SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี 
และสื่อการศึกษา 
241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
INNOVATION AND INFORMATION TECHNOLOGY FOR LEARNING กลุ่ม 8
ภารกิจที่1 
วิเคราะห์หาสาเหตุทที่า ให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ที่ 
ต้องการให้เกิดขึ้น พร้อมอธิบายเหตุผล
สาเหตุที่ทา ให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ 
ที่ต้องการให้เกิดขึ้น เพราะครูสมศรีด้สร้างสื่อขึ้นมาตามแนวความคิด และ 
ประสบการณ์ของตนเอง เช่น ในสื่ออยากให้มีข้อความรู้ก็นาเนื้อหามาบรรจุ 
อยากให้มีรูปภาพประกอบก็นารูปภาพมาบรรจุในสื่อ แทนการบอกจากครู 
และเพิ่มเทคนิคทางกราฟิกต่างๆเข้าไป เพื่อให้เกิดความสวยงามตรงตาม 
แนวคิดของตน และส่งเสริมการสอนของตนเองให้มีระสทิธิภาพมากขึน้ 
ครูสมศรีใช้คาความคิดของตนเองในการสร้างสื่อการสอน ไม่ได้ 
คานึงหรือเน้นผู้สอนเป็นสาคัญ ช่วงแรกผู้เรียนอาจจะสนใจในสื่อการสอน 
แต่พอใช้สื่อเดิมๆ ทาให้ผู้เรียนเบื่อ ไม่มีอะไรน่าสนใจ ไม่มีตัวกระตุ้น จึงทา 
ให้การสอนของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าหมายที่กา หนด
ภารกิจที่2 
วิเคราะห์ว่าแนวคิดเกี่ยวกับแนวคิดในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนว่ามาจาก 
พื้นฐานใดบ้างและพื้นฐานดังกล่าว มีความสัมพันธ์กันอย่างไร
• เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวพฤติกรรมนิยม 
การออกแบบสื่อตามพื้นฐานทฤษฎีพฤติกรรมนิยมจะถูกเรียกว่า การออกแบบการสอน 
ในช่วงเริ่มแรก มุ่งเน้นการออกแบบเพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจา ความรู้ให้ได้ในปริมาณมากที่สุด 
บทบาทของผู้เรียนเป็นผู้รับข้อมูลสารสนเทศ งานของครูผู้สอนจะเป็นผู้นา เสนอข้อมูลสารสนเทศ 
เช่น ตา ราเรียน การบรรยาย 
• เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวพุทธิปัญญานิยม 
แนวคิดที่สาคัญของการออกแบบมุ่งเน้นการสนับสนุนกระบวนการทางพุทธิปัญญาของ 
ผู้เรียนโดยเฉพาะบทบาทของการใช้หน่วยความจา เพื่อช่วยในการแปลสารสนเทศใหม่ 
ลงไปในรูปแบบที่มีความหมายสา หรับผู้เรียนในการบันทึกความรู้และการนา ความรู้ที่เก็บไว้กลับมา 
ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยลักษณะที่สาคัญของการออกแบบเทคโนโลยีและสื่อตามแนวพุทธิ 
ปัญญาเป็นดังนี้
1) การจัดระเบียบสารสนเทศใหม่และสร้างโครงสร้างสารสนเทศให้กับผู้เรียน 
2) การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศใหม่กับความรู้เดิม วิธีการนี้จะช่วยให้ 
ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างมีความหมายและเกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ 
3) ใช้เทคนิคเพื่อแนะน าและสนับสนุนให้ผู้เรียนใส่ใจ เข้ารหัสและเรียกสารสนเทศกลับมาใช้ 
ใหม่ได้ 
• เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ 
รูปแบบการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ประสานร่วมกันระหว่าง สื่อ กับ วิธีการ โดยการนาทฤษฎี 
คอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบร่วมกับสื่อ ซึ่งมีคุณลักษณะของสื่อและระบบสัญลักษณ์ของ 
สื่อที่สนับสนุนการสร้างความรู้ของผู้เรียน โดยมีองค์ประกอบ และหลักการส าคัญที่ใช้ในการออกแบบดังนี้ 
(1)สถานการณ์ปัญหา 
(2) แหล่งการเรียนรู้ 
(3) ฐานการช่วยเหลือ 
(4) การร่วมมือกันแก้ปัญหา และ 
(5) การโค้ช
ภารกิจที่3 
วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ 
ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พื้นฐานของสิ่ง 
ใดบ้างอธิบายพร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
• ในช่วงทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา กระบวนทัศน์ใหม่ทางการเรียนรู้ คือ คอนสตรัคติวิสต์ 
ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อการศึกษา และงานทางเทคโนโลยีการศึกษา ซึ่งมีความเชื่อว่า การรู้จักและ 
ตีความหมายของสิ่งต่างๆ ในโลกของแต่ละบุคคลนัน้ เกิดจากการสร้างแนวคิดของตนเองเกี่ยวกับ 
สิ่งที่เป็นวัตถุจริง ดังนัน้ นักการศึกษาที่เชื่อในกระบวนทัศน์ เดิมคือทัง้พฤติกรรมนิยมและพุทธิ 
ปัญญานิยม จะพยามจัดการสอนโดยเปรียบผู้เรียนเป็นถัง หรือภาชนะที่จะต้องเท หรือเติมความรู้ 
โดยครูผู้สอน หนังสือเรียน ต ารา สื่อการสอนต่าง ๆ แต่ในทางตรงข้ามตามแนวคิดของคอนสตรัคติ 
วิสต์ ผู้เรียนจะเป็นผู้สร้างความรู้ โดยการสังเกต ลงมือกระท า และอธิบายความหมายโลกรอบ ๆ 
ตัวผู้เรียนและแนวโน้มต่อไปเกี่ยวกับการน าทฤษฎีมาสู่งานทางด้านเทคโนโลยีการศึกษานัน้จะ 
ผสมผสาน หลักการต่างๆ ทัง้ 3 มาใช้เป็นวิธีการใหม่ ดังนัน้ ผู้เขียนมีความเห็นว่า ครูผู้สอน นัก 
ออกแบบการสอน และผู้ที่เกี่ยวข้องจา เป็นต้องศึกษาเกี่ยวกับหลักการของทฤษฎีการเรียนรู้ทัง้ 3 
ดังกล่าวให้เกิดความเข้าใจอย่างลึกซึง้ และสามารถ น ามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ 
อย่างเหมาะสม หรือในบางกรณีอาจเป็นการผสมผสานแนวคิด หลักการดังกล่าวให้ สอดคล้องกับ 
การจัดการเรียนรู้และสภาพบริบท รวมถึงวัฒนธรรมไทย
รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม 
1.นางสาว เกศรินทร์ ภักดี 563050524-8 
2.นางสาว สุนิสา สุดเพาะ 563050546-8 
3.นางสาว อรอุมา กา ไรทอง 563050550-7

More Related Content

What's hot

มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3Ptato Ok
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาsaowana
 
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาวิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาSasitorn Seajew
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Natcha Wannakot
 
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BNนำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BNkhomAtom
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาDee Arna'
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนThamonwan Kottapan
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษาTupPee Zhouyongfang
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาN'Fern White-Choc
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยKobwit Piriyawat
 

What's hot (17)

มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา201700 chapter3
 
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษาLesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
Lesson 3 มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาวิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
วิชานวัตกรรมบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BNนำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
นำเสนอ Chapter3 กลุ่ม EDK2BN
 
Chapter3..
Chapter3..Chapter3..
Chapter3..
 
C3
C3C3
C3
 
Chapter35630505256
Chapter35630505256Chapter35630505256
Chapter35630505256
 
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาบทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
บทที่ 3 มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอนบทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
 
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอนบทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
บทที่8การผลิตสื่อกราฟฟิกเพื่อการเรียนการสอน
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Chapte3
Chapte3Chapte3
Chapte3
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทยE learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
E learning กับ social media จะไปด้วยกันอย่างไรเพื่อพัฒนาการศึกษาไทย
 

Viewers also liked

Data security for any organization by using public key infrastructure compone...
Data security for any organization by using public key infrastructure compone...Data security for any organization by using public key infrastructure compone...
Data security for any organization by using public key infrastructure compone...eSAT Publishing House
 
A secure communication in smart phones using two factor authentications
A secure communication in smart phones using two factor authenticationsA secure communication in smart phones using two factor authentications
A secure communication in smart phones using two factor authenticationseSAT Publishing House
 
Calendario juv. division h
Calendario juv. division hCalendario juv. division h
Calendario juv. division hjmjerez41
 
Geosynthetics, a versetile solution to challenges in
Geosynthetics, a versetile solution to challenges inGeosynthetics, a versetile solution to challenges in
Geosynthetics, a versetile solution to challenges ineSAT Publishing House
 
Experimental performance of pv fed led lighting system employing particle swa...
Experimental performance of pv fed led lighting system employing particle swa...Experimental performance of pv fed led lighting system employing particle swa...
Experimental performance of pv fed led lighting system employing particle swa...eSAT Publishing House
 
A study of multimodal biometric system
A study of multimodal biometric systemA study of multimodal biometric system
A study of multimodal biometric systemeSAT Publishing House
 
Study of content management systems joomla and
Study of content management systems joomla andStudy of content management systems joomla and
Study of content management systems joomla andeSAT Publishing House
 
Seminario biologia molecular
Seminario biologia molecularSeminario biologia molecular
Seminario biologia molecularsaracardona1208
 
Error entropy minimization for brain image registration using hilbert huang t...
Error entropy minimization for brain image registration using hilbert huang t...Error entropy minimization for brain image registration using hilbert huang t...
Error entropy minimization for brain image registration using hilbert huang t...eSAT Publishing House
 
What Must I Do? - The Preacher's Favorite Passage
What Must I Do? - The Preacher's Favorite PassageWhat Must I Do? - The Preacher's Favorite Passage
What Must I Do? - The Preacher's Favorite PassageLee Snow
 

Viewers also liked (14)

Florida Virtual School Research
Florida Virtual School ResearchFlorida Virtual School Research
Florida Virtual School Research
 
Data security for any organization by using public key infrastructure compone...
Data security for any organization by using public key infrastructure compone...Data security for any organization by using public key infrastructure compone...
Data security for any organization by using public key infrastructure compone...
 
About skyries
About skyriesAbout skyries
About skyries
 
A secure communication in smart phones using two factor authentications
A secure communication in smart phones using two factor authenticationsA secure communication in smart phones using two factor authentications
A secure communication in smart phones using two factor authentications
 
Calendario juv. division h
Calendario juv. division hCalendario juv. division h
Calendario juv. division h
 
Geosynthetics, a versetile solution to challenges in
Geosynthetics, a versetile solution to challenges inGeosynthetics, a versetile solution to challenges in
Geosynthetics, a versetile solution to challenges in
 
Experimental performance of pv fed led lighting system employing particle swa...
Experimental performance of pv fed led lighting system employing particle swa...Experimental performance of pv fed led lighting system employing particle swa...
Experimental performance of pv fed led lighting system employing particle swa...
 
A study of multimodal biometric system
A study of multimodal biometric systemA study of multimodal biometric system
A study of multimodal biometric system
 
Pba lart-elektrolit-non-elektrolit
Pba lart-elektrolit-non-elektrolitPba lart-elektrolit-non-elektrolit
Pba lart-elektrolit-non-elektrolit
 
Study of content management systems joomla and
Study of content management systems joomla andStudy of content management systems joomla and
Study of content management systems joomla and
 
Seminario biologia molecular
Seminario biologia molecularSeminario biologia molecular
Seminario biologia molecular
 
Error entropy minimization for brain image registration using hilbert huang t...
Error entropy minimization for brain image registration using hilbert huang t...Error entropy minimization for brain image registration using hilbert huang t...
Error entropy minimization for brain image registration using hilbert huang t...
 
Exception handling
Exception handlingException handling
Exception handling
 
What Must I Do? - The Preacher's Favorite Passage
What Must I Do? - The Preacher's Favorite PassageWhat Must I Do? - The Preacher's Favorite Passage
What Must I Do? - The Preacher's Favorite Passage
 

Similar to Chapter3

มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาsinarack
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาpohn
 
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3pompompam
 
บท 3 แจน
บท 3 แจนบท 3 แจน
บท 3 แจนjittraphorn
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาP-zhiie Chic'
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาP-zhiie Chic'
 
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาa35974185
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาiibowvie
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษาJune Nitipan
 

Similar to Chapter3 (19)

Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3Introduction to technologies and educational media.chapter 3
Introduction to technologies and educational media.chapter 3
 
งานบทที่ 3
งานบทที่ 3งานบทที่ 3
งานบทที่ 3
 
บท 3 แจน
บท 3 แจนบท 3 แจน
บท 3 แจน
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษาChapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
Chapter 3 เทคโนโลยีการศึกษา
 
Chapter3
Chapter3Chapter3
Chapter3
 
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
3มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chapter3 jp
Chapter3 jpChapter3 jp
Chapter3 jp
 
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Random 140902100629-phpapp02
Random 140902100629-phpapp02Random 140902100629-phpapp02
Random 140902100629-phpapp02
 
Random 140902100629-phpapp02
Random 140902100629-phpapp02Random 140902100629-phpapp02
Random 140902100629-phpapp02
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
นวัตกรรม Chapter 3
นวัตกรรม Chapter 3นวัตกรรม Chapter 3
นวัตกรรม Chapter 3
 
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษามุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยีและสื่อการศึกษา
 
Chapter3 (1)
Chapter3 (1)Chapter3 (1)
Chapter3 (1)
 
Chapter3(1)
Chapter3(1)Chapter3(1)
Chapter3(1)
 

Chapter3

  • 1. มุมมองทางจิตวิทยาการเรียนรู้กับเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา 241208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ INNOVATION AND INFORMATION TECHNOLOGY FOR LEARNING กลุ่ม 8
  • 3. สาเหตุที่ทา ให้การเรียนรู้จากสื่อของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าประสงค์ ที่ต้องการให้เกิดขึ้น เพราะครูสมศรีด้สร้างสื่อขึ้นมาตามแนวความคิด และ ประสบการณ์ของตนเอง เช่น ในสื่ออยากให้มีข้อความรู้ก็นาเนื้อหามาบรรจุ อยากให้มีรูปภาพประกอบก็นารูปภาพมาบรรจุในสื่อ แทนการบอกจากครู และเพิ่มเทคนิคทางกราฟิกต่างๆเข้าไป เพื่อให้เกิดความสวยงามตรงตาม แนวคิดของตน และส่งเสริมการสอนของตนเองให้มีระสทิธิภาพมากขึน้ ครูสมศรีใช้คาความคิดของตนเองในการสร้างสื่อการสอน ไม่ได้ คานึงหรือเน้นผู้สอนเป็นสาคัญ ช่วงแรกผู้เรียนอาจจะสนใจในสื่อการสอน แต่พอใช้สื่อเดิมๆ ทาให้ผู้เรียนเบื่อ ไม่มีอะไรน่าสนใจ ไม่มีตัวกระตุ้น จึงทา ให้การสอนของครูสมศรีไม่ตรงตามเป้าหมายที่กา หนด
  • 5. • เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวพฤติกรรมนิยม การออกแบบสื่อตามพื้นฐานทฤษฎีพฤติกรรมนิยมจะถูกเรียกว่า การออกแบบการสอน ในช่วงเริ่มแรก มุ่งเน้นการออกแบบเพื่อให้ผู้เรียนสามารถจดจา ความรู้ให้ได้ในปริมาณมากที่สุด บทบาทของผู้เรียนเป็นผู้รับข้อมูลสารสนเทศ งานของครูผู้สอนจะเป็นผู้นา เสนอข้อมูลสารสนเทศ เช่น ตา ราเรียน การบรรยาย • เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวพุทธิปัญญานิยม แนวคิดที่สาคัญของการออกแบบมุ่งเน้นการสนับสนุนกระบวนการทางพุทธิปัญญาของ ผู้เรียนโดยเฉพาะบทบาทของการใช้หน่วยความจา เพื่อช่วยในการแปลสารสนเทศใหม่ ลงไปในรูปแบบที่มีความหมายสา หรับผู้เรียนในการบันทึกความรู้และการนา ความรู้ที่เก็บไว้กลับมา ใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ โดยลักษณะที่สาคัญของการออกแบบเทคโนโลยีและสื่อตามแนวพุทธิ ปัญญาเป็นดังนี้
  • 6. 1) การจัดระเบียบสารสนเทศใหม่และสร้างโครงสร้างสารสนเทศให้กับผู้เรียน 2) การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างสารสนเทศใหม่กับความรู้เดิม วิธีการนี้จะช่วยให้ ผู้เรียนเรียนรู้ได้อย่างมีความหมายและเกิดการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ 3) ใช้เทคนิคเพื่อแนะน าและสนับสนุนให้ผู้เรียนใส่ใจ เข้ารหัสและเรียกสารสนเทศกลับมาใช้ ใหม่ได้ • เทคโนโลยีและสื่อการศึกษาตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ รูปแบบการออกแบบการจัดการเรียนรู้ที่ประสานร่วมกันระหว่าง สื่อ กับ วิธีการ โดยการนาทฤษฎี คอนสตรัคติวิสต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบร่วมกับสื่อ ซึ่งมีคุณลักษณะของสื่อและระบบสัญลักษณ์ของ สื่อที่สนับสนุนการสร้างความรู้ของผู้เรียน โดยมีองค์ประกอบ และหลักการส าคัญที่ใช้ในการออกแบบดังนี้ (1)สถานการณ์ปัญหา (2) แหล่งการเรียนรู้ (3) ฐานการช่วยเหลือ (4) การร่วมมือกันแก้ปัญหา และ (5) การโค้ช
  • 7. ภารกิจที่3 วิเคราะห์ว่าในยุคปัจจุบันที่สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลง ตลอดจนกระบวนทัศน์ใหม่ ของการจัดการศึกษา ในการออกแบบการสอนและสื่อการสอนนั้นควรอยู่พื้นฐานของสิ่ง ใดบ้างอธิบายพร้อมให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
  • 8. • ในช่วงทศวรรษ 1980 เป็นต้นมา กระบวนทัศน์ใหม่ทางการเรียนรู้ คือ คอนสตรัคติวิสต์ ได้เข้ามามีอิทธิพลต่อการศึกษา และงานทางเทคโนโลยีการศึกษา ซึ่งมีความเชื่อว่า การรู้จักและ ตีความหมายของสิ่งต่างๆ ในโลกของแต่ละบุคคลนัน้ เกิดจากการสร้างแนวคิดของตนเองเกี่ยวกับ สิ่งที่เป็นวัตถุจริง ดังนัน้ นักการศึกษาที่เชื่อในกระบวนทัศน์ เดิมคือทัง้พฤติกรรมนิยมและพุทธิ ปัญญานิยม จะพยามจัดการสอนโดยเปรียบผู้เรียนเป็นถัง หรือภาชนะที่จะต้องเท หรือเติมความรู้ โดยครูผู้สอน หนังสือเรียน ต ารา สื่อการสอนต่าง ๆ แต่ในทางตรงข้ามตามแนวคิดของคอนสตรัคติ วิสต์ ผู้เรียนจะเป็นผู้สร้างความรู้ โดยการสังเกต ลงมือกระท า และอธิบายความหมายโลกรอบ ๆ ตัวผู้เรียนและแนวโน้มต่อไปเกี่ยวกับการน าทฤษฎีมาสู่งานทางด้านเทคโนโลยีการศึกษานัน้จะ ผสมผสาน หลักการต่างๆ ทัง้ 3 มาใช้เป็นวิธีการใหม่ ดังนัน้ ผู้เขียนมีความเห็นว่า ครูผู้สอน นัก ออกแบบการสอน และผู้ที่เกี่ยวข้องจา เป็นต้องศึกษาเกี่ยวกับหลักการของทฤษฎีการเรียนรู้ทัง้ 3 ดังกล่าวให้เกิดความเข้าใจอย่างลึกซึง้ และสามารถ น ามาใช้ในการจัดการเรียนรู้ของผู้เรียนได้ อย่างเหมาะสม หรือในบางกรณีอาจเป็นการผสมผสานแนวคิด หลักการดังกล่าวให้ สอดคล้องกับ การจัดการเรียนรู้และสภาพบริบท รวมถึงวัฒนธรรมไทย
  • 9. รายชื่อสมาชิกในกลุ่ม 1.นางสาว เกศรินทร์ ภักดี 563050524-8 2.นางสาว สุนิสา สุดเพาะ 563050546-8 3.นางสาว อรอุมา กา ไรทอง 563050550-7