SlideShare a Scribd company logo
1 of 19
Download to read offline
ภารกิจที่ 1 วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้การเรียนรู้ 
จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่ 
ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
สาเหตุ นวัตกรรม ปัญหา 
ขาดสื่อที่ส่งเสริมการทำกิจกรรมและ 
ส่งเสริมการคิด การสร้างองค์ความรู้ด้วย 
ตนเอง 
สื่อไม่มีกิจกรรมกระตุ้นให้ 
นักเรียนได้มีส่วนร่วม 
วิธีการสอนไม่มีแนวคิดและ 
หลักทฤษฎีในการออกแบบ 
ผลการเรียนรู้ของนักเรียนไม่ 
เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ครูสมศรี 
ตั้งเป้าหมายไว้ 
วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา 
เทคนิคแบบเดิม ไม่พัฒนาผู้เรียนด้านพุทธิปัญญา 
การสอนที่เหมาะสม 
เลือกวิธีการสอนที่ไม่เหมาะสม ไม่พัฒนาผู้เรียนด้านทักษะพิสัย 
ขาดความหลายหลาก ทั้งสื่อและ 
ไม่พัฒนาผู้เรียนด้านจิตพิสัย 
บทบาทของครูและผู้เรียน 
นวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้ 
ที่ดีต้องเลือกให้ตรง และ 
เหมาะสม
รูปแบบเดิม 
ครู 
รูปแบบใหม่ 
ครู 
หนังสือเรียน กระดานดำวิดีทัศน์ 
นักเรียน 
สื่อการสอน ที่ประกอบด้วย 
ข้อความรู้ และภาพประกอบ 
นักเรียน
ภารกิจที่ 2 วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับ 
แแนนวคคิิดใในนกกาารออกแแบบบกกาารสอนแแลละะสสืื่่อกกาาร 
สอนว่ามาจากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐาน 
ดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
พื้นฐานในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้น ต้อง 
มาจากทฤษฎีการเรียนรู้ของมนุษย์ โดยต้องศึกษาทำความเข้าใจ 
ว่ามนุษย์เราเรียนรู้ได้อย่างไร โดยหัวใจสำคัญที่จะนำไปเป็น 
พื้นฐานในการออกแบบการสอนและสื่อ มีดังนี้ 
ทฤษฎฎีีพฤตติิกรรมนนิิยม((BBeehhaavviioorriissmm)) 
ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม(Cognitivism) 
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์(Constructivism)
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม 
(Behaviorism) 
ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม 
(Cognitivism) 
การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้าง 
ความเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง ซึ่ง 
ถ้าหากได้รับการเสริมแรงจะทำให้มีการแสดง 
พฤติกรรมนั้นถี่มากขึ้น 
ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งเร้าภายนอก 
(ส่งผ่านโดยสื่อต่างๆ) กับสิ่งเร้าภายใน คือ ความรู้ 
ความเข้าใจ ที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ขอบเขตที่ 
เกี่ยวข้องกับกระบวนการรู้การคิด (Cognitive 
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 
(Constructivism) 
Process) 
มุ่งเน้นการพัฒนากระบวนการคิดอย่าง 
อิสระและ สร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง โดยมีการ 
ออกแบบดังนี้ (1) สถานการณ์ปัญหา 
(2) แหล่งการเรียนรู้ (3) ฐานการช่วยเหลือ 
(4) การร่วมมือกันแก้ปัญหา และ(5) การโค้ช
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม 
(Behaviorism) 
โดยมีลักษณะ 
สำคัญดังนี้ 
1.ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ไปตามลำดับขั้นตอนที่กำหนดไว้ จากง่ายไปยาก โดย 
เป็นการแบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วนย่อยๆ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจำได้ง่าย 
2.จะอธิบายเพียงเฉพาะพฤติกรรมภายนอกที่แสดงออกมา
ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม 
(Cognitive) 
โดยมีลักษณะ 
สำคัญดังนี้ 
1.จัดระเบียบสารสนเทศใหม่และสร้างโครงสร้างสารสนเทศให้กับผู้ เช่นการจัดความคิดรวบยอด 
2.การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศใหม่กับความรู้เดิม 
3.ออกแบบการสอนและสื่อที่มุ่งเน้นการพัฒนากระบวนการทางปัญญามากกว่าการพัฒนา 
พฤติกรรมที่สนองต่อสิ่งเร้าอย่างเดียว
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 
(Constructivism) 
โดยมีลักษณะ 
สำคัญดังนี้ 
1.ผู้เรียนคือผู้สร้างความรู้ ลงมือกระทำการเรียนรู้ ครูเป็นนักออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้ 
ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์อย่างมีความหมายกับเนื้อหา ตลอดจนแหล่งการเรียนรู้ที่อยู่รอบตัวผู้เรียน 
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม 
ทฤษฎีคอนสตรัคตวิิสต์เเชชิิงปปััญญญาา 
(เพียเจต์) 
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม 
(Vygotsky)
แต่ละแนวคิดมีความสัมพันธ์กัน 
เป็นการเปลี่ยนแปลงจากหลักการ การเรียนรู้ และการสอน 
มาสู่ การงานแผนสำหรับจัดกิจกรรมการเรียน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อ 
พัฒนาศักยภาพของการจัดการศึกษา และส่งเสริมการเรียนรู้ แต่การ 
ออกแแบบบกกาารสอน แแลละะกกาารจจััดกกาารเเรรีียนรรูู้้จจะะปรระะสบคววาามสสํำาเเรร็็จไไดด้้นนัั้้น 
จะต้องอาศัยตัวกลางในการนำสารสนเทศไปสู่ผู้เรียน ตัวกลางดัง 
กล่าวคือ สื่อการสอน (Instructional Media)
ภารกิจที่ 3 วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการ 
เปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ของการจัด 
กกาารศศึึกษษาา ใในนกกาารออกแแบบบกกาารสอนแแลละะสสืื่่อกกาารสอนนนัั้้นควร 
อยู่พื้นฐานของสิ่งใดบ้างอธิบายพร้อมให้เหตุผลและ 
ยกตัวอย่างประกอบ
กระบวนทัศน์ใหม่ของการจัดการศึกษา 
ในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่ 
พื้นฐานของสิ่งใด 
สังคมโลกมีการ 
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม 
เปลี่ยนแปลง 
(Behaviorism) 
ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม 
(Cognitive) 
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 
(Constructivism) 
เปลี่ยนแปลง 
ต้องการให้ 
ไม่ได้ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิด สนใจการคิดแต่ไม้ได้ให้ 
ผู้เรียน สร้างองค์ความรู้เอง 
เน้นการสร้างองค์ความรู้ให้เกิด 
แก้ผู้เรียน 
ผู้เรียนสร้างเป็น 
เกิดองค์ความรู้ 
ด้วยตนเอง 
แก้ปัญหาเป็น 
ไม่ได้ส่งให้ให้นักเรียนสร้างองค์ 
ความรู้เอง 
มีการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน ลง 
มือกระทำ เพื่อแก้ปัญหา 
เน้นพฤติกรรมที่แสดงออกมา 
ไม่ได้สนใจถึงกระบวนการคิด 
เทคนิควิธีการ 
ผู้เรียนมีการสร้างความรู้อย่างตื้น 
ตัว 
ครูเป็นผู้ป้อนความรู้ นักเรียนรบ 
รับอย่างเดียว 
ครูเป็นผู้ให้คำแนะนำและ 
จัดเตรียมสิ่งแวดล้อมทางการ 
เรียนรู้ให้ผู้เรียน
ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม 
(Behaviorism) 
+ ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม 
(Cognitivism) 
+ (Constructivism) 
ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ 
วัตถุประสงค์ที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน 
ลงมือกระทำ แก้ปัญหาและหาคำตอบด้วยตนเองเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ซึ่งครูจะ 
มีบทบาทเป็นผู้ช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ทำหน้าที่จัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้ 
ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
จะสรุปได้ว่า ในปัจจุบันนี้สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีก้าวหน้าเป็นอย่าง 
มาก ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ของการจัดการศึกษาก็เปลี่ยนแปลงไปควรนำ 
หลลัักกกาารททัั้้ง 33 ทฤษฎฎีี มมาาใใชช้้เเปป็็นววิิธธีีกกาารใใหหมม่่ ครรููผผูู้้สอน นนัักออกแแบบบกกาารสอน 
จำเป็นต้องศึกษาเกี่ยวกับหลักการอย่างเข้าใจ และสามารถนำมาใช้ในการจัดการ 
เรียนรู้ของผู้เรียนได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้และสภาพบริบท 
วัฒนธรรมไทย เป้นต้น
ยกตัวอย่างประกอบ 
กาเรียนการสอนในรายวิชา วิทยาศาสตร์ 
1.มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการใช้ ICT และแก้ปัญหาร่วมกับเพื่อนๆได้ 
ดังนั้นครูผู้สอนจึงออกเเบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ ICTให้เกิดแก่ 
ผู้เรียน
ยกตัวอย่างประกอบ 
โดยมีองค์ประกอบที่อาศัยหลักทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์(Constructivism) โดยมีองค์ประกอบดังนี้ 
โดยมีองค์ประกอบของสื่อการเรียนรู้ ดังนี้ โดย 1. มีสถานการณ์ปัญหาเป็นการกระตุ้นให้นักเรียนได้ 
คิดปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นปัญหาที่นักเรียนพบจริงและมีภารกิจการเรียนรู้ให้นักเรียนได้แก้ปัญหา โดยมี 
เครื่องมือที่ช่วยให้นักเรียนได้สร้างองค์ความรู้ต่าง ๆ 2. มีธนาคารความรู้ เพื่อช่วยในการคิดและค้นหา 
เเพพืื่่อตอบภภาารกกิิจ โโดดยททํำาสสืื่่อใใหห้้เเปป็็นเเออนเเิิมชชัั่่นททีี่่นน่่าาสนใใจจ 33..มมีีเเคครรืื่่องมมืือททาางปปััญญญาาททีี่่ชช่่วยคค้้นหหาาจจาากสสืื่่อใในน 
สังคมออนไลน์ที่หลากหลาย 4.ศูนย์ส่งเสริม ICT Literacy Skill เพื่อช่วยให้นักเรียนเกิดทักษะ 5. 
ปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญ 6.เรียนรู้แบบร่วมมือกันคือนักเรียนสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกันเพื่อให้ 
เกิดทักษะและสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตัวเอง 
อ้างอิง http://www.smle-learning.com/
สมมาาชชิิกกลลุุ่่ม 
1.นางสาวปรียานันท์ อัครวงศ์ 575050027-7 
2.นางสาวจิรายุ ศักดาจารุวงศ์ 575050180-9 
3.นางสาวสุธาทิพย์ เหวขุนทด 575050194-8 
4.นางสาวสุนิจฐา พองพรหม 575050196-4 
5.นายวีรวัฒน์ สุดหา 575050191-4

More Related Content

What's hot

มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาBLue Artittaya
 
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาวิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาSasitorn Seajew
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาpohn
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาsinarack
 
นำเสนอ บทท 3
นำเสนอ บทท  3นำเสนอ บทท  3
นำเสนอ บทท 3PattrapornSakkunee
 
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้Aon Onuma
 
นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3Bell Bella
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาKedsarin
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 

What's hot (16)

มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
Learning media 4 oct 2014
Learning media 4 oct 2014Learning media 4 oct 2014
Learning media 4 oct 2014
 
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาวิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
นำเสนอ บทท 3
นำเสนอ บทท  3นำเสนอ บทท  3
นำเสนอ บทท 3
 
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
งานนำเสนอ มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3นำเสนอ Chapter3
นำเสนอ Chapter3
 
Chapter 1
Chapter 1Chapter 1
Chapter 1
 
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษาการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
การเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีการศึกษา
 
No3
No3No3
No3
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700Ch6 cognitive weapons 201700
Ch6 cognitive weapons 201700
 

Similar to มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3

ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่noiiso_M2
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาP-zhiie Chic'
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาP-zhiie Chic'
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่Ailada_oa
 
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3pompompam
 
นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3LALILA226
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Noppasorn Boonsena
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1Ailada_oa
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7josodaza
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาPennapa Kumpang
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slidesharepaewwaew
 

Similar to มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3 (20)

Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
 
นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3นวัตกรรม บทที่3
นวัตกรรม บทที่3
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
Kku5
Kku5Kku5
Kku5
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
บทที่7
บทที่7บทที่7
บทที่7
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Ppt
PptPpt
Ppt
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Slideshare
SlideshareSlideshare
Slideshare
 

More from Ptato Ok

Tools4 10-14
Tools4 10-14Tools4 10-14
Tools4 10-14Ptato Ok
 
Chapter5 part1 2
Chapter5 part1 2Chapter5 part1 2
Chapter5 part1 2Ptato Ok
 
Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Ptato Ok
 
201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)Ptato Ok
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio finalPtato Ok
 
Emerging1n
Emerging1n Emerging1n
Emerging1n Ptato Ok
 
Lasson3 drta1
Lasson3 drta1 Lasson3 drta1
Lasson3 drta1 Ptato Ok
 
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and LearningPtato Ok
 
Chapter2บทที่ 2
Chapter2บทที่ 2Chapter2บทที่ 2
Chapter2บทที่ 2Ptato Ok
 
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้Ptato Ok
 
Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools Ptato Ok
 
Chaptre1 new
Chaptre1 newChaptre1 new
Chaptre1 newPtato Ok
 
Com exper2
Com exper2Com exper2
Com exper2Ptato Ok
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1Ptato Ok
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1Ptato Ok
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expertPtato Ok
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kwPtato Ok
 

More from Ptato Ok (19)

Tools4 10-14
Tools4 10-14Tools4 10-14
Tools4 10-14
 
Chapter5 part1 2
Chapter5 part1 2Chapter5 part1 2
Chapter5 part1 2
 
Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)Cognitivism theory (2)
Cognitivism theory (2)
 
201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)201704 open ended-research (revision1) (2)
201704 open ended-research (revision1) (2)
 
Learning task behavio final
Learning task behavio finalLearning task behavio final
Learning task behavio final
 
Emerging1n
Emerging1n Emerging1n
Emerging1n
 
Lasson3 drta1
Lasson3 drta1 Lasson3 drta1
Lasson3 drta1
 
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
คุณลักษณะของ Emerging Technologies in Teaching and Learning
 
Chapter2บทที่ 2
Chapter2บทที่ 2Chapter2บทที่ 2
Chapter2บทที่ 2
 
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
Chapter2สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับกระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
 
Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools Spreadsheets as cognitive tools
Spreadsheets as cognitive tools
 
Chapter1
Chapter1 Chapter1
Chapter1
 
Chaptre1 new
Chaptre1 newChaptre1 new
Chaptre1 new
 
Chapter1
Chapter1Chapter1
Chapter1
 
Com exper2
Com exper2Com exper2
Com exper2
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
 
Com expert1
Com expert1Com expert1
Com expert1
 
Com expert
Com expertCom expert
Com expert
 
Com expert kw
Com expert kwCom expert kw
Com expert kw
 

มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3

  • 1.
  • 2. ภารกิจที่ 1 วิเคราะห์หาสาเหตุที่ทำให้การเรียนรู้ จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่ ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
  • 3. สาเหตุ นวัตกรรม ปัญหา ขาดสื่อที่ส่งเสริมการทำกิจกรรมและ ส่งเสริมการคิด การสร้างองค์ความรู้ด้วย ตนเอง สื่อไม่มีกิจกรรมกระตุ้นให้ นักเรียนได้มีส่วนร่วม วิธีการสอนไม่มีแนวคิดและ หลักทฤษฎีในการออกแบบ ผลการเรียนรู้ของนักเรียนไม่ เป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ครูสมศรี ตั้งเป้าหมายไว้ วิเคราะห์สถานการณ์ปัญหา เทคนิคแบบเดิม ไม่พัฒนาผู้เรียนด้านพุทธิปัญญา การสอนที่เหมาะสม เลือกวิธีการสอนที่ไม่เหมาะสม ไม่พัฒนาผู้เรียนด้านทักษะพิสัย ขาดความหลายหลาก ทั้งสื่อและ ไม่พัฒนาผู้เรียนด้านจิตพิสัย บทบาทของครูและผู้เรียน นวัตกรรมและสื่อการเรียนรู้ ที่ดีต้องเลือกให้ตรง และ เหมาะสม
  • 4. รูปแบบเดิม ครู รูปแบบใหม่ ครู หนังสือเรียน กระดานดำวิดีทัศน์ นักเรียน สื่อการสอน ที่ประกอบด้วย ข้อความรู้ และภาพประกอบ นักเรียน
  • 5.
  • 6. ภารกิจที่ 2 วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับ แแนนวคคิิดใในนกกาารออกแแบบบกกาารสอนแแลละะสสืื่่อกกาาร สอนว่ามาจากพื้นฐานใดบ้างและพื้นฐาน ดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
  • 7. พื้นฐานในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้น ต้อง มาจากทฤษฎีการเรียนรู้ของมนุษย์ โดยต้องศึกษาทำความเข้าใจ ว่ามนุษย์เราเรียนรู้ได้อย่างไร โดยหัวใจสำคัญที่จะนำไปเป็น พื้นฐานในการออกแบบการสอนและสื่อ มีดังนี้ ทฤษฎฎีีพฤตติิกรรมนนิิยม((BBeehhaavviioorriissmm)) ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม(Cognitivism) ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์(Constructivism)
  • 8. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม (Cognitivism) การเรียนรู้จะเกิดขึ้นเมื่อผู้เรียนสร้าง ความเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง ซึ่ง ถ้าหากได้รับการเสริมแรงจะทำให้มีการแสดง พฤติกรรมนั้นถี่มากขึ้น ปฏิสัมพันธ์ ระหว่างสิ่งเร้าภายนอก (ส่งผ่านโดยสื่อต่างๆ) กับสิ่งเร้าภายใน คือ ความรู้ ความเข้าใจ ที่ช่วยส่งเสริมการเรียนรู้ขอบเขตที่ เกี่ยวข้องกับกระบวนการรู้การคิด (Cognitive ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) Process) มุ่งเน้นการพัฒนากระบวนการคิดอย่าง อิสระและ สร้างความรู้ได้ด้วยตนเอง โดยมีการ ออกแบบดังนี้ (1) สถานการณ์ปัญหา (2) แหล่งการเรียนรู้ (3) ฐานการช่วยเหลือ (4) การร่วมมือกันแก้ปัญหา และ(5) การโค้ช
  • 9. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) โดยมีลักษณะ สำคัญดังนี้ 1.ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้ไปตามลำดับขั้นตอนที่กำหนดไว้ จากง่ายไปยาก โดย เป็นการแบ่งเนื้อหาออกเป็นส่วนย่อยๆ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจำได้ง่าย 2.จะอธิบายเพียงเฉพาะพฤติกรรมภายนอกที่แสดงออกมา
  • 10. ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม (Cognitive) โดยมีลักษณะ สำคัญดังนี้ 1.จัดระเบียบสารสนเทศใหม่และสร้างโครงสร้างสารสนเทศให้กับผู้ เช่นการจัดความคิดรวบยอด 2.การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศใหม่กับความรู้เดิม 3.ออกแบบการสอนและสื่อที่มุ่งเน้นการพัฒนากระบวนการทางปัญญามากกว่าการพัฒนา พฤติกรรมที่สนองต่อสิ่งเร้าอย่างเดียว
  • 11. ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) โดยมีลักษณะ สำคัญดังนี้ 1.ผู้เรียนคือผู้สร้างความรู้ ลงมือกระทำการเรียนรู้ ครูเป็นนักออกแบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้ ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์อย่างมีความหมายกับเนื้อหา ตลอดจนแหล่งการเรียนรู้ที่อยู่รอบตัวผู้เรียน ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ทฤษฎีคอนสตรัคตวิิสต์เเชชิิงปปััญญญาา (เพียเจต์) ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เชิงสังคม (Vygotsky)
  • 12. แต่ละแนวคิดมีความสัมพันธ์กัน เป็นการเปลี่ยนแปลงจากหลักการ การเรียนรู้ และการสอน มาสู่ การงานแผนสำหรับจัดกิจกรรมการเรียน ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อ พัฒนาศักยภาพของการจัดการศึกษา และส่งเสริมการเรียนรู้ แต่การ ออกแแบบบกกาารสอน แแลละะกกาารจจััดกกาารเเรรีียนรรูู้้จจะะปรระะสบคววาามสสํำาเเรร็็จไไดด้้นนัั้้น จะต้องอาศัยตัวกลางในการนำสารสนเทศไปสู่ผู้เรียน ตัวกลางดัง กล่าวคือ สื่อการสอน (Instructional Media)
  • 13. ภารกิจที่ 3 วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการ เปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ของการจัด กกาารศศึึกษษาา ใในนกกาารออกแแบบบกกาารสอนแแลละะสสืื่่อกกาารสอนนนัั้้นควร อยู่พื้นฐานของสิ่งใดบ้างอธิบายพร้อมให้เหตุผลและ ยกตัวอย่างประกอบ
  • 14. กระบวนทัศน์ใหม่ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่ พื้นฐานของสิ่งใด สังคมโลกมีการ ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม เปลี่ยนแปลง (Behaviorism) ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม (Cognitive) ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ (Constructivism) เปลี่ยนแปลง ต้องการให้ ไม่ได้ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้คิด สนใจการคิดแต่ไม้ได้ให้ ผู้เรียน สร้างองค์ความรู้เอง เน้นการสร้างองค์ความรู้ให้เกิด แก้ผู้เรียน ผู้เรียนสร้างเป็น เกิดองค์ความรู้ ด้วยตนเอง แก้ปัญหาเป็น ไม่ได้ส่งให้ให้นักเรียนสร้างองค์ ความรู้เอง มีการเรียนรู้แบบร่วมมือกัน ลง มือกระทำ เพื่อแก้ปัญหา เน้นพฤติกรรมที่แสดงออกมา ไม่ได้สนใจถึงกระบวนการคิด เทคนิควิธีการ ผู้เรียนมีการสร้างความรู้อย่างตื้น ตัว ครูเป็นผู้ป้อนความรู้ นักเรียนรบ รับอย่างเดียว ครูเป็นผู้ให้คำแนะนำและ จัดเตรียมสิ่งแวดล้อมทางการ เรียนรู้ให้ผู้เรียน
  • 15. ทฤษฎีพฤติกรรมนิยม (Behaviorism) + ทฤษฎีพุทธิปัญญานิยม (Cognitivism) + (Constructivism) ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์ วัตถุประสงค์ที่ต้องการให้เกิดกับผู้เรียน ลงมือกระทำ แก้ปัญหาและหาคำตอบด้วยตนเองเพื่อให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง ซึ่งครูจะ มีบทบาทเป็นผู้ช่วยให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้ ทำหน้าที่จัดสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ให้ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้อย่างมีประสิทธิภาพ
  • 16. จะสรุปได้ว่า ในปัจจุบันนี้สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง เทคโนโลยีก้าวหน้าเป็นอย่าง มาก ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ของการจัดการศึกษาก็เปลี่ยนแปลงไปควรนำ หลลัักกกาารททัั้้ง 33 ทฤษฎฎีี มมาาใใชช้้เเปป็็นววิิธธีีกกาารใใหหมม่่ ครรููผผูู้้สอน นนัักออกแแบบบกกาารสอน จำเป็นต้องศึกษาเกี่ยวกับหลักการอย่างเข้าใจ และสามารถนำมาใช้ในการจัดการ เรียนรู้ของผู้เรียนได้อย่างเหมาะสม สอดคล้องกับการจัดการเรียนรู้และสภาพบริบท วัฒนธรรมไทย เป้นต้น
  • 17. ยกตัวอย่างประกอบ กาเรียนการสอนในรายวิชา วิทยาศาสตร์ 1.มีวัตถุประสงค์เพื่อให้นักเรียนมีทักษะในการใช้ ICT และแก้ปัญหาร่วมกับเพื่อนๆได้ ดังนั้นครูผู้สอนจึงออกเเบบสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ เพื่อเสริมสร้างทักษะความรู้ ICTให้เกิดแก่ ผู้เรียน
  • 18. ยกตัวอย่างประกอบ โดยมีองค์ประกอบที่อาศัยหลักทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์(Constructivism) โดยมีองค์ประกอบดังนี้ โดยมีองค์ประกอบของสื่อการเรียนรู้ ดังนี้ โดย 1. มีสถานการณ์ปัญหาเป็นการกระตุ้นให้นักเรียนได้ คิดปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นปัญหาที่นักเรียนพบจริงและมีภารกิจการเรียนรู้ให้นักเรียนได้แก้ปัญหา โดยมี เครื่องมือที่ช่วยให้นักเรียนได้สร้างองค์ความรู้ต่าง ๆ 2. มีธนาคารความรู้ เพื่อช่วยในการคิดและค้นหา เเพพืื่่อตอบภภาารกกิิจ โโดดยททํำาสสืื่่อใใหห้้เเปป็็นเเออนเเิิมชชัั่่นททีี่่นน่่าาสนใใจจ 33..มมีีเเคครรืื่่องมมืือททาางปปััญญญาาททีี่่ชช่่วยคค้้นหหาาจจาากสสืื่่อใในน สังคมออนไลน์ที่หลากหลาย 4.ศูนย์ส่งเสริม ICT Literacy Skill เพื่อช่วยให้นักเรียนเกิดทักษะ 5. ปรึกษากับผู้เชี่ยวชาญ 6.เรียนรู้แบบร่วมมือกันคือนักเรียนสามารถแลกเปลี่ยนความรู้ร่วมกันเพื่อให้ เกิดทักษะและสร้างองค์ความรู้ได้ด้วยตัวเอง อ้างอิง http://www.smle-learning.com/
  • 19. สมมาาชชิิกกลลุุ่่ม 1.นางสาวปรียานันท์ อัครวงศ์ 575050027-7 2.นางสาวจิรายุ ศักดาจารุวงศ์ 575050180-9 3.นางสาวสุธาทิพย์ เหวขุนทด 575050194-8 4.นางสาวสุนิจฐา พองพรหม 575050196-4 5.นายวีรวัฒน์ สุดหา 575050191-4