn-hk
 
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาวิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาSasitorn Seajew
 
Chapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรมChapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรมAyumu Black
 

What's hot (12)

มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีกับสื่อการศึกษา
 
บทที่๓
บทที่๓บทที่๓
บทที่๓
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chap.3
Chap.3Chap.3
Chap.3
 
Chapter 3: มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3:  มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาChapter 3:  มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3: มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาวิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
นวัตกรรม Chapter 3
นวัตกรรม Chapter 3นวัตกรรม Chapter 3
นวัตกรรม Chapter 3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3.1
Chapter3.1Chapter3.1
Chapter3.1
 
Chapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรมChapter3 งานนวัตกรรม
Chapter3 งานนวัตกรรม
 
Chapter3(1)
Chapter3(1)Chapter3(1)
Chapter3(1)
 

Similar to Chapter 3

Sattakamon a4 group
Sattakamon a4 groupSattakamon a4 group
Sattakamon a4 groupSattakamon
 
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3Ann Pawinee
 
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4Pui Chanisa Itkeat
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและ
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและมุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและ
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและเนตร นภา
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาB'nust Thaporn
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3FerNews
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3beta_t
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาJune Nitipan
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาTurdsak Najumpa
 
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3lalidawan
 

Similar to Chapter 3 (19)

จืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษาจืตวิทยาการศึกษา
จืตวิทยาการศึกษา
 
Sattakamon a4 group
Sattakamon a4 groupSattakamon a4 group
Sattakamon a4 group
 
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
A4 h3 งานนำเสนอบทที่3
 
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช  ปะธิเก 553050078-4
คำตอบสถานการณ์ปัญหาบทที่3 นายธวัช ปะธิเก 553050078-4
 
Chap.3
Chap.3Chap.3
Chap.3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและ
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและมุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและ
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและ
 
Chapter3 (1)
Chapter3 (1)Chapter3 (1)
Chapter3 (1)
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
ภารกิจในบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
งานบทที่ 3
งานบทที่ 3งานบทที่ 3
งานบทที่ 3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาChapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
Chapter 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
งานนำเสนอนวัตกรรม chapter 3
 

Chapter 3