SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
1
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจานวนดอกของต้นพุดซ้อน
นาเสนอครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. นายกิตติพัฑฒ์ จรณโยธิน เลขที่ 26
2. นายณัชพล นาควิจิตร เลขที่ 32
3. นายธนดล สิริจันทกุล เลขที่ 33
4. นายพงศธร สัมมาวิวัฒน์ เลขที่ 35
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
2
บทคัดย่อ
พืช ล้วนเเล้วเเต่มีส่วนสาคัญในการดารงชีวิต ในชีวิตประจาของพวกเราจะต้องเจอสิ่งมีชีวิตจาพวกพืช
จนเป็นเรื่องธรรมดา โดยพืชนั้นมีหลายประเภท เช่น พืชที่เป็นไม้เลื้อย ไม้ยืนต้น ไม้ล้มลุก เป็นต้น จาก
การศึกษาเรื่องฮอร์โมนพืชตามหลักสูตรการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เพื่อเป็นการศึกษาให้เข้าใจถึง
เรื่องฮอร์โมน ชนิดนั้นอย่างถ่องเเท้รวมถึงเป็นงาน Formative พวกเราจึงได้จัดทาโครงการศึกษาผลกระทบ
ของฮอร์โมนที่มีต่อพืช โดยได้ทาการ เลือกฮอร์โมนมากลุ่มละ 1 ชนิด เเละ เลือกพืชที่จะศึกษาอีก 1 ชนิด เเละ
ทาการออกเเบบการทดลองเเละทาการศึกษาตามที่ได้กาหนดไว้
โดยในงานนี้จะมีการบันทึกข้อมูลที่ทาการทดลองเเต่ละครั้งอย่างสม่าเสมอ รวมถึงการควบคุมชนิด
ของฮอร์โมนที่ถูกฉีดให้พืช โดยจะเเบ่งเป็น กลุ่ม control, low dose เเละ low dose เเละยังมีการถ่ายรูป
การทดลอง รวมถึงมีการติดตามผลการดาเนินงานโครงงานนี้จากครูผู้สอนอย่างใกล้ชิด
จากกาดทดลอง ฮอร์โมนครั้งนี้ โดย ฮอร์โมนกลุ่มของพวกเราใช้ฮอร์โมนออกซิน ซึ่งมีผลเป็นการยับยั้ง
ดอก จึงพบได้ว่า กลุ่มที่มีการฉีดฮอร์โมน จะไม่จานวนดอกน้อยกว่า โดย ปริมาณดอกของ low dose เเละ
high dose พบว่ามีเท่าๆกัน ส่วนของ control จะมีดอกมากกว่าของพืชที่ถูกฉีดฮอร์โมน
3
คานา
รายงานฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งชองการเรียนรู้และความเข้าใจในบทเรียนของวิชา ชีววิทยา
5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เรื่องฮอร์โมนและผลของฮอร์โมนที่มีต่อพืช โดยมีจุดประสงค์
เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินกับจานวนดอกของต้นพุดซ้อน ซึ่งสามารถนา
ผลการทดลองไปวิเคราะห์และหาความสัมพันธ์ของฮอร์โมนออกซินต่อพืชได้ ซึ่งหวังว่าโครงงานนี้จะเป็น
ประโยชน์และสามารถเป็นแนวทางในการศึกษาเรื่องฮอร์โมนพืชในเวลาต่อไป
โครงงานนี้ไม่สามารถสาเร็จลุล่วงลงไปได้เลย ถ้าขาดความช่วยเหลือจาก ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู
ประจารายวิชาชีววิทยา 5 ที่ให้คาปรึกษามาโยตลอด ครูประจาตึก 2 ที่อนุญาตให้ใช้พื้นที่บริเวณอาคารเรียน
รวมทั้งผู้ปกครองที่ช่วยเหลือทางด้านเงินทุน และการจัดหาอุปกรณ์ต่างๆ ที่นามาใช้ในโครงงานครั้งนี้
คณะผู้จัดทา
4
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจานวนดอกของต้นพุดซ้อน จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้
ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจากผู้อานวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ดร.ปรเมษฐ์ โมลี ในด้านการใช้พื้นที่ใน
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ครูประจาวิชา อาจารย์ วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ
เกี่ยวกับโครงงาน ทั้งก่อนเริ่มทาโครงงานและตลอดระยะเวลาทาโครงงาน อาจารย์หัวหน้าตึก 2 อาจารย์
อัมพา ณ พัทลุง ที่เอื้อเฟื้อสถานที่บริเวณตึก 2 เป็นสถานในการทาการทดลองโครงงาน
ขอขอบคุณผู้ปกครอง ครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและเพื่อนๆที่ให้กาลังใจตลอดมา
คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
5
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อของโครงงาน 2
คานา 3
กิตติกรรมประกาศ 4
สารบัญ 5
บทที่ 1 บทนา 6
ปัญหา ที่มาและความสาคัญ 6
สมมติฐานของการทดลอง 7
วัตถุประสงค์ของการทดลอง 7
ช่วงระยะเวลาการทดลอง 7
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง 7
บทที่ 2 ข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้อง 8
ข้อมูลและเอกสารเกี่ยวกับต้นพุดซ้อน 8
. ข้อมูลและเอกสารเกี่ยวกับฮอร์โมนออกซิน 14
บทที่ 3 การดาเนินงาน 20
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 20
ขั้นตอนการปฏิบัติโครงงาน 20
บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง 22
ตารางบันทึกผลการทดลอง 22
กราฟแท่งแสดงผลการทดลอง 27
วิเคราะห์ผลการทดลอง 28
บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 29
สรุปผลการทดลอง 29
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 30
บรรณานุกรม 32
ภาคผนวก 34
6
บทที่ 1 บทนา
ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจานวนดอกของต้นพุดซ้อน
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. นายกิตติพัฑฒ์ จรณโยธิน เลขที่ 26
2. นายณัชพล นาควิจิตร เลขที่ 32
3. นายธนดล สิริจันทกุล เลขที่ 33
4. นายพงศธร สัมมาวิวัฒน์ เลขที่ 35
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
อาจารย์ผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ปัญหา ที่มาและความสาคัญ
เนื่องจาก ต้นพุดซ้อนที่ได้นามาศึกษา มีประวัติอันยาวนาน โดยถิ่นเดิมของดอกพุดซ้อนนั้นเข้าใจว่าอยู่
ในประเทศจีน และได้ส่งผ่านตามภูมิภาคด้านบนของประเทศไทย และเป็นที่รู้จักในประเทศไทยมายาวนาน
เนื่องจากพบการกล่าวถึงต้อนพุดซ้อน ดอกพุดซ้อนในบทโครงกลอน รามเกียรติ์ - พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 1
และในบทกลอนของ สุนทรภู่ เรื่องพระอภัยมณี ในเชิงเศรษฐกิจ ต้นพุดซ้อนนิยมนาไปร้อยเป็นพวงมาลัยบูชา
พระ และสามารถนาเมล็ดสีเหลืองทองไปทาสีเหลืองแต่งอาหาร ใช้ส่วนดอกในการสกัดน้ามันหอมระเหยใช้ใน
อุตสาหกรรมเครื่องสาอางอีกด้วย นอกจากนี้ ฮอร์โมนออกซินที่ใช้ในการศึกษา มีผลต่อการเจริญเติบโตของ
เนื้อเยื่อพืช กระตุ้นการเจริญเติบโต ทาให้มีการแบ่งเซลล์และมีการยืดตัวของเซลล์ ฮอร์โมนออกซินจะส่งผลให้
ต้นพุดซ้อนเจริญเติบโตมากขึ้น จึงเป็นที่มาของการศึกษาผ่านการทดลองโครงงานนี้
คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนออกซิน
(Auxin) ที่มีต่อ จานวนดอกของต้นพุดซ้อนโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนออกซิน (Auxin) ที่มี
ต่อการเจริญดอกของต้นพุดซ้อน และ เพื่อเปรียบเทียบจานวนดอกที่เจริญเติบโตตามความเข้นข้นของฮอร์โมน
ออกซิน (Auxin) คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมี
ประโยชน์ต่อการประยุกต์องค์ความรู้ในการเพาะเลี้ยงต้นพุดซ้อนเพื่อเกษตรและในด้านอื่นๆในอนาคตต่อไป
7
คาถามการทาโครงงาน
สารละลายฮอร์โมนออกซิน (Auxin) ที่ความเข้มข้นใดจะส่งผลให้ต้นพุดซ้อนมีจานวนดอกมากที่สุด
สมมติฐานการทดลอง
ถ้าฮอร์โมนออกซิน (Auxin) ที่ความเข้มข้น 0.4% w/v มีผลต่อดอกเจริญดีที่สุด ดังนั้น สารละลาย
ฮอร์โมนออกซิน (Auxin)ที่ความเข้มข้น 0.4% w/v จะทาให้ดอกมี จานวนดอกมากที่สุด
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนออกซิน (Auxin) ที่มีต่อการเจริญดอกของต้นพุดซ้อน
2. เพื่อเปรียบเทียบจานวนดอกที่เจริญเติบโตตามความเข้นข้นของฮอร์โมนออกซิน (Auxin)
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องฮอร์โมนที่มีผลต่อการเจริญดอกของต้นพุดซ้อน
2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบความเข้มเข้นของฮอร์โมนในระดับต่างๆ
3. เป็นการส่งเสริมให้ศึกษาค้นคว้าเพื่อใช้ประโยชน์จากองค์ความรู้ในการปลูกต้นพุดซ้อน
ขอบเขตของโครงงาน
การทาโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะจานวนดอกของต้นพุดซ้อน
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน
ตัวแปรตาม คือ จานวนดอกของต้นพุดซ้อน
ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณแสงที่พืชได้รับ ปริมาณน้าที่รดให้กับต้นไม้ ความชื้นบนใบไม้
ภายหลังฉีดฮอร์โมน ความสูงและอายุของต้นไม้ก่อนการดลอง
ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน
5 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ถึง 26 กรกฎาคม 2560
วิธีการเก็บข้อมูล
ตรวจวัดจานวนดอกของต้นไม้ โดยตรวจวัดทุก ๆ วันที่พ่นฮอร์โมนโดยทาเครื่องหมายกับดอกที่นับ
แล้ว พร้อมทั้งถ่ายรูปเก็บไว้
8
วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล
นาข้อมูลการตรวจวัดจานวนดอกของต้นไม้ที่เพิ่มขึ้นในแต่ละวันมาเฉลี่ย พร้อมทั้งนับจานวนดอกรวม
ของแต่ละต้นแล้วนามาเฉลี่ยเช่นเดียวกัน โดยใช้ค่าเฉลี่ยแบบค่าเฉลี่ยเลขคณิต แล้วปัดเศษทศนิยมขึ้นเป็น
จานวนเต็มเสมอ เนื่องจากเป็นการนับจานวนของสิ่งมีชีวิต แล้วนาค่าเฉลี่ยมาพล็อตกราฟจานวนดอกพุดซ้อน
เฉลี่ยรวมในแต่ละวัน พร้อมทั้งเปรียบเทียบจานวนดอกเฉลี่ยรวมทั้งหมดด้วย
9
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ข้อมูลและเอกสารเกี่ยวกับต้นพุดซ้อน
ภาพที่ 2.1 ภาพดอกพุดซ้อน
1. ข้อมูลทั่วไป
ชื่อสามัญภาษาไทย: พุดซ้อน, พุดจีน, พุดใหญ่
ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ: Gardenia, Cape Jasmine, Cape Jessamine, Danh-Danh,
Jasmin
ชื่อท้องถิ่น: เก็ดถะหวา, อินถะหวา, เค็ดถวา, พุดสา, พุดสวน, พุดจีบ, พุด, พุดจีน, พุดใหญ่ ,
พุทธรักษา, พุดป่า, พุดฝรั่ง, กีจื้อ, จือจื่อ,สุ่ยจือจื่อ,ซัวอึ้งกี่, จุยเจียฮวย
ชื่อทวินาม(binomial name): Gardenia jasminoides
ชื่ออื่น: Gardenia angustifolia Lodd. Gardenia augusta Merr. nom. illeg. Gardenia
florida L. nom. illeg.
อาณาจักร: Plantae
อันดับ: Gentianales
วงศ์: Rubiaceae
สกุล: Gardenia
สปีชีส์: Gardenia jasminoides
2. แหล่งกระจายพันธุ์: พบทั่วไปในทวีปเอเชีย ในประเทศเวียดนาม, จีนตอนใต้, เกาหลี, ไต้หวัน, ญี่ปุ่น,
เมียนมาร์ และอินเดีย
3. ประวัติการค้นพบ: พบการปลูกต้นพุดซ้อนตั้งแต่สมัยราชวงศ์ซ่งของจีน (ค.ศ. 960-1279) โดยมี
หลักฐานจากภาพวาดที่แสดงดอกพุดซ้อนป่า สมัยราชวงศ์หยวน(ค.ศ.1271–1368) และราชวงศ์ หมิง
(ค.ศ.1368–1644 ) พบภาพวาดดอกพุดซ้อนบนคนโทใส่สุรา และเครื่องปั้นดินเผาเขียนสี เมื่อ ค.ศ.
10
1794 คนอังกฤษคนแรกที่ทดลองปลูกต้นพุดซ้อนคือ เซอร์จอห์น แบโรว ต่อมา ค.ศ. 1757 เจมส์ กอร์
ดอน ได้นาต้นพุดซ้อนเข้ามาปลูกขายในประเทศอังกฤษทาให้พุดซ้อนเป็นที่นิยมปลูกในอังกฤษตั้งแต่
นั้นมา
4. ลักษณะทางพฤษศาสตร์
4.1. ลาต้น พุดซ้อนเป็นไม้ทรงพุ่มกลมสูงประมาณ 1-2 เมตร แตกกิ่งแขนงมากและค่อนข้าง
หนาทึบ ลาต้นเรียวเป็นรูปกรวย เปลือกสีน้าตาลดา
ภาพที่ 2.2 ภาพลาต้นทรงพุ่ม ที่หนาทึบ ภาพที่ 2.3 ภาพเปลือกสีน้าตาลดา
ภาพที่ 2.4 ภาพการแตกกิ่งของต้นพุดซ้อน
4.2.ใบ พุดซ้อนมีใบหนาแน่นทึบ โดยใบจะเป็นใบเดี่ยวออกเรียงตรงข้ามหรือใบประกอบ 3 ใบ รูปร่าง
ของใบเป็นรูปมนรีหรือรูปหอก ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ส่วนขอบใบเรียบมีสีขาว ใบกว้าง
ประมาณ 2-5 เซนติเมตรและยาวประมาณ7-14 เซนติเมตร แผ่นใบเรียบมันเป็นสีเขียวเข้ม เนื้อใบ
หนา ก้านใบสั้น มีหูใบ 2 อันอยู่ระหว่างก้านใบด้านละอันไม่ผลัดใบ
11
ภาพที่ 2.5 ใบพุดซ้อน
4.3.ดอก โดยมากเป็นดอกเดี่ยวชนิดดอกลา คือกลีบดอกชั้นเดียว และชนิดดอกซ้อน โดยจะออกตาม
ง่ามใบและปลายกิ่ง ดอกมีขนาดใหญ่ มีสีขาวและกลีบดอกรี ประมาณ 5-7 กลีบซ้อนกันหลายชั้น
โคนกลีบแหลม ปลายกลีบมน มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 7 เซนติเมตร เนื้อนุ่มและมีกลิ่น
หอมแบบอ่อน ๆ ดอกมีเกสรเพศผู้ 6 ก้านรูปแถบ ติดที่ปลายหลอดกลีบดอก เกสรเพศเมีย ก้าน
เกสรยาว ยอดเกสรเป็นกระจุกแน่น รังไข่จะอยู่ใต้ฐานรองดอก ส่วนกลีบเลี้ยงมีประมาณ 5-8 แฉก
ก้านดอกสั้นหรือไม่มีก้านดอก
ภาพที่ 2.6 ภาพดอกซ้อน ภาพที่ 2.7 ภาพดอกลา
4.4.ฝักและผล ผลมีลักษณะกลมเป็นรูปไข่ ออกแบบหัวทิ่มลง ผลอ่อนเมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสี
เหลืองทองหรือเป็นสีส้มถึงแดง ผลมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-1.5 เซนติเมตรและยาว
ประมาณ 3-7 เซนติเมตร เปลือกผลมีเหลี่ยมตามยาว ประมาณ 5-7 เหลี่ยม ภายในมีเมล็ดอยู่
ประมาณ 3-6 เมล็ด เมล็ดจะมีเนื้อเยื่อหุ้มเป็นสีแดง
ภาพที่ 2.8 ภาพผลสดพุดซ้อน ภาพที่ 2.9 ภาพเนื้อผลพุดซ้อนสีแดง
12
5. ประโยชน์ทางเภสัชศาสตร์
ลาต้น
- เนื้อไม้เป็นยาเย็น ช่วยลดพิษไข้
- เปลือกต้นเป็นยาแก้บิด แก้ปวดท้อง
- น้าจากต้นเป็นยาถ่ายพยาธิ
ใบ
- ใบที่ตาละเอียดเป็นยาแก้อาการปวดศีรษะ
ดอก
- น้าคั้นจากดอกนามาผสมกับน้ามันเป็นยาทารักษาโรค
ผล:
- สารสกัดจากผล
1. เป็นยาเย็น ออกฤทธิ์ต่อหัวใจและตับ ใช้เป็นยาดับพิษร้อนถอนพิษไข้ ช่วยแก้อาการ
ร้อนใน ขับน้าชื้น ทาให้เลือดเย็น แก้ตัวร้อน มีไข้สูง
2. ช่วยสลายลิ่มเลือด
3. ช่วยแก้อาการกระสับกระส่ายนอนไม่หลับ
4. ช่วยแก้ตาอักเสบ
5. ช่วยห้ามเลือดกาเดา
6. ช่วยแก้อาการเหงือกบวม ปวดฟัน
7. ช่วยรักษาแผลที่ปากและลิ้น
8. ช่วยลดการอาเจียนเป็นเลือด
9. ช่วยลดการปัสสาวะเป็นเลือด
10. เป็นยาขับพยาธิและขับปัสสาวะ
ราก
- สารสกัดจากราก
1. ช่วยแก้ท้องอืดท้องเฟ้อ
2. ช่วยแก้ผื่นคันตามผิวหนัง
3. ช่วยแก้ฝีหนองอักเสบ
4. ช่วยแก้อาการปวดบวม
13
5. รากตาละเอียดพอกแผลสด ห้ามเลือด ช่วยสมานบาดแผล
6. ประโยชน์ทั่วไป
1. ใช้ปลูกเป็นไม้ประดับสวนบริเวณบ้านทั่วไป ตัดแต่งทรงพุ่มและปลูกเป็นแนวรั้วได้ดี อีก
ทั้งดอกพุดซ้อนยังมีความหมายที่เป็นมงคลอีกด้วย โดยตามความหมายของไทยจะ
หมายถึงความแข็งแรง สมบูรณ์ ความเจริญมั่นคง ส่วนตามความหมายของชาวตะวันตก
คือรักแท้
2. ดอกนามาปักแจกัน หรือนาไปร้อยเป็นพวงมาลัยเพื่อสักการะพระพุทธรูป
3. ใช้ดอกมาอบใบชาให้มีกลิ่นหอม
4. ดอกสามารถนามาสกัดทาเป็นน้ามันหอมระเหย ใช้แต่งกลิ่นเครื่องสาอาง
5. ผลและเมล็ดเมื่อนามาบดจะให้สารสีเหลืองทองชื่อการ์เดนเนีย (Gardenia) ใช้เป็นสี
สาหรับแต่งสีอาหารให้เป็นสีเหลือง (เช่น การใช้ย้อมสีด้านนอกของเต้าหู้แข็ง แต่งสีน้า
เก๊กฮวย ส่วนในประเทศจีนใช้เป็นสีย้อมผ้า) และยังให้สารสีน้าตาลแดงชื่อคอร์ซิน
(Corcin) ใช้ผสมอาหารให้มีสีน้าตาลแดง
6. เนื้อไม้สามารถนามาใช้ทาธูป ทากรอบรูป และทาหัวน้าหอม
7. การปลูกและดูแลรักษา
การปลูก พุดซ้อน เป็นไม้กลางแจ้ง ต้องการแสงแดดจัด ชอบดินร่วนที่มีความอุดมสมบูรณ์เพียงพอ
นิยมปลูกในแปลงปลูก ขนาดหลุมปลูก 50 x 50 x 50 เซนติเมตร ใช้ปุ๋ยคอกหรือ ปุ๋ยหมัก : ดินร่วน อัตรา 1 :
2 ผสมดินปลูก ถ้าปลูกเพื่อประดับบริเวณบ้านหรืออาคาร ควรปลูกให้มีระยะหย่างที่เหมาะสม เพราะพุดซ้อน
เป็นไม้ที่มีทรงพุ่มใหญ่
การดูแลรักษา
แสง ต้องการแสงแดดจัด หรือกลางแจ้ง
น้า ต้องการปริมาณน้าปานกลาง ควรให้น้า 5-7 วัน/ครั้ง
ดิน ชอบดินร่วนซุย
ปุ๋ย ใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก อัตรา 2 -.3 กิโลกรัม / ต้น ควรใส่อย่างน้อยปีละ 2 - 3 ครั้ง หรือใช้
ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อัตรา 200-300 กรัม/ต้น ควรใส่ปีละ 3-4 ครั้ง
8. ข้อมูลทางเภสัชศาสตร์เพิ่มเติม
14
1. สารที่พบ ได้แก่ Jasminodin, Geniposide, Crocin, Shanzhiside, Genipin-1-B-
gentiobioside, Dipentene, Gardonin และยังพบ Gum, Tanin เป็นต้น
2. สารสกัดด้วยน้าหรือแอลกอฮอล์มีฤทธิ์ในการกระตุ้นน้าดีให้มีการไหลออกมากขึ้น และจาก
การทดลองกับกระต่ายก็พบว่า สารสกัดดังกล่าวสามารถช่วยยับยั้ง Bilirubin ของเม็ดเลือดที่
อยู่ในเส้นเลือดได้
3. เมื่อนาน้าที่ต้มได้จากผลพุดซ้อนหรือสารที่สกัดได้จากผลพุดซ้อนด้วยแอลกอฮอล์มาทดลอง
กับสัตว์ทดลอง เช่น หนู แมว หรือกระต่าย พบว่ามีฤทธิ์ทาให้ความดันของสัตว์ทดลองลดลง
ได้นานพอสมควร
4. ผลพุดซ้อนมีฤทธิ์เป็นยาห้ามเลือดและช่วยสมานบาดแผล
5. สารลิโนโลล (Linalool) มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านเชื้อรา มีฤทธิ์สงบประสาท และการ
อักเสบ
ข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับฮอร์โมนออกซิน (Auxin)
1. ชื่อฮอร์โมน: Auxin
ชื่อสารจากธรรมชาติ Indole-3-Acetic Acid (IAA)
ชื่อสารจากการสังเคราะห์ Indole Butyric Acid (IBA), Naphthalene Acetic Acid (NAA), 2,4-
Dichlorophenoxyacetic acid (2,4-D)
2. ประวัติการค้นพบ
นักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษทั้ง 2 คนคือชาร์ลส์และฟรานซิส ดาร์วิน ได้ทาการทดลอง 2
ครั้ง ครั้งแรกสังเกตพบว่าส่วนปลายยอด(coleoptile) ของหญ้าแคนารี (Phalaris canariensis) มักจะโค้งเข้า
หาแสงเสมอ แต่เมื่อเอาแผ่นวัตถุทึบแสง เช่น แผ่นตะกั่ว (tinfoil) มาคลุมส่วนปลายยอดเพื่อไม่ให้เซลล์บริเวณ
นี้โดนแสง ปรากฏว่าต้นพืชไม่โค้งเข้าหาแสง แม้ว่าส่วนล่างจะโดนแสงก็ตาม แต่เมื่อส่วนปลายยอดได้รับแสง
15
จากด้านใดด้านหนึ่งจะโค้งเข้าหาแสงได้ ครั้งที่สุดท้ายสังเกตพบว่า เมื่อตัดส่วนปลายยอดทิ้งไปประมาณ 2.5-
4.0 มิลลิเมตร ต้นพืชไม่โค้งเข้าหาแสงเลย จากการทดลองทั้ง 2 ครั้ง พวกเขาจึงสรุปว่า ส่วนปลายยอดมีสิ่งเร้า
บางอย่างที่เคลื่อนย้ายหรือลาเลียงไปยังส่วนที่ต่ากว่าแล้วไปมีอิทธิพลทาให้ส่วนที่อยู่ต่ากว่านั้นโค้งเข้าหาแสงได้
ชาร์ลส์และฟรานซิส ดาร์วิน (Chales and Francis Darwin (ค้นพบเมื่อ ค.ศ.1880))
ภาพการทดลองของดาร์วิน
ปีเตอร์ บอยเสน เจนเสน (Peter Boysen Jensen (ค้นพบเมื่อ ค.ศ. 1911))
16
นักสรีรวิทยาชาวเดนมาร์ก ได้แสดงให้เห็นว่าสิ่งเร้าที่มีอิทธิพลต่อการโค้งเข้าหาแสงของ ดาร์วินนั้น
เป็นสารเคมีซึ่งสร้างจากส่วนปลายยอดแล้วเคลื่อนย้ายลงไปส่วนล่างๆ ทาให้เกิดการโค้งเข้าหาแสง โดยเขา
ทดลองตัดส่วนปลายยอดส่วนหนึ่งของต้นอ่อนของข้าวโอ๊ตออก แล้ววางก้อนวุ้น(gelatin) ลงบนส่วนปลายยอด
ส่วนที่เหลือ และเอาส่วนปลายยอดที่ตัดออกไปนั้นมาวางบนก้อนวุ้นอีกทีหนึ่ง พบว่าต้นอ่อนโค้งเข้าหาแสง
นอกจากนี้เขายังเฉือนบางส่วนของส่วนปลายยอดด้านที่ไม่ได้รับแสงออกตามขวาง และเอาแผ่นแร่ไมกาบางๆ
สอดเข้าไป พบว่าต้นอ่อนไม่โค้งเข้าหาแสง แต่ถ้าเฉือนด้านที่ได้รับแสง และเอาแผ่นแร่ไมกาบางๆสอดเข้าไป ณ
ส่วนนั้น พบว่าต้นอ่อนโค้งเข้าหาแสง จากการทดลองของเจนเสน ที่กล่าวมาแล้วนั้น พบว่ามีสารที่เคลี่อนย้าย
จากส่วนปลายยอดลงมาส่วนล่างๆได้ โดยสารนั้นสามารถผ่านก้อนวุ้นได้ แต่ไม่สามารถผ่านแผ่นแร่ไมกาบางๆ
ได้ และด้านที่ไม่ได้รับแสงเป็นด้านที่มีสารเคมีนั้นเคลื่อนย้ายลงมาส่วนล่างๆเพื่อกระตุ้นให้ต้นอ่อนโค้งเข้าหา
แสงได้
ภาพการทดลองของเจนเสน
ภาพการทดลองของดาร์วินเปรียบเทียบกับของเจนเสน
17
ฟริตส์ วาร์โมล์ต เวนต์ (Frits Warmolt Went (ค้นพบเมื่อ ค.ศ.1926))
นักพฤษศาสตร์ชาวฮอลันดามีความคิดว่าเมื่อสารที่ส่วนปลายยอดสร้างขึ้นมาสามารถซึมผ่านก้อนวุ้น
ได้ ก็ควรถูกดูดซับไว้ได้ด้วย เขาจึงทดลอดตัดส่วนปลายยอดของต้นอ่อนข้าวโอ๊ตมาวางบนแผ่นวุ้นประมาณ 1-
2 ชั่วโมง แล้วนาเฉพาะแผ่นวุ้นนั้นไปวางบนส่วนที่เหลือหลังตัดส่วนปลายยอดออกแล้ว พบว่าต้นอ่อนโค้งเข้า
หาแสง เช่นเดียวกับการตัดส่วนปลายยอดแล้วเอามาวางที่เดิมที่ตัดออก เขาจึงสรุปว่าเมื่อวางส่วนปลายยอดที่
ตัดมาบนแผ่นวุ้นจะมีสารบางอย่างแพร่ออกมาจากปลายนั้นมาเก็บสะสมอยู่ในแผ่นวุ้น และสารนี้เป็นสารที่ทา
ให้ต้นอ่อนโค้งเข้าหาแสง เมื่อนาแผ่นวุ้นดังกล่าวมาวางบนส่วนปลายยอดที่ตัดทิ้งไป สารที่สะสมในก้อนวุ้นนั้นก็
แพร่เข้าไปส่วนล่างๆรอยตัด ทาให้ต้นอ่อนโค้งเข้าหาแสงได้ตามปกติ และนอกจากนั้นเขาได้วัดปริมาณสารที่
สะสมในแผ่นวุ้นพร้อมทั้งสกัดสารนั้นออกมาด้วย เรียกวิธีการวัดปริมาณสารโดยสังเกตจากอิทธิพลต่อเนื้อเยื่อ
สิ่งมีชีวิตอย่างนี้ว่า “การสอบปริมาณโดยชีววิธี (Bioassay)” เขาจึงตั้งชื่อสารนี้ว่า “ออกซิน (auxin)”
ภาพการทดลองของเวนต์
ต่อมาในปี ค.ศ.1934 นักวิทยาศาสตร์ได้สกัดสารเคมีที่ชื่อกรดอินโดลแอซิติก (Indole-3-Acetic Acid
(IAA)) ได้จากปัสสาวะคน ซึ่งเมื่อนามาทดลองกับต้นอ่อนพืชพบว่าได้ผลการทดลองเช่นเดียวกับการทดลอง
ของเวนต์ จึงสรุปว่าออกซินเป็นสารเคมีที่ชื่อว่ากรดอินโดลแอซิติก (IAA)
18
3. การทางานของออกซิน
ออกซินสร้างจากบริเวณส่วนปลายยอดของต้นพืช (coleoptile) แล้วแพร่ไปยังเซลล์อื่นๆที่อยู่ด้านล่าง
โดยจะไปกระตุ้นเซลล์บริเวณเนื้อเยื่อเจริญที่มีโมเลกุลออกซินให้ขยายขนาดหรือความยาวมากขึ้น
(elongation) ซึ่งทาให้ต้นพืชเกิดการเบน(tropism) มีสองแบบคือเบนออกจากสิ่งเร้า(negative tropism)
และเบนเข้าหาสิ่งเร้า (positive tropism) สิ่งเร้าในที่นี้คือแสง เพราะฉะนั้นการเบนเข้าหาแสงจึงเรียก
phototropism โดยออกซินจะเคลื่อนหนีแสง กล่าวคือบริเวณที่แสงมากความเข้มข้นของออกซินจะต่า บริเวณ
ที่แสงน้อบความเข้มข้นของออกซินจะสูง ส่วนของพืชที่ตอบสนองต่อออกซินแบ่งได้ 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ รากและ
ลาต้นซึ่งมีการตอบสนองต่อออกซินแตกต่างกัน
- ลาต้น ออกซินจะเคลื่อนหนีแสงทาให้บริเวณลาต้นที่ได้รับแสงมาก ความเข้มข้นออกซินจะต่า บริเวณ
ลาต้นที่ได้รับแสงน้อย ความเข้มข้นออกซินจะสูง ออกซินจะทาให้เนื้อเยื่อเจริญบริเวณส่วนของลาต้น
ที่ได้รับแสงน้อย (ความเข้มข้นออกซินสูง) เจริญมากกว่าส่วนที่ได้รับแสงมาก ลาต้นจึงโค้งเข้าหาแสง
- ราก ออกซินจะเคลื่อนหนีแสงทาให้บริเวณรากที่ได้รับแสงมาก ความเข้มข้นออกซินจะต่า บริเวณราก
ที่ได้รับแสงน้อย ความเข้มข้นออกซินจะสูง ออกซินจะทาให้เนื้อเยื่อเจริญบริเวณส่วนของรากที่ได้รับ
แสงมาก (ความเข้มข้นออกซินต่า) เจริญมากกว่าส่วนที่ได้รับแสงน้อย รากจึงโค้งหนีแสง หรือกล่าวคือ
เนื้อเยื่อเจริญบริเวณลาต้นขยายขนาดถ้าความเข้มข้นออกซินสูง เนื้อเยื่อเจริญบริเวณรากขยายขนาด
ถ้าความเข้มข้นออกซินต่า และถ้าทุกบริเวณของทั้งรากและลาต้นได้รับแสงบริเวณเท่ากันออกซินจะอ
ยู่รวมที่ยอดซึ่งทาให้รากและลาต้นงอกยาวตั้งฉากพื้นดินไม่โค้ง
ภาพกราฟแสดงผลของความเข้มของออกซินต่อการเจริญเติบโตของส่วนต่างๆของพืช
4. บทบาทของออกซิน
19
4.1. กระตุ้นให้เซลล์ยืดตัว (elongation)
4.2. กระตุ้นการแบ่งเซลล์ของแคมเบียมและท่อลาเลียงน้า
4.3. ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อถ้าความเข้มข้นออกซินต่า ไซโตคินินสูงจะเพิ่มจานวนรากและกระตุ้นการเกิด
แคลลัส (callus) ความเข้มข้นออกซินสูง ไซโตคินินต่าจะเพิ่มจานวนยอดและกระตุ้นการเกิดแคลลัสเช่นกัน
4.4. เร่งการงอกรากของกิ่งตอนหรือกิ่งชา
4.5. ช่วยเปลี่ยนเพศของดอกบางชนิด เช่น เงาะ
4.6. กระตุ้นการเจริญเป็นผลโดยไม่ปฏิสนธิ (parthenocarpic fruit) เช่น ส้ม, กล้วย และ
มะเขือเทศ
4.7. ยับยั้งการหลุดร่วงของใบ, ดอก และผล
4.8. ออกซินที่มีความเข้มข้นสูงใช้เป็นยาปราบวัชพืช เช่น 2,4-D ใช้ในสงครามเวียดนาม เรียกการโปรยออก
ซินปริมาณมากนี้ว่า “ฝนเหลือง” ซึ่งฮอร์โมนออกซินความเข้มข้นสูงนี้มีพิษต่อพืช คือใบร่วง เหี่ยว ยับยั้งการ
เจริญเติบโต
20
บทที่ 3 การดาเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. ฟ็อกกี้
2. กรวยกรอกน้า
3. บีกเกอร์ ขนาด 25 ml
4. บีกเกอร์ ขนาด 250 ml
5. หลอดฉีดยา ขนาด 12 ml
6. กระเป๋าเก็บอุปกรณ์ต่างๆ
7. ต้นพุดซ้อน 9 ต้น
8. ฮอร์โมนออกซิน เข้มข้น 4.5 %w/v
9. น้าเปล่า
ขั้นตอนการทาโครงงาน
1. ประชุมวางแผนคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ ซึ่งคือ การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินต่อการออก
ดอกของต้นพุดซ้อน
2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานดังนี้
2.1 ต้นพุดซ้อน
2.2 ฮอร์โมนออกซิน
3. วางแผนรายละเอียดการทดลอง
3.1 แบ่งต้นไม้เป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ต้น
3.1.1 กลุ่มที่ 1 ชุดทดลอง ใช้น้าเปล่าในการพ่น
3.1.2 กลุ่มที่ 2 ชุด low dose โดยใช้ฮอร์โมนออกซิน เข้มข้น 0.1 %w/v
3.1.3 กลุ่มที่ 3 ชุด high dose โดยใช้ฮอร์โมนออกซิน เข้มข้น 0.4 %w/v
3.2 ผสมฮอร์โมน โดยทาการผสมทั้งหมด 4 รอบ ซึ่งแต่รอบจะสามารถใช้ได้ 2 อาทิตย์
4. หาสถานที่ที่ใช้ในการทาทดลอง
5. จัดทาเค้าโครงโครงงาน เพื่อนาเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อนาไปปรับปรุงและแก้ไข
6. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทาการทดลองผลของฮอร์โมนออกซินต่อการออกดอกของต้นพุดซ้อน
6.1 ฟ็อกกี้ 3 อัน
21
6.2 กรวยกรอกน้า 1 อัน
6.3 บีกเกอร์ ขนาด 25 ml 1 ใบ
6.4 บีกเกอร์ ขนาด 250 ml 1 ใบ
6.5 หลอดฉีดยา ขนาด 12 ml 1 อัน
6.6 กระเป๋าเก็บอุปกรณ์ต่างๆ
6.7 ต้นพุดซ้อน 9 ต้น
6.8 ฮอร์โมนออกซิน เข้มข้น 4.5 %w/v จานวน 100 ml
6.9 น้าเปล่า จานวน 2600 ml
7. ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง
7.1 นาต้นไม้มาจัดเป็น 3 กลุ่มกลุ่มละ 3 ต้น โดยเรียงเป็นชุดทดลอง ชุด low dose และ ชุด
high dose ตามลาดับ
7.2 จัดทาป้ายสาหรับต้นไม้แต่ละต้นและ สาหรับแต่ละฟ็อกกี้
7.3 ทาการเติมน้าปริมาตร 225 ml ลงในฟ็อกกี้ของชุดควบคุม
7.4 ทาการผสมฮอร์โมน low does
7.4.1 นาหลอดฉีดยาดูดฮอร์โมนออกซินมาเข้มข้น 4.5 %w/v มา 5 ml
7.4.2 ตวงน้ามา 220 ml
7.4.3 น้าฮอร์โมนมาผสมลงในน้าที่เตรียมไว้แล้วเทลงในฟ็อกกี้ชุด low does
7.5 ทาการผสมฮอร์โมน high does
7.5.1 นาหลอดฉีดยาดูดฮอร์โมนออกซินมาเข้มข้น 4.5 %w/v มาใส่ลงในบีกเกอร์จานวน
20 ml
7.5.2 ตวงน้ามา 205 ml
7.5.3 น้าฮอร์โมนมาผสมลงในน้าที่เตรียมไว้แล้วเทลงในฟ็อกกี้ชุด high does
8. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เป็นระยะ
9. จัดทาเอกสารเป็นรูปเล่มโครงงานให้สมบูรณ์
10. จัดทาสื่ออภิปรายแสดงผลการทดลอง
11. นาเสนอโครงงาน
22
บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
วันที่
ชุดการ
ทดลอง
จานวนดอกที่เพิ่มขึ้น (ดอก) จานวนดอกรวม (ดอก)
หมายเหตุ
ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3 เฉลี่ย ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3 เฉลี่ย
5 มิ.ย.
High
Low
Control
0
1
0
1
0
1
0
0
0
1
1
1
0
1
0
1
0
1
0
0
0
1
1
1
7 มิ.ย.
High
Low
Control
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
1
0
1
0
1
0
0
0
1
1
1
12 มิ.ย.
High
Low
Control
0
0
0
0
0
0
0
1
0
0
1
0
0
1
0
1
0
1
0
1
0
1
1
1
14 มิ.ย.
High
Low
Control
0
0
0
0
0
0
1
0
0
1
0
0
0
1
0
1
0
1
1
1
0
1
1
1
16 มิ.ย.
High
Low
Control
0
0
1
0
0
0
0
0
0
0
0
1
0
1
1
1
0
1
1
1
0
1
1
1
กลุ่ม high
dose เริ่มมี
อาการใบไหม้
19 มิ.ย.
High
Low
Control
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
1
1
1
0
1
1
1
0
1
1
1
พบอาการใบเหลือง
จากโคนทุกชุดการ
ทดลอง
21 มิ.ย.
High
Low
Control
1
0
0
0
1
0
0
0
0
1
1
0
1
1
1
1
1
1
1
1
0
1
1
1
23 มิ.ย.
High
Low
0
0
0
0
0
0
0
0
1
1
1
1
1
1
1
1
23
Control 0 0 0 0 1 1 0 1
26 มิ.ย.
High
Low
Control
0
0
0
0
0
0
1
0
0
1
0
0
1
1
1
1
1
1
2
1
0
2
1
1
28 มิ.ย.
High
Low
Control
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
1
1
1
1
1
1
2
1
0
2
1
1
30 มิ.ย.
High
Low
Control
1
0
0
0
0
0
0
0
0
1
0
0
2
1
1
1
1
1
2
1
0
2
1
1
High dose ใบ
เหี่ยว
3 ก.ค.
High
Low
Control
0
0
0
0
0
0
0
0
1
0
0
1
2
1
1
1
1
1
2
1
1
2
1
1
เริ่มพ่นยาฆ่า
แมลง
5 ก.ค.
High
Low
Control
0
1
0
0
0
0
1
0
0
1
1
0
2
2
1
1
1
1
3
1
1
2
2
1
7 ก.ค.
High
Low
Control
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
2
2
1
1
1
1
3
1
1
2
2
1
10 ก.ค.
High
Low
Control
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
2
2
1
1
1
1
3
1
1
2
2
1
12 ก.ค.
High
Low
Control
0
0
0
1
0
0
0
0
0
1
0
0
2
2
1
2
1
1
3
1
1
3
2
1
ผลิดอกแต่ไม่
บาน
14 ก.ค.
High
Low
Control
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
2
2
1
2
1
1
3
1
1
3
2
1
พบเพลี้ยและ
มด
24
17 ก.ค.
High
Low
Control
0
0
0
1
0
0
0
0
0
1
0
0
2
2
1
3
1
1
3
1
1
3
2
1
19 ก.ค.
High
Low
Control
0
0
0
0
0
0
0
1
0
0
1
0
2
2
1
3
1
1
3
2
1
3
2
1
24 ก.ค.
High
Low
Control
1
0
0
0
0
0
0
0
0
1
0
0
3
2
1
3
1
1
3
2
1
3
2
1
ทาความสะอาด
ผลิดอกแต่ไม่
บาน
26 ก.ค.
High
Low
Control
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
0
3
2
1
3
1
1
3
2
1
3
2
1
ตารางแสดงจานวนดอกพุดซ้อนรวมตลอดการทดลองเฉลี่ย
ชุดการทดลอง High dose Low dose Control
จานวนดอกรวมเฉลี่ย (ดอก) 3 2 1
ภาพประกอบการเก็บข้อมูลในแต่ละระยะของการทดลอง
ภาพแสดง การแตกดอกของต้นที่ 3 ในชุดการทดลอง High dose ในวันที่ 14 มิถุนายน
25
ภาพแสดง อาการปลายใบไหม้ของต้นที่ 2 ในชุดการทดลอง High dose ในวันที่ 21 มิถุนายน
ภาพแสดง การแตกยอดอ่อนของต้นที่ 1 ในชุดการทดลอง Low dose ในวันที่ 5 กรกฎาคม
ภาพแสดง สภาพของชุดการทดลอง high dose ที่โดนแมลงกัดกิน ในวันที่ 7 กรกฎาคม
26
ภาพแสดง การแตกยอดอ่อนของต้นที่ 3 ในชุดการทดลอง Low dose ในวันที่ 19 กรกฎาคม
ภาพแสดง การแตกดอกของต้นที่ 1 ในชุดการทดลอง High dose ในวันที่ 24 กรกฎาคม
ภาพแสดง ไข่ของแมลงบนในของต้นที่ 1 ในชุด High dose ในวันที่ 26 กรกฎาคม
27
กราฟแสดงผลการทดลอง
วิเคราะห์ผลการทดลอง
จากผลการทดลองพบว่าความเข้มข้นของฮอร์โมนอกซินมีผลต่อจานวนดอกของต้นพุดซ้อน โดยที่ต้น
พุดซ้อนกลุ่มการทดลอง High dose มีจานวนดอกรวมเท่ากับ 9 ดอก เฉลี่ยต้นละ 3 ดอก และในกลุ่ม Low
dose มีจานวนดอกเท่ากับ 5 ดอก เฉลี่ยต้นละ 2 ดอก และในกลุ่มการทดลองชุดควบคุมมีจานวนดอก 3 ดอก
เฉลี่ยต้นละ 1 ดอก ซึ่งจะเห็นได้ว่าชุดการทดลอง High dose ซึ่งพ่นฮอร์โมนเข้มข้นกว่าชุดการทดลอง Low
0
1
2
3
4
1 3 8 10 12 15 17 19 22 24 26 29 31 33 36 38 40 43 45 50 52
จานวนดอก(ดอก)
จานวนวันในการทดลอง (วัน)
กราฟเส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจานวนดอกพุดซ้อนกับความ
เข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่พ่น
High dose Low dose Control
3
2
1
AXISTITLE
AXIS TITLE
กราฟแท่งแสดงความสัมพันธ์จานวนดอกพุดซ้อนที่บาน
ทั้งหมดกับความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่พ่น
High dose Low dose Control
28
dose และชุดควบคุม จะทาให้มีจานวนดอกมากกว่า และในกลุ่มการทดลอง Low dose ซึ่งพ่นฮอร์โมน
เข้มข้นกว่าชุดควบคุม มีจานวนดอกมากกว่าเช่นเดียวกัน ซึ่งสามารถเรียงลาดับจานวนดอกที่มีในแต่ละชุดการ
ทดลองจากมากไปน้อยคือ High dose, Low dose และชุดควบคุมตามลาดับ แต่พบว่าฮอร์โมนออกซินที่มี
ความเข้มข้นสูงมีผลข้างเคียงด้วย คืออาการใบเหี่ยวและใบไหม้ ซึ่งพบในชุดการทลอง High dose เท่านั้นไม่
พบในชุดการทดลองอื่น ๆ
29
บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
สรุปผลการทดลอง
จากผลการทดลองดังแสดงในบทที่ 4 แสดงให้เห็นว่าการพ่นฮอร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้นมากจะ
ส่งผลให้ต้นพุดซ้อนมีจานวนดอกมาก ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่คาดการณ์เอาไว้ข้างต้น คือ ถ้าฮอร์โมนออก
ซิน (Auxin) ที่ความเข้มข้น 0.4% w/v มีผลทาให้มีจานวนดอกมากที่สุด ซึ่งเป็นอิทธิพลของฮอร์โมน แต่พบว่า
มีความเข้มข้นของฮอร์โมนที่สูงยังมีผลทาให้เกิดอาการเหี่ยวและไหม้ด้วย
ผลที่เกิดขึ้นแสดงให้เห็นว่าฮอร์โมนออกซินมีผลกับต้นพุดซ้อนดังนี้คือ
1. เพิ่มการเจริญและแตกดอกของต้นพุดซ้อน ซึ่งฮอร์โมนออกซินมีผลกระตุ้นการแบ่งเซลล์ของพุด
ซ้อน ส่งผลให้เกิดการแตกยอดและดอกเพิ่มขึ้น ดังผลการทดลองว่าสารละลายฮอร์โมนออกซิน
(Auxin) ที่ความเข้มข้น 0.4% w/v จะทาให้พุดซ้อนมีจานวนดอกมากที่สุด รองลงมาเป็นชุดการ
ดลอง Low dose ซึ่งมีจานวนดอกน้อยกว่า และชุดควบคุมทีจานวนดอกน้อยที่สุด จะเห็นได้ว่า
จานวนดอกแปรผลตามความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน
2. ความเข้มข้นของฮอร์โมนที่สูงถึง 0.4% w/v ส่งผลให้ปลายใบของต้นพุดซ้อนเหี่ยวและไหม้ แต่ไม่
พบอาการนี้ในชุดการทดลองอื่น ๆ แสดงว่าฮอร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้นสูงมีผลต่อพุดซ้อน
โดยเฉพาะที่ใบของพุดซ้อน ส่งผลทาให้ใบเหี่ยวและไหม้ ดังบทบาทของฮอร์โมนออกซินที่ได้กล่าว
ไว้ในบทที่ 2 ว่าถ้าใช้ในความเข้มข้นที่สูงเกินไปจะมีผลเป็นพิษกับพืช
จากผลการทดลองสามารถสรุปได้ว่าความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินมีผลต่อต้นพุดซ้อนโดยความ
เข้มข้นมากจะส่งผลมีดอกมากตามไปด้วย และความเข้มข้นของฮอร์โมนที่สูงเกินไปจะส่งผลให้ต้นพุดซ้อนมี
อาการใบไหม้และร่วงได้ ดังผลการทดลองที่บันทึกไว้
30
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
ปัญหาและการแก้ไขปัญหาของโครงงาน
ปัญหา ชุดการทดลองมีอาการใบเหลือง
การแก้ไข
- เติมปุ๋ยเคมีเพื่อให้ธาตุอาหารหลักบารุงใบ เช่นปุ๋ยยูเรีย
- เติมดินเพื่อทดแทนดินที่หายไปและขาดแร่ธาตุจากการรดน้า
- ลดปริมาณน้าที่รดในแต่ครั้งลง เพื่อป้องกันการชะล้างดินและแร่ธาตุ
ปัญหา พบอาการใบเหี่ยวม้วนงอและรอยกัดแทะของแมลงบนใบไม้
การแก้ไข
- ตรวจหาแมลงหรือศัตรูพืชที่เป็นต้นเหตุของปัญหา
- ทาลายไข่ของแมลงศัตรูพืชที่ถูกวางไว้บนใบ
- ทาความสะอาดกระถางและถุงรองกระถางให้สะอาด เพื่อขจัดแมลงและเชื้อราจากปลูกในบริเวณที่
ความชื้นสูง
- เด็ดใบไม้ที่เหี่ยวแห้ง และเด็ดยอดที่มีเชื้อราคลุมไปทิ้ง
ปัญหา ใบเหี่ยวในวันที่อากาศร้อน
การแก้ไข
- รดน้าเพิ่มเติมในตอนเช้า พร้อมทั้งตรวจสอบต่อเนื่องว่ามีอาการอย่างใร
- ย้ายกระถางไปหลบในที่ซึ่งแดดส่องไม่ถึงเป็นการชั่วคราว
ปัญหา ในชุดการทดลอง High dose มีอาการใบเหลืองมากกว่าชุดการทดลองอื่นๆ
การแก้ไข
- ปรับลดความถี่ในการพ่นฮอร์โมน จากแผนเดิมที่กาหนดไว้ 3 ครั้งต่อสัปดาห์ เป็น สองครั้งต่อสัปดาห์
การต่อยอดในการทาโครงงานครั้งต่อไป
สิ่งที่ควรปฏิบัติ
- การผสมสารเคมีทุกครั้งจาเป็นต้องใช้ถุงมือและผ้าปิดปาก เพื่อป้องกันการระคายเคือง
- ในการทดลองเกี่ยวกับต้นไม้ ควรดูแลความสะอาดและความอับชื้นของพื้นที่ให้ดี เพื่อป้องกันการ
เจริญเติมโตของเชื้อโรคและเชื้อรา
31
- ควรหมั่นดูแลและตรวจสภาพของพืชให้สมบูรณ์ตลอดเวลา ถ้าพบปัญหาจะได้สามารถแก้ไขได้อย่าง
ทันท่วงที
32
บรรณานุกรม
บรรณานุกรมภาษาไทย
1. วีรวัช เอนกจานงค์พร. 2560. ฮอร์โมนพืช: ออกซิน. กทมฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
2. คณาจารย์หมวดวิชาชีววิทยาระดับชั้น ม.6 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา. 2559. auxin. กทมฯ: โรง
พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
3. เชาว์ ชิโนรักษ์. 2541. ฮอร์โมนพืช (PLANT HORMONE): AUXIN (Indole Compound). กทม
ฯ:โสภณการพิมพ์.
4. ศุภณัฐ ไพโรหกุล. 2559. ออกซิน(auxins). กทมฯ: บริษัท แอคทีฟ พริ้นท์.
5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กระทรวงศึกษาธิการ. 2558. วิธีบันทึกแหล่งที่มา: หนังสือเล่ม. กทม
ฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว.
6. ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2560. “พุดซ้อน”. (นพ
พล เกตุประสาท, ไพร มัทธวรัตน์). (ออนไลน์). แหล่งที่มา: clgc.rdi.ku.ac.th. 25 กรกฏาคม
2560.
7. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.). 2560. “พุด
ซ้อน”. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: www.tistr.or.th. 29 กรกฏาคม 2560.
8. สถาบันการแพทย์ไทย-จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้.2560. “กีจื้อ”. (ออนไลน์). แหล่งที่มา:
tcm.dtam.moph.go.th. 29 กรกฏาคม 2560.
9. ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์. “รูปแบบการเขียนบรรณานุกรม: ตัวอย่าง”. (ออนไลน์). แหล่งที่มา:
http://www.arts.chula.ac.th/libsci/วิจัย /เอกสารบรรณารักษศาสตร์/รูปแบบการเขียน
บรรณานุก-2/. 31 กรกฏาคม 2560.
บรรณานุกรมภาษาอังกฤษ
1. Cambell, Neil A. Auxin. England: Pearson Education Limited, 2015.
2. Yang Yifang, Chinese Herbal Medicines Comparisons and Characteristics.
London: Churchill Livingstone, 2002.
3. Mitchell C. ,Ten Lectures on the Use of Medicinals from their Personal
Experience of Jiao Shude. Brookline: Paradigm Publications ,2003.
33
4. Huang Bingshan and Wang Yuxia, Thousand Formulas and Thousand
Herbs of Traditional Chinese Medicine. Harbin: Heilongjiang Education
Press ,1993.
5. Liang Guangyi, et al., Effects of different compounding of formulae on
content of gardenoside in Yinchenhao Decoction, Journal of Traditional
Chinese Medicine 2002; 22(1): 55-60.
6. State Administration of Traditional Chinese Medicine, Advanced Textbook
on Traditional Chinese Medicine and Pharmacolog. Beijing: 1995-6 New
World Press.
7. Dharmananda, Subhuti . 2017. GARDENIA:Key Herb for Dispelling Dampness and
Heat Via the Triple Burner (online). Avaliable:
http://www.itmonline.org/arts/gardenia.htm. 31 July 2017.
8. No author cited. 2017. Capejasmine Fruit. Fructus Gardeniae (online). Avaliable:
https://www.mdidea.com/products/proper/proper022.html. 31 July 2017.
9. Williamson, Joel. 2017. Gardenia (online). Avaliable:
http://www.clemson.edu/extension/hgic/plants/landscape/shrubs/hgic1065.html. 31
July 2017
34
ภาคผนวก
ภาพประกอบการทาโครงงาน
รูปแสดง การตรวจติดตามโครงงานครั้งที่ 1
รูปแสดง การผสมฮอร์โมนครั้งที่ 1
รูปแสดง การจัดวางต้นไม้เพื่อทาการทดลอง
35
รูปแสดง การพ่นฮอร์โมน
รูปแสดง การพ่นน้าเปล่า
รูปแสดง ดอกพุดซ้อนที่บานในสัปดาห์ที่สอง
36
รูปแสดง การดูแลรักษาต้นไม้ (เก็บเศษใบไม้และวัชพืช)
รูปแสดง การดูแลรักษาต้นไม้ (เก็บเศษใบไม้และวัชพืช)
รูปแสดง การตรวจพบอาการใบเหลืองและรอยกัดแทะของแมลง
37
รูปแสดง การดูแลรักษาต้นไม้ (เติมดิน)
รูปแสดง การดูแลรักษาต้นไม้ (เก็บเศษใบไม้และวัชพืช)
ภาพแสดง ไข่ของแมลงบนในของต้นที่ 1 ในชุด High dose ในวันที่ 26 กรกฎาคม
38
รูปแสดง การตรวจติดตามโครงงานครั้งที่ 2
รูปแสดง การตรวจติดตามโครงงานครั้งที่ 2

More Related Content

What's hot (20)

M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
 
M6 78 60_6
M6 78 60_6M6 78 60_6
M6 78 60_6
 
M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
 
M6 144 60_2
M6 144 60_2M6 144 60_2
M6 144 60_2
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
 
M6 78 60_2
M6 78 60_2M6 78 60_2
M6 78 60_2
 
Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
M6 125 60_7
M6 125 60_7M6 125 60_7
M6 125 60_7
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
 
M6 143 60_3
M6 143 60_3M6 143 60_3
M6 143 60_3
 
Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
 
Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
 
M6 78 60_3
M6 78 60_3M6 78 60_3
M6 78 60_3
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
 

Similar to M6 125 60_10

บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมKaka619
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซินการศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซินRusPateepawanit
 

Similar to M6 125 60_10 (18)

M6 125 60_4
M6 125 60_4M6 125 60_4
M6 125 60_4
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 
M6 126 60_3
M6 126 60_3M6 126 60_3
M6 126 60_3
 
M6 143 60_6
M6 143 60_6M6 143 60_6
M6 143 60_6
 
M6 125 60_2
M6 125 60_2M6 125 60_2
M6 125 60_2
 
M6 126 60_8
M6 126 60_8M6 126 60_8
M6 126 60_8
 
M6 144 60_7
M6 144 60_7M6 144 60_7
M6 144 60_7
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
 
M6 126 60_10
M6 126 60_10M6 126 60_10
M6 126 60_10
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซินการศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

M6 125 60_10

  • 1. 1 โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจานวนดอกของต้นพุดซ้อน นาเสนอครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. นายกิตติพัฑฒ์ จรณโยธิน เลขที่ 26 2. นายณัชพล นาควิจิตร เลขที่ 32 3. นายธนดล สิริจันทกุล เลขที่ 33 4. นายพงศธร สัมมาวิวัฒน์ เลขที่ 35 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 2. 2 บทคัดย่อ พืช ล้วนเเล้วเเต่มีส่วนสาคัญในการดารงชีวิต ในชีวิตประจาของพวกเราจะต้องเจอสิ่งมีชีวิตจาพวกพืช จนเป็นเรื่องธรรมดา โดยพืชนั้นมีหลายประเภท เช่น พืชที่เป็นไม้เลื้อย ไม้ยืนต้น ไม้ล้มลุก เป็นต้น จาก การศึกษาเรื่องฮอร์โมนพืชตามหลักสูตรการศึกษาในระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เพื่อเป็นการศึกษาให้เข้าใจถึง เรื่องฮอร์โมน ชนิดนั้นอย่างถ่องเเท้รวมถึงเป็นงาน Formative พวกเราจึงได้จัดทาโครงการศึกษาผลกระทบ ของฮอร์โมนที่มีต่อพืช โดยได้ทาการ เลือกฮอร์โมนมากลุ่มละ 1 ชนิด เเละ เลือกพืชที่จะศึกษาอีก 1 ชนิด เเละ ทาการออกเเบบการทดลองเเละทาการศึกษาตามที่ได้กาหนดไว้ โดยในงานนี้จะมีการบันทึกข้อมูลที่ทาการทดลองเเต่ละครั้งอย่างสม่าเสมอ รวมถึงการควบคุมชนิด ของฮอร์โมนที่ถูกฉีดให้พืช โดยจะเเบ่งเป็น กลุ่ม control, low dose เเละ low dose เเละยังมีการถ่ายรูป การทดลอง รวมถึงมีการติดตามผลการดาเนินงานโครงงานนี้จากครูผู้สอนอย่างใกล้ชิด จากกาดทดลอง ฮอร์โมนครั้งนี้ โดย ฮอร์โมนกลุ่มของพวกเราใช้ฮอร์โมนออกซิน ซึ่งมีผลเป็นการยับยั้ง ดอก จึงพบได้ว่า กลุ่มที่มีการฉีดฮอร์โมน จะไม่จานวนดอกน้อยกว่า โดย ปริมาณดอกของ low dose เเละ high dose พบว่ามีเท่าๆกัน ส่วนของ control จะมีดอกมากกว่าของพืชที่ถูกฉีดฮอร์โมน
  • 3. 3 คานา รายงานฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อเป็นส่วนหนึ่งชองการเรียนรู้และความเข้าใจในบทเรียนของวิชา ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เรื่องฮอร์โมนและผลของฮอร์โมนที่มีต่อพืช โดยมีจุดประสงค์ เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินกับจานวนดอกของต้นพุดซ้อน ซึ่งสามารถนา ผลการทดลองไปวิเคราะห์และหาความสัมพันธ์ของฮอร์โมนออกซินต่อพืชได้ ซึ่งหวังว่าโครงงานนี้จะเป็น ประโยชน์และสามารถเป็นแนวทางในการศึกษาเรื่องฮอร์โมนพืชในเวลาต่อไป โครงงานนี้ไม่สามารถสาเร็จลุล่วงลงไปได้เลย ถ้าขาดความช่วยเหลือจาก ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู ประจารายวิชาชีววิทยา 5 ที่ให้คาปรึกษามาโยตลอด ครูประจาตึก 2 ที่อนุญาตให้ใช้พื้นที่บริเวณอาคารเรียน รวมทั้งผู้ปกครองที่ช่วยเหลือทางด้านเงินทุน และการจัดหาอุปกรณ์ต่างๆ ที่นามาใช้ในโครงงานครั้งนี้ คณะผู้จัดทา
  • 4. 4 กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจานวนดอกของต้นพุดซ้อน จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจากผู้อานวยการโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ดร.ปรเมษฐ์ โมลี ในด้านการใช้พื้นที่ใน โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ครูประจาวิชา อาจารย์ วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับโครงงาน ทั้งก่อนเริ่มทาโครงงานและตลอดระยะเวลาทาโครงงาน อาจารย์หัวหน้าตึก 2 อาจารย์ อัมพา ณ พัทลุง ที่เอื้อเฟื้อสถานที่บริเวณตึก 2 เป็นสถานในการทาการทดลองโครงงาน ขอขอบคุณผู้ปกครอง ครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษาและเพื่อนๆที่ให้กาลังใจตลอดมา คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา
  • 5. 5 สารบัญ หน้า บทคัดย่อของโครงงาน 2 คานา 3 กิตติกรรมประกาศ 4 สารบัญ 5 บทที่ 1 บทนา 6 ปัญหา ที่มาและความสาคัญ 6 สมมติฐานของการทดลอง 7 วัตถุประสงค์ของการทดลอง 7 ช่วงระยะเวลาการทดลอง 7 ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง 7 บทที่ 2 ข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้อง 8 ข้อมูลและเอกสารเกี่ยวกับต้นพุดซ้อน 8 . ข้อมูลและเอกสารเกี่ยวกับฮอร์โมนออกซิน 14 บทที่ 3 การดาเนินงาน 20 วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 20 ขั้นตอนการปฏิบัติโครงงาน 20 บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง 22 ตารางบันทึกผลการทดลอง 22 กราฟแท่งแสดงผลการทดลอง 27 วิเคราะห์ผลการทดลอง 28 บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 29 สรุปผลการทดลอง 29 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 30 บรรณานุกรม 32 ภาคผนวก 34
  • 6. 6 บทที่ 1 บทนา ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจานวนดอกของต้นพุดซ้อน สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. นายกิตติพัฑฒ์ จรณโยธิน เลขที่ 26 2. นายณัชพล นาควิจิตร เลขที่ 32 3. นายธนดล สิริจันทกุล เลขที่ 33 4. นายพงศธร สัมมาวิวัฒน์ เลขที่ 35 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อาจารย์ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ปัญหา ที่มาและความสาคัญ เนื่องจาก ต้นพุดซ้อนที่ได้นามาศึกษา มีประวัติอันยาวนาน โดยถิ่นเดิมของดอกพุดซ้อนนั้นเข้าใจว่าอยู่ ในประเทศจีน และได้ส่งผ่านตามภูมิภาคด้านบนของประเทศไทย และเป็นที่รู้จักในประเทศไทยมายาวนาน เนื่องจากพบการกล่าวถึงต้อนพุดซ้อน ดอกพุดซ้อนในบทโครงกลอน รามเกียรติ์ - พระราชนิพนธ์ในรัชกาลที่ 1 และในบทกลอนของ สุนทรภู่ เรื่องพระอภัยมณี ในเชิงเศรษฐกิจ ต้นพุดซ้อนนิยมนาไปร้อยเป็นพวงมาลัยบูชา พระ และสามารถนาเมล็ดสีเหลืองทองไปทาสีเหลืองแต่งอาหาร ใช้ส่วนดอกในการสกัดน้ามันหอมระเหยใช้ใน อุตสาหกรรมเครื่องสาอางอีกด้วย นอกจากนี้ ฮอร์โมนออกซินที่ใช้ในการศึกษา มีผลต่อการเจริญเติบโตของ เนื้อเยื่อพืช กระตุ้นการเจริญเติบโต ทาให้มีการแบ่งเซลล์และมีการยืดตัวของเซลล์ ฮอร์โมนออกซินจะส่งผลให้ ต้นพุดซ้อนเจริญเติบโตมากขึ้น จึงเป็นที่มาของการศึกษาผ่านการทดลองโครงงานนี้ คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนออกซิน (Auxin) ที่มีต่อ จานวนดอกของต้นพุดซ้อนโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนออกซิน (Auxin) ที่มี ต่อการเจริญดอกของต้นพุดซ้อน และ เพื่อเปรียบเทียบจานวนดอกที่เจริญเติบโตตามความเข้นข้นของฮอร์โมน ออกซิน (Auxin) คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมี ประโยชน์ต่อการประยุกต์องค์ความรู้ในการเพาะเลี้ยงต้นพุดซ้อนเพื่อเกษตรและในด้านอื่นๆในอนาคตต่อไป
  • 7. 7 คาถามการทาโครงงาน สารละลายฮอร์โมนออกซิน (Auxin) ที่ความเข้มข้นใดจะส่งผลให้ต้นพุดซ้อนมีจานวนดอกมากที่สุด สมมติฐานการทดลอง ถ้าฮอร์โมนออกซิน (Auxin) ที่ความเข้มข้น 0.4% w/v มีผลต่อดอกเจริญดีที่สุด ดังนั้น สารละลาย ฮอร์โมนออกซิน (Auxin)ที่ความเข้มข้น 0.4% w/v จะทาให้ดอกมี จานวนดอกมากที่สุด วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนออกซิน (Auxin) ที่มีต่อการเจริญดอกของต้นพุดซ้อน 2. เพื่อเปรียบเทียบจานวนดอกที่เจริญเติบโตตามความเข้นข้นของฮอร์โมนออกซิน (Auxin) ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องฮอร์โมนที่มีผลต่อการเจริญดอกของต้นพุดซ้อน 2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบความเข้มเข้นของฮอร์โมนในระดับต่างๆ 3. เป็นการส่งเสริมให้ศึกษาค้นคว้าเพื่อใช้ประโยชน์จากองค์ความรู้ในการปลูกต้นพุดซ้อน ขอบเขตของโครงงาน การทาโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะจานวนดอกของต้นพุดซ้อน ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน ตัวแปรตาม คือ จานวนดอกของต้นพุดซ้อน ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณแสงที่พืชได้รับ ปริมาณน้าที่รดให้กับต้นไม้ ความชื้นบนใบไม้ ภายหลังฉีดฮอร์โมน ความสูงและอายุของต้นไม้ก่อนการดลอง ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน 5 มิถุนายน พ.ศ. 2560 ถึง 26 กรกฎาคม 2560 วิธีการเก็บข้อมูล ตรวจวัดจานวนดอกของต้นไม้ โดยตรวจวัดทุก ๆ วันที่พ่นฮอร์โมนโดยทาเครื่องหมายกับดอกที่นับ แล้ว พร้อมทั้งถ่ายรูปเก็บไว้
  • 8. 8 วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล นาข้อมูลการตรวจวัดจานวนดอกของต้นไม้ที่เพิ่มขึ้นในแต่ละวันมาเฉลี่ย พร้อมทั้งนับจานวนดอกรวม ของแต่ละต้นแล้วนามาเฉลี่ยเช่นเดียวกัน โดยใช้ค่าเฉลี่ยแบบค่าเฉลี่ยเลขคณิต แล้วปัดเศษทศนิยมขึ้นเป็น จานวนเต็มเสมอ เนื่องจากเป็นการนับจานวนของสิ่งมีชีวิต แล้วนาค่าเฉลี่ยมาพล็อตกราฟจานวนดอกพุดซ้อน เฉลี่ยรวมในแต่ละวัน พร้อมทั้งเปรียบเทียบจานวนดอกเฉลี่ยรวมทั้งหมดด้วย
  • 9. 9 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลและเอกสารเกี่ยวกับต้นพุดซ้อน ภาพที่ 2.1 ภาพดอกพุดซ้อน 1. ข้อมูลทั่วไป ชื่อสามัญภาษาไทย: พุดซ้อน, พุดจีน, พุดใหญ่ ชื่อสามัญภาษาอังกฤษ: Gardenia, Cape Jasmine, Cape Jessamine, Danh-Danh, Jasmin ชื่อท้องถิ่น: เก็ดถะหวา, อินถะหวา, เค็ดถวา, พุดสา, พุดสวน, พุดจีบ, พุด, พุดจีน, พุดใหญ่ , พุทธรักษา, พุดป่า, พุดฝรั่ง, กีจื้อ, จือจื่อ,สุ่ยจือจื่อ,ซัวอึ้งกี่, จุยเจียฮวย ชื่อทวินาม(binomial name): Gardenia jasminoides ชื่ออื่น: Gardenia angustifolia Lodd. Gardenia augusta Merr. nom. illeg. Gardenia florida L. nom. illeg. อาณาจักร: Plantae อันดับ: Gentianales วงศ์: Rubiaceae สกุล: Gardenia สปีชีส์: Gardenia jasminoides 2. แหล่งกระจายพันธุ์: พบทั่วไปในทวีปเอเชีย ในประเทศเวียดนาม, จีนตอนใต้, เกาหลี, ไต้หวัน, ญี่ปุ่น, เมียนมาร์ และอินเดีย 3. ประวัติการค้นพบ: พบการปลูกต้นพุดซ้อนตั้งแต่สมัยราชวงศ์ซ่งของจีน (ค.ศ. 960-1279) โดยมี หลักฐานจากภาพวาดที่แสดงดอกพุดซ้อนป่า สมัยราชวงศ์หยวน(ค.ศ.1271–1368) และราชวงศ์ หมิง (ค.ศ.1368–1644 ) พบภาพวาดดอกพุดซ้อนบนคนโทใส่สุรา และเครื่องปั้นดินเผาเขียนสี เมื่อ ค.ศ.
  • 10. 10 1794 คนอังกฤษคนแรกที่ทดลองปลูกต้นพุดซ้อนคือ เซอร์จอห์น แบโรว ต่อมา ค.ศ. 1757 เจมส์ กอร์ ดอน ได้นาต้นพุดซ้อนเข้ามาปลูกขายในประเทศอังกฤษทาให้พุดซ้อนเป็นที่นิยมปลูกในอังกฤษตั้งแต่ นั้นมา 4. ลักษณะทางพฤษศาสตร์ 4.1. ลาต้น พุดซ้อนเป็นไม้ทรงพุ่มกลมสูงประมาณ 1-2 เมตร แตกกิ่งแขนงมากและค่อนข้าง หนาทึบ ลาต้นเรียวเป็นรูปกรวย เปลือกสีน้าตาลดา ภาพที่ 2.2 ภาพลาต้นทรงพุ่ม ที่หนาทึบ ภาพที่ 2.3 ภาพเปลือกสีน้าตาลดา ภาพที่ 2.4 ภาพการแตกกิ่งของต้นพุดซ้อน 4.2.ใบ พุดซ้อนมีใบหนาแน่นทึบ โดยใบจะเป็นใบเดี่ยวออกเรียงตรงข้ามหรือใบประกอบ 3 ใบ รูปร่าง ของใบเป็นรูปมนรีหรือรูปหอก ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ส่วนขอบใบเรียบมีสีขาว ใบกว้าง ประมาณ 2-5 เซนติเมตรและยาวประมาณ7-14 เซนติเมตร แผ่นใบเรียบมันเป็นสีเขียวเข้ม เนื้อใบ หนา ก้านใบสั้น มีหูใบ 2 อันอยู่ระหว่างก้านใบด้านละอันไม่ผลัดใบ
  • 11. 11 ภาพที่ 2.5 ใบพุดซ้อน 4.3.ดอก โดยมากเป็นดอกเดี่ยวชนิดดอกลา คือกลีบดอกชั้นเดียว และชนิดดอกซ้อน โดยจะออกตาม ง่ามใบและปลายกิ่ง ดอกมีขนาดใหญ่ มีสีขาวและกลีบดอกรี ประมาณ 5-7 กลีบซ้อนกันหลายชั้น โคนกลีบแหลม ปลายกลีบมน มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 7 เซนติเมตร เนื้อนุ่มและมีกลิ่น หอมแบบอ่อน ๆ ดอกมีเกสรเพศผู้ 6 ก้านรูปแถบ ติดที่ปลายหลอดกลีบดอก เกสรเพศเมีย ก้าน เกสรยาว ยอดเกสรเป็นกระจุกแน่น รังไข่จะอยู่ใต้ฐานรองดอก ส่วนกลีบเลี้ยงมีประมาณ 5-8 แฉก ก้านดอกสั้นหรือไม่มีก้านดอก ภาพที่ 2.6 ภาพดอกซ้อน ภาพที่ 2.7 ภาพดอกลา 4.4.ฝักและผล ผลมีลักษณะกลมเป็นรูปไข่ ออกแบบหัวทิ่มลง ผลอ่อนเมื่อสุกแล้วจะเปลี่ยนเป็นสี เหลืองทองหรือเป็นสีส้มถึงแดง ผลมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1-1.5 เซนติเมตรและยาว ประมาณ 3-7 เซนติเมตร เปลือกผลมีเหลี่ยมตามยาว ประมาณ 5-7 เหลี่ยม ภายในมีเมล็ดอยู่ ประมาณ 3-6 เมล็ด เมล็ดจะมีเนื้อเยื่อหุ้มเป็นสีแดง ภาพที่ 2.8 ภาพผลสดพุดซ้อน ภาพที่ 2.9 ภาพเนื้อผลพุดซ้อนสีแดง
  • 12. 12 5. ประโยชน์ทางเภสัชศาสตร์ ลาต้น - เนื้อไม้เป็นยาเย็น ช่วยลดพิษไข้ - เปลือกต้นเป็นยาแก้บิด แก้ปวดท้อง - น้าจากต้นเป็นยาถ่ายพยาธิ ใบ - ใบที่ตาละเอียดเป็นยาแก้อาการปวดศีรษะ ดอก - น้าคั้นจากดอกนามาผสมกับน้ามันเป็นยาทารักษาโรค ผล: - สารสกัดจากผล 1. เป็นยาเย็น ออกฤทธิ์ต่อหัวใจและตับ ใช้เป็นยาดับพิษร้อนถอนพิษไข้ ช่วยแก้อาการ ร้อนใน ขับน้าชื้น ทาให้เลือดเย็น แก้ตัวร้อน มีไข้สูง 2. ช่วยสลายลิ่มเลือด 3. ช่วยแก้อาการกระสับกระส่ายนอนไม่หลับ 4. ช่วยแก้ตาอักเสบ 5. ช่วยห้ามเลือดกาเดา 6. ช่วยแก้อาการเหงือกบวม ปวดฟัน 7. ช่วยรักษาแผลที่ปากและลิ้น 8. ช่วยลดการอาเจียนเป็นเลือด 9. ช่วยลดการปัสสาวะเป็นเลือด 10. เป็นยาขับพยาธิและขับปัสสาวะ ราก - สารสกัดจากราก 1. ช่วยแก้ท้องอืดท้องเฟ้อ 2. ช่วยแก้ผื่นคันตามผิวหนัง 3. ช่วยแก้ฝีหนองอักเสบ 4. ช่วยแก้อาการปวดบวม
  • 13. 13 5. รากตาละเอียดพอกแผลสด ห้ามเลือด ช่วยสมานบาดแผล 6. ประโยชน์ทั่วไป 1. ใช้ปลูกเป็นไม้ประดับสวนบริเวณบ้านทั่วไป ตัดแต่งทรงพุ่มและปลูกเป็นแนวรั้วได้ดี อีก ทั้งดอกพุดซ้อนยังมีความหมายที่เป็นมงคลอีกด้วย โดยตามความหมายของไทยจะ หมายถึงความแข็งแรง สมบูรณ์ ความเจริญมั่นคง ส่วนตามความหมายของชาวตะวันตก คือรักแท้ 2. ดอกนามาปักแจกัน หรือนาไปร้อยเป็นพวงมาลัยเพื่อสักการะพระพุทธรูป 3. ใช้ดอกมาอบใบชาให้มีกลิ่นหอม 4. ดอกสามารถนามาสกัดทาเป็นน้ามันหอมระเหย ใช้แต่งกลิ่นเครื่องสาอาง 5. ผลและเมล็ดเมื่อนามาบดจะให้สารสีเหลืองทองชื่อการ์เดนเนีย (Gardenia) ใช้เป็นสี สาหรับแต่งสีอาหารให้เป็นสีเหลือง (เช่น การใช้ย้อมสีด้านนอกของเต้าหู้แข็ง แต่งสีน้า เก๊กฮวย ส่วนในประเทศจีนใช้เป็นสีย้อมผ้า) และยังให้สารสีน้าตาลแดงชื่อคอร์ซิน (Corcin) ใช้ผสมอาหารให้มีสีน้าตาลแดง 6. เนื้อไม้สามารถนามาใช้ทาธูป ทากรอบรูป และทาหัวน้าหอม 7. การปลูกและดูแลรักษา การปลูก พุดซ้อน เป็นไม้กลางแจ้ง ต้องการแสงแดดจัด ชอบดินร่วนที่มีความอุดมสมบูรณ์เพียงพอ นิยมปลูกในแปลงปลูก ขนาดหลุมปลูก 50 x 50 x 50 เซนติเมตร ใช้ปุ๋ยคอกหรือ ปุ๋ยหมัก : ดินร่วน อัตรา 1 : 2 ผสมดินปลูก ถ้าปลูกเพื่อประดับบริเวณบ้านหรืออาคาร ควรปลูกให้มีระยะหย่างที่เหมาะสม เพราะพุดซ้อน เป็นไม้ที่มีทรงพุ่มใหญ่ การดูแลรักษา แสง ต้องการแสงแดดจัด หรือกลางแจ้ง น้า ต้องการปริมาณน้าปานกลาง ควรให้น้า 5-7 วัน/ครั้ง ดิน ชอบดินร่วนซุย ปุ๋ย ใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก อัตรา 2 -.3 กิโลกรัม / ต้น ควรใส่อย่างน้อยปีละ 2 - 3 ครั้ง หรือใช้ ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อัตรา 200-300 กรัม/ต้น ควรใส่ปีละ 3-4 ครั้ง 8. ข้อมูลทางเภสัชศาสตร์เพิ่มเติม
  • 14. 14 1. สารที่พบ ได้แก่ Jasminodin, Geniposide, Crocin, Shanzhiside, Genipin-1-B- gentiobioside, Dipentene, Gardonin และยังพบ Gum, Tanin เป็นต้น 2. สารสกัดด้วยน้าหรือแอลกอฮอล์มีฤทธิ์ในการกระตุ้นน้าดีให้มีการไหลออกมากขึ้น และจาก การทดลองกับกระต่ายก็พบว่า สารสกัดดังกล่าวสามารถช่วยยับยั้ง Bilirubin ของเม็ดเลือดที่ อยู่ในเส้นเลือดได้ 3. เมื่อนาน้าที่ต้มได้จากผลพุดซ้อนหรือสารที่สกัดได้จากผลพุดซ้อนด้วยแอลกอฮอล์มาทดลอง กับสัตว์ทดลอง เช่น หนู แมว หรือกระต่าย พบว่ามีฤทธิ์ทาให้ความดันของสัตว์ทดลองลดลง ได้นานพอสมควร 4. ผลพุดซ้อนมีฤทธิ์เป็นยาห้ามเลือดและช่วยสมานบาดแผล 5. สารลิโนโลล (Linalool) มีฤทธิ์ต้านเชื้อแบคทีเรีย ต้านเชื้อรา มีฤทธิ์สงบประสาท และการ อักเสบ ข้อมูลและเอกสารที่เกี่ยวข้องกับฮอร์โมนออกซิน (Auxin) 1. ชื่อฮอร์โมน: Auxin ชื่อสารจากธรรมชาติ Indole-3-Acetic Acid (IAA) ชื่อสารจากการสังเคราะห์ Indole Butyric Acid (IBA), Naphthalene Acetic Acid (NAA), 2,4- Dichlorophenoxyacetic acid (2,4-D) 2. ประวัติการค้นพบ นักธรรมชาติวิทยาชาวอังกฤษทั้ง 2 คนคือชาร์ลส์และฟรานซิส ดาร์วิน ได้ทาการทดลอง 2 ครั้ง ครั้งแรกสังเกตพบว่าส่วนปลายยอด(coleoptile) ของหญ้าแคนารี (Phalaris canariensis) มักจะโค้งเข้า หาแสงเสมอ แต่เมื่อเอาแผ่นวัตถุทึบแสง เช่น แผ่นตะกั่ว (tinfoil) มาคลุมส่วนปลายยอดเพื่อไม่ให้เซลล์บริเวณ นี้โดนแสง ปรากฏว่าต้นพืชไม่โค้งเข้าหาแสง แม้ว่าส่วนล่างจะโดนแสงก็ตาม แต่เมื่อส่วนปลายยอดได้รับแสง
  • 15. 15 จากด้านใดด้านหนึ่งจะโค้งเข้าหาแสงได้ ครั้งที่สุดท้ายสังเกตพบว่า เมื่อตัดส่วนปลายยอดทิ้งไปประมาณ 2.5- 4.0 มิลลิเมตร ต้นพืชไม่โค้งเข้าหาแสงเลย จากการทดลองทั้ง 2 ครั้ง พวกเขาจึงสรุปว่า ส่วนปลายยอดมีสิ่งเร้า บางอย่างที่เคลื่อนย้ายหรือลาเลียงไปยังส่วนที่ต่ากว่าแล้วไปมีอิทธิพลทาให้ส่วนที่อยู่ต่ากว่านั้นโค้งเข้าหาแสงได้ ชาร์ลส์และฟรานซิส ดาร์วิน (Chales and Francis Darwin (ค้นพบเมื่อ ค.ศ.1880)) ภาพการทดลองของดาร์วิน ปีเตอร์ บอยเสน เจนเสน (Peter Boysen Jensen (ค้นพบเมื่อ ค.ศ. 1911))
  • 16. 16 นักสรีรวิทยาชาวเดนมาร์ก ได้แสดงให้เห็นว่าสิ่งเร้าที่มีอิทธิพลต่อการโค้งเข้าหาแสงของ ดาร์วินนั้น เป็นสารเคมีซึ่งสร้างจากส่วนปลายยอดแล้วเคลื่อนย้ายลงไปส่วนล่างๆ ทาให้เกิดการโค้งเข้าหาแสง โดยเขา ทดลองตัดส่วนปลายยอดส่วนหนึ่งของต้นอ่อนของข้าวโอ๊ตออก แล้ววางก้อนวุ้น(gelatin) ลงบนส่วนปลายยอด ส่วนที่เหลือ และเอาส่วนปลายยอดที่ตัดออกไปนั้นมาวางบนก้อนวุ้นอีกทีหนึ่ง พบว่าต้นอ่อนโค้งเข้าหาแสง นอกจากนี้เขายังเฉือนบางส่วนของส่วนปลายยอดด้านที่ไม่ได้รับแสงออกตามขวาง และเอาแผ่นแร่ไมกาบางๆ สอดเข้าไป พบว่าต้นอ่อนไม่โค้งเข้าหาแสง แต่ถ้าเฉือนด้านที่ได้รับแสง และเอาแผ่นแร่ไมกาบางๆสอดเข้าไป ณ ส่วนนั้น พบว่าต้นอ่อนโค้งเข้าหาแสง จากการทดลองของเจนเสน ที่กล่าวมาแล้วนั้น พบว่ามีสารที่เคลี่อนย้าย จากส่วนปลายยอดลงมาส่วนล่างๆได้ โดยสารนั้นสามารถผ่านก้อนวุ้นได้ แต่ไม่สามารถผ่านแผ่นแร่ไมกาบางๆ ได้ และด้านที่ไม่ได้รับแสงเป็นด้านที่มีสารเคมีนั้นเคลื่อนย้ายลงมาส่วนล่างๆเพื่อกระตุ้นให้ต้นอ่อนโค้งเข้าหา แสงได้ ภาพการทดลองของเจนเสน ภาพการทดลองของดาร์วินเปรียบเทียบกับของเจนเสน
  • 17. 17 ฟริตส์ วาร์โมล์ต เวนต์ (Frits Warmolt Went (ค้นพบเมื่อ ค.ศ.1926)) นักพฤษศาสตร์ชาวฮอลันดามีความคิดว่าเมื่อสารที่ส่วนปลายยอดสร้างขึ้นมาสามารถซึมผ่านก้อนวุ้น ได้ ก็ควรถูกดูดซับไว้ได้ด้วย เขาจึงทดลอดตัดส่วนปลายยอดของต้นอ่อนข้าวโอ๊ตมาวางบนแผ่นวุ้นประมาณ 1- 2 ชั่วโมง แล้วนาเฉพาะแผ่นวุ้นนั้นไปวางบนส่วนที่เหลือหลังตัดส่วนปลายยอดออกแล้ว พบว่าต้นอ่อนโค้งเข้า หาแสง เช่นเดียวกับการตัดส่วนปลายยอดแล้วเอามาวางที่เดิมที่ตัดออก เขาจึงสรุปว่าเมื่อวางส่วนปลายยอดที่ ตัดมาบนแผ่นวุ้นจะมีสารบางอย่างแพร่ออกมาจากปลายนั้นมาเก็บสะสมอยู่ในแผ่นวุ้น และสารนี้เป็นสารที่ทา ให้ต้นอ่อนโค้งเข้าหาแสง เมื่อนาแผ่นวุ้นดังกล่าวมาวางบนส่วนปลายยอดที่ตัดทิ้งไป สารที่สะสมในก้อนวุ้นนั้นก็ แพร่เข้าไปส่วนล่างๆรอยตัด ทาให้ต้นอ่อนโค้งเข้าหาแสงได้ตามปกติ และนอกจากนั้นเขาได้วัดปริมาณสารที่ สะสมในแผ่นวุ้นพร้อมทั้งสกัดสารนั้นออกมาด้วย เรียกวิธีการวัดปริมาณสารโดยสังเกตจากอิทธิพลต่อเนื้อเยื่อ สิ่งมีชีวิตอย่างนี้ว่า “การสอบปริมาณโดยชีววิธี (Bioassay)” เขาจึงตั้งชื่อสารนี้ว่า “ออกซิน (auxin)” ภาพการทดลองของเวนต์ ต่อมาในปี ค.ศ.1934 นักวิทยาศาสตร์ได้สกัดสารเคมีที่ชื่อกรดอินโดลแอซิติก (Indole-3-Acetic Acid (IAA)) ได้จากปัสสาวะคน ซึ่งเมื่อนามาทดลองกับต้นอ่อนพืชพบว่าได้ผลการทดลองเช่นเดียวกับการทดลอง ของเวนต์ จึงสรุปว่าออกซินเป็นสารเคมีที่ชื่อว่ากรดอินโดลแอซิติก (IAA)
  • 18. 18 3. การทางานของออกซิน ออกซินสร้างจากบริเวณส่วนปลายยอดของต้นพืช (coleoptile) แล้วแพร่ไปยังเซลล์อื่นๆที่อยู่ด้านล่าง โดยจะไปกระตุ้นเซลล์บริเวณเนื้อเยื่อเจริญที่มีโมเลกุลออกซินให้ขยายขนาดหรือความยาวมากขึ้น (elongation) ซึ่งทาให้ต้นพืชเกิดการเบน(tropism) มีสองแบบคือเบนออกจากสิ่งเร้า(negative tropism) และเบนเข้าหาสิ่งเร้า (positive tropism) สิ่งเร้าในที่นี้คือแสง เพราะฉะนั้นการเบนเข้าหาแสงจึงเรียก phototropism โดยออกซินจะเคลื่อนหนีแสง กล่าวคือบริเวณที่แสงมากความเข้มข้นของออกซินจะต่า บริเวณ ที่แสงน้อบความเข้มข้นของออกซินจะสูง ส่วนของพืชที่ตอบสนองต่อออกซินแบ่งได้ 2 ส่วนใหญ่ๆ คือ รากและ ลาต้นซึ่งมีการตอบสนองต่อออกซินแตกต่างกัน - ลาต้น ออกซินจะเคลื่อนหนีแสงทาให้บริเวณลาต้นที่ได้รับแสงมาก ความเข้มข้นออกซินจะต่า บริเวณ ลาต้นที่ได้รับแสงน้อย ความเข้มข้นออกซินจะสูง ออกซินจะทาให้เนื้อเยื่อเจริญบริเวณส่วนของลาต้น ที่ได้รับแสงน้อย (ความเข้มข้นออกซินสูง) เจริญมากกว่าส่วนที่ได้รับแสงมาก ลาต้นจึงโค้งเข้าหาแสง - ราก ออกซินจะเคลื่อนหนีแสงทาให้บริเวณรากที่ได้รับแสงมาก ความเข้มข้นออกซินจะต่า บริเวณราก ที่ได้รับแสงน้อย ความเข้มข้นออกซินจะสูง ออกซินจะทาให้เนื้อเยื่อเจริญบริเวณส่วนของรากที่ได้รับ แสงมาก (ความเข้มข้นออกซินต่า) เจริญมากกว่าส่วนที่ได้รับแสงน้อย รากจึงโค้งหนีแสง หรือกล่าวคือ เนื้อเยื่อเจริญบริเวณลาต้นขยายขนาดถ้าความเข้มข้นออกซินสูง เนื้อเยื่อเจริญบริเวณรากขยายขนาด ถ้าความเข้มข้นออกซินต่า และถ้าทุกบริเวณของทั้งรากและลาต้นได้รับแสงบริเวณเท่ากันออกซินจะอ ยู่รวมที่ยอดซึ่งทาให้รากและลาต้นงอกยาวตั้งฉากพื้นดินไม่โค้ง ภาพกราฟแสดงผลของความเข้มของออกซินต่อการเจริญเติบโตของส่วนต่างๆของพืช 4. บทบาทของออกซิน
  • 19. 19 4.1. กระตุ้นให้เซลล์ยืดตัว (elongation) 4.2. กระตุ้นการแบ่งเซลล์ของแคมเบียมและท่อลาเลียงน้า 4.3. ในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อถ้าความเข้มข้นออกซินต่า ไซโตคินินสูงจะเพิ่มจานวนรากและกระตุ้นการเกิด แคลลัส (callus) ความเข้มข้นออกซินสูง ไซโตคินินต่าจะเพิ่มจานวนยอดและกระตุ้นการเกิดแคลลัสเช่นกัน 4.4. เร่งการงอกรากของกิ่งตอนหรือกิ่งชา 4.5. ช่วยเปลี่ยนเพศของดอกบางชนิด เช่น เงาะ 4.6. กระตุ้นการเจริญเป็นผลโดยไม่ปฏิสนธิ (parthenocarpic fruit) เช่น ส้ม, กล้วย และ มะเขือเทศ 4.7. ยับยั้งการหลุดร่วงของใบ, ดอก และผล 4.8. ออกซินที่มีความเข้มข้นสูงใช้เป็นยาปราบวัชพืช เช่น 2,4-D ใช้ในสงครามเวียดนาม เรียกการโปรยออก ซินปริมาณมากนี้ว่า “ฝนเหลือง” ซึ่งฮอร์โมนออกซินความเข้มข้นสูงนี้มีพิษต่อพืช คือใบร่วง เหี่ยว ยับยั้งการ เจริญเติบโต
  • 20. 20 บทที่ 3 การดาเนินงาน วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 1. ฟ็อกกี้ 2. กรวยกรอกน้า 3. บีกเกอร์ ขนาด 25 ml 4. บีกเกอร์ ขนาด 250 ml 5. หลอดฉีดยา ขนาด 12 ml 6. กระเป๋าเก็บอุปกรณ์ต่างๆ 7. ต้นพุดซ้อน 9 ต้น 8. ฮอร์โมนออกซิน เข้มข้น 4.5 %w/v 9. น้าเปล่า ขั้นตอนการทาโครงงาน 1. ประชุมวางแผนคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ ซึ่งคือ การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินต่อการออก ดอกของต้นพุดซ้อน 2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานดังนี้ 2.1 ต้นพุดซ้อน 2.2 ฮอร์โมนออกซิน 3. วางแผนรายละเอียดการทดลอง 3.1 แบ่งต้นไม้เป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ต้น 3.1.1 กลุ่มที่ 1 ชุดทดลอง ใช้น้าเปล่าในการพ่น 3.1.2 กลุ่มที่ 2 ชุด low dose โดยใช้ฮอร์โมนออกซิน เข้มข้น 0.1 %w/v 3.1.3 กลุ่มที่ 3 ชุด high dose โดยใช้ฮอร์โมนออกซิน เข้มข้น 0.4 %w/v 3.2 ผสมฮอร์โมน โดยทาการผสมทั้งหมด 4 รอบ ซึ่งแต่รอบจะสามารถใช้ได้ 2 อาทิตย์ 4. หาสถานที่ที่ใช้ในการทาทดลอง 5. จัดทาเค้าโครงโครงงาน เพื่อนาเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อนาไปปรับปรุงและแก้ไข 6. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทาการทดลองผลของฮอร์โมนออกซินต่อการออกดอกของต้นพุดซ้อน 6.1 ฟ็อกกี้ 3 อัน
  • 21. 21 6.2 กรวยกรอกน้า 1 อัน 6.3 บีกเกอร์ ขนาด 25 ml 1 ใบ 6.4 บีกเกอร์ ขนาด 250 ml 1 ใบ 6.5 หลอดฉีดยา ขนาด 12 ml 1 อัน 6.6 กระเป๋าเก็บอุปกรณ์ต่างๆ 6.7 ต้นพุดซ้อน 9 ต้น 6.8 ฮอร์โมนออกซิน เข้มข้น 4.5 %w/v จานวน 100 ml 6.9 น้าเปล่า จานวน 2600 ml 7. ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง 7.1 นาต้นไม้มาจัดเป็น 3 กลุ่มกลุ่มละ 3 ต้น โดยเรียงเป็นชุดทดลอง ชุด low dose และ ชุด high dose ตามลาดับ 7.2 จัดทาป้ายสาหรับต้นไม้แต่ละต้นและ สาหรับแต่ละฟ็อกกี้ 7.3 ทาการเติมน้าปริมาตร 225 ml ลงในฟ็อกกี้ของชุดควบคุม 7.4 ทาการผสมฮอร์โมน low does 7.4.1 นาหลอดฉีดยาดูดฮอร์โมนออกซินมาเข้มข้น 4.5 %w/v มา 5 ml 7.4.2 ตวงน้ามา 220 ml 7.4.3 น้าฮอร์โมนมาผสมลงในน้าที่เตรียมไว้แล้วเทลงในฟ็อกกี้ชุด low does 7.5 ทาการผสมฮอร์โมน high does 7.5.1 นาหลอดฉีดยาดูดฮอร์โมนออกซินมาเข้มข้น 4.5 %w/v มาใส่ลงในบีกเกอร์จานวน 20 ml 7.5.2 ตวงน้ามา 205 ml 7.5.3 น้าฮอร์โมนมาผสมลงในน้าที่เตรียมไว้แล้วเทลงในฟ็อกกี้ชุด high does 8. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เป็นระยะ 9. จัดทาเอกสารเป็นรูปเล่มโครงงานให้สมบูรณ์ 10. จัดทาสื่ออภิปรายแสดงผลการทดลอง 11. นาเสนอโครงงาน
  • 22. 22 บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง วันที่ ชุดการ ทดลอง จานวนดอกที่เพิ่มขึ้น (ดอก) จานวนดอกรวม (ดอก) หมายเหตุ ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3 เฉลี่ย ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3 เฉลี่ย 5 มิ.ย. High Low Control 0 1 0 1 0 1 0 0 0 1 1 1 0 1 0 1 0 1 0 0 0 1 1 1 7 มิ.ย. High Low Control 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 0 1 0 0 0 1 1 1 12 มิ.ย. High Low Control 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 1 0 0 1 0 1 0 1 0 1 0 1 1 1 14 มิ.ย. High Low Control 0 0 0 0 0 0 1 0 0 1 0 0 0 1 0 1 0 1 1 1 0 1 1 1 16 มิ.ย. High Low Control 0 0 1 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 1 1 1 0 1 1 1 0 1 1 1 กลุ่ม high dose เริ่มมี อาการใบไหม้ 19 มิ.ย. High Low Control 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 1 1 0 1 1 1 0 1 1 1 พบอาการใบเหลือง จากโคนทุกชุดการ ทดลอง 21 มิ.ย. High Low Control 1 0 0 0 1 0 0 0 0 1 1 0 1 1 1 1 1 1 1 1 0 1 1 1 23 มิ.ย. High Low 0 0 0 0 0 0 0 0 1 1 1 1 1 1 1 1
  • 23. 23 Control 0 0 0 0 1 1 0 1 26 มิ.ย. High Low Control 0 0 0 0 0 0 1 0 0 1 0 0 1 1 1 1 1 1 2 1 0 2 1 1 28 มิ.ย. High Low Control 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 1 1 1 1 1 1 2 1 0 2 1 1 30 มิ.ย. High Low Control 1 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 2 1 1 1 1 1 2 1 0 2 1 1 High dose ใบ เหี่ยว 3 ก.ค. High Low Control 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 1 2 1 1 1 1 1 2 1 1 2 1 1 เริ่มพ่นยาฆ่า แมลง 5 ก.ค. High Low Control 0 1 0 0 0 0 1 0 0 1 1 0 2 2 1 1 1 1 3 1 1 2 2 1 7 ก.ค. High Low Control 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 2 2 1 1 1 1 3 1 1 2 2 1 10 ก.ค. High Low Control 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 2 2 1 1 1 1 3 1 1 2 2 1 12 ก.ค. High Low Control 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1 0 0 2 2 1 2 1 1 3 1 1 3 2 1 ผลิดอกแต่ไม่ บาน 14 ก.ค. High Low Control 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 2 2 1 2 1 1 3 1 1 3 2 1 พบเพลี้ยและ มด
  • 24. 24 17 ก.ค. High Low Control 0 0 0 1 0 0 0 0 0 1 0 0 2 2 1 3 1 1 3 1 1 3 2 1 19 ก.ค. High Low Control 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 1 0 2 2 1 3 1 1 3 2 1 3 2 1 24 ก.ค. High Low Control 1 0 0 0 0 0 0 0 0 1 0 0 3 2 1 3 1 1 3 2 1 3 2 1 ทาความสะอาด ผลิดอกแต่ไม่ บาน 26 ก.ค. High Low Control 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 3 2 1 3 1 1 3 2 1 3 2 1 ตารางแสดงจานวนดอกพุดซ้อนรวมตลอดการทดลองเฉลี่ย ชุดการทดลอง High dose Low dose Control จานวนดอกรวมเฉลี่ย (ดอก) 3 2 1 ภาพประกอบการเก็บข้อมูลในแต่ละระยะของการทดลอง ภาพแสดง การแตกดอกของต้นที่ 3 ในชุดการทดลอง High dose ในวันที่ 14 มิถุนายน
  • 25. 25 ภาพแสดง อาการปลายใบไหม้ของต้นที่ 2 ในชุดการทดลอง High dose ในวันที่ 21 มิถุนายน ภาพแสดง การแตกยอดอ่อนของต้นที่ 1 ในชุดการทดลอง Low dose ในวันที่ 5 กรกฎาคม ภาพแสดง สภาพของชุดการทดลอง high dose ที่โดนแมลงกัดกิน ในวันที่ 7 กรกฎาคม
  • 26. 26 ภาพแสดง การแตกยอดอ่อนของต้นที่ 3 ในชุดการทดลอง Low dose ในวันที่ 19 กรกฎาคม ภาพแสดง การแตกดอกของต้นที่ 1 ในชุดการทดลอง High dose ในวันที่ 24 กรกฎาคม ภาพแสดง ไข่ของแมลงบนในของต้นที่ 1 ในชุด High dose ในวันที่ 26 กรกฎาคม
  • 27. 27 กราฟแสดงผลการทดลอง วิเคราะห์ผลการทดลอง จากผลการทดลองพบว่าความเข้มข้นของฮอร์โมนอกซินมีผลต่อจานวนดอกของต้นพุดซ้อน โดยที่ต้น พุดซ้อนกลุ่มการทดลอง High dose มีจานวนดอกรวมเท่ากับ 9 ดอก เฉลี่ยต้นละ 3 ดอก และในกลุ่ม Low dose มีจานวนดอกเท่ากับ 5 ดอก เฉลี่ยต้นละ 2 ดอก และในกลุ่มการทดลองชุดควบคุมมีจานวนดอก 3 ดอก เฉลี่ยต้นละ 1 ดอก ซึ่งจะเห็นได้ว่าชุดการทดลอง High dose ซึ่งพ่นฮอร์โมนเข้มข้นกว่าชุดการทดลอง Low 0 1 2 3 4 1 3 8 10 12 15 17 19 22 24 26 29 31 33 36 38 40 43 45 50 52 จานวนดอก(ดอก) จานวนวันในการทดลอง (วัน) กราฟเส้นแสดงความสัมพันธ์ระหว่างจานวนดอกพุดซ้อนกับความ เข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่พ่น High dose Low dose Control 3 2 1 AXISTITLE AXIS TITLE กราฟแท่งแสดงความสัมพันธ์จานวนดอกพุดซ้อนที่บาน ทั้งหมดกับความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่พ่น High dose Low dose Control
  • 28. 28 dose และชุดควบคุม จะทาให้มีจานวนดอกมากกว่า และในกลุ่มการทดลอง Low dose ซึ่งพ่นฮอร์โมน เข้มข้นกว่าชุดควบคุม มีจานวนดอกมากกว่าเช่นเดียวกัน ซึ่งสามารถเรียงลาดับจานวนดอกที่มีในแต่ละชุดการ ทดลองจากมากไปน้อยคือ High dose, Low dose และชุดควบคุมตามลาดับ แต่พบว่าฮอร์โมนออกซินที่มี ความเข้มข้นสูงมีผลข้างเคียงด้วย คืออาการใบเหี่ยวและใบไหม้ ซึ่งพบในชุดการทลอง High dose เท่านั้นไม่ พบในชุดการทดลองอื่น ๆ
  • 29. 29 บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม สรุปผลการทดลอง จากผลการทดลองดังแสดงในบทที่ 4 แสดงให้เห็นว่าการพ่นฮอร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้นมากจะ ส่งผลให้ต้นพุดซ้อนมีจานวนดอกมาก ซึ่งเป็นไปตามสมมติฐานที่คาดการณ์เอาไว้ข้างต้น คือ ถ้าฮอร์โมนออก ซิน (Auxin) ที่ความเข้มข้น 0.4% w/v มีผลทาให้มีจานวนดอกมากที่สุด ซึ่งเป็นอิทธิพลของฮอร์โมน แต่พบว่า มีความเข้มข้นของฮอร์โมนที่สูงยังมีผลทาให้เกิดอาการเหี่ยวและไหม้ด้วย ผลที่เกิดขึ้นแสดงให้เห็นว่าฮอร์โมนออกซินมีผลกับต้นพุดซ้อนดังนี้คือ 1. เพิ่มการเจริญและแตกดอกของต้นพุดซ้อน ซึ่งฮอร์โมนออกซินมีผลกระตุ้นการแบ่งเซลล์ของพุด ซ้อน ส่งผลให้เกิดการแตกยอดและดอกเพิ่มขึ้น ดังผลการทดลองว่าสารละลายฮอร์โมนออกซิน (Auxin) ที่ความเข้มข้น 0.4% w/v จะทาให้พุดซ้อนมีจานวนดอกมากที่สุด รองลงมาเป็นชุดการ ดลอง Low dose ซึ่งมีจานวนดอกน้อยกว่า และชุดควบคุมทีจานวนดอกน้อยที่สุด จะเห็นได้ว่า จานวนดอกแปรผลตามความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน 2. ความเข้มข้นของฮอร์โมนที่สูงถึง 0.4% w/v ส่งผลให้ปลายใบของต้นพุดซ้อนเหี่ยวและไหม้ แต่ไม่ พบอาการนี้ในชุดการทดลองอื่น ๆ แสดงว่าฮอร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้นสูงมีผลต่อพุดซ้อน โดยเฉพาะที่ใบของพุดซ้อน ส่งผลทาให้ใบเหี่ยวและไหม้ ดังบทบาทของฮอร์โมนออกซินที่ได้กล่าว ไว้ในบทที่ 2 ว่าถ้าใช้ในความเข้มข้นที่สูงเกินไปจะมีผลเป็นพิษกับพืช จากผลการทดลองสามารถสรุปได้ว่าความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินมีผลต่อต้นพุดซ้อนโดยความ เข้มข้นมากจะส่งผลมีดอกมากตามไปด้วย และความเข้มข้นของฮอร์โมนที่สูงเกินไปจะส่งผลให้ต้นพุดซ้อนมี อาการใบไหม้และร่วงได้ ดังผลการทดลองที่บันทึกไว้
  • 30. 30 ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ปัญหาและการแก้ไขปัญหาของโครงงาน ปัญหา ชุดการทดลองมีอาการใบเหลือง การแก้ไข - เติมปุ๋ยเคมีเพื่อให้ธาตุอาหารหลักบารุงใบ เช่นปุ๋ยยูเรีย - เติมดินเพื่อทดแทนดินที่หายไปและขาดแร่ธาตุจากการรดน้า - ลดปริมาณน้าที่รดในแต่ครั้งลง เพื่อป้องกันการชะล้างดินและแร่ธาตุ ปัญหา พบอาการใบเหี่ยวม้วนงอและรอยกัดแทะของแมลงบนใบไม้ การแก้ไข - ตรวจหาแมลงหรือศัตรูพืชที่เป็นต้นเหตุของปัญหา - ทาลายไข่ของแมลงศัตรูพืชที่ถูกวางไว้บนใบ - ทาความสะอาดกระถางและถุงรองกระถางให้สะอาด เพื่อขจัดแมลงและเชื้อราจากปลูกในบริเวณที่ ความชื้นสูง - เด็ดใบไม้ที่เหี่ยวแห้ง และเด็ดยอดที่มีเชื้อราคลุมไปทิ้ง ปัญหา ใบเหี่ยวในวันที่อากาศร้อน การแก้ไข - รดน้าเพิ่มเติมในตอนเช้า พร้อมทั้งตรวจสอบต่อเนื่องว่ามีอาการอย่างใร - ย้ายกระถางไปหลบในที่ซึ่งแดดส่องไม่ถึงเป็นการชั่วคราว ปัญหา ในชุดการทดลอง High dose มีอาการใบเหลืองมากกว่าชุดการทดลองอื่นๆ การแก้ไข - ปรับลดความถี่ในการพ่นฮอร์โมน จากแผนเดิมที่กาหนดไว้ 3 ครั้งต่อสัปดาห์ เป็น สองครั้งต่อสัปดาห์ การต่อยอดในการทาโครงงานครั้งต่อไป สิ่งที่ควรปฏิบัติ - การผสมสารเคมีทุกครั้งจาเป็นต้องใช้ถุงมือและผ้าปิดปาก เพื่อป้องกันการระคายเคือง - ในการทดลองเกี่ยวกับต้นไม้ ควรดูแลความสะอาดและความอับชื้นของพื้นที่ให้ดี เพื่อป้องกันการ เจริญเติมโตของเชื้อโรคและเชื้อรา
  • 32. 32 บรรณานุกรม บรรณานุกรมภาษาไทย 1. วีรวัช เอนกจานงค์พร. 2560. ฮอร์โมนพืช: ออกซิน. กทมฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2. คณาจารย์หมวดวิชาชีววิทยาระดับชั้น ม.6 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา. 2559. auxin. กทมฯ: โรง พิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 3. เชาว์ ชิโนรักษ์. 2541. ฮอร์โมนพืช (PLANT HORMONE): AUXIN (Indole Compound). กทม ฯ:โสภณการพิมพ์. 4. ศุภณัฐ ไพโรหกุล. 2559. ออกซิน(auxins). กทมฯ: บริษัท แอคทีฟ พริ้นท์. 5. กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย กระทรวงศึกษาธิการ. 2558. วิธีบันทึกแหล่งที่มา: หนังสือเล่ม. กทม ฯ: โรงพิมพ์ สกสค. ลาดพร้าว. 6. ฝ่ายปฏิบัติการวิจัยและเรือนปลูกพืชทดลอง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. 2560. “พุดซ้อน”. (นพ พล เกตุประสาท, ไพร มัทธวรัตน์). (ออนไลน์). แหล่งที่มา: clgc.rdi.ku.ac.th. 25 กรกฏาคม 2560. 7. สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.). 2560. “พุด ซ้อน”. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: www.tistr.or.th. 29 กรกฏาคม 2560. 8. สถาบันการแพทย์ไทย-จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้.2560. “กีจื้อ”. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: tcm.dtam.moph.go.th. 29 กรกฏาคม 2560. 9. ภาควิชาบรรณารักษศาสตร์. “รูปแบบการเขียนบรรณานุกรม: ตัวอย่าง”. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: http://www.arts.chula.ac.th/libsci/วิจัย /เอกสารบรรณารักษศาสตร์/รูปแบบการเขียน บรรณานุก-2/. 31 กรกฏาคม 2560. บรรณานุกรมภาษาอังกฤษ 1. Cambell, Neil A. Auxin. England: Pearson Education Limited, 2015. 2. Yang Yifang, Chinese Herbal Medicines Comparisons and Characteristics. London: Churchill Livingstone, 2002. 3. Mitchell C. ,Ten Lectures on the Use of Medicinals from their Personal Experience of Jiao Shude. Brookline: Paradigm Publications ,2003.
  • 33. 33 4. Huang Bingshan and Wang Yuxia, Thousand Formulas and Thousand Herbs of Traditional Chinese Medicine. Harbin: Heilongjiang Education Press ,1993. 5. Liang Guangyi, et al., Effects of different compounding of formulae on content of gardenoside in Yinchenhao Decoction, Journal of Traditional Chinese Medicine 2002; 22(1): 55-60. 6. State Administration of Traditional Chinese Medicine, Advanced Textbook on Traditional Chinese Medicine and Pharmacolog. Beijing: 1995-6 New World Press. 7. Dharmananda, Subhuti . 2017. GARDENIA:Key Herb for Dispelling Dampness and Heat Via the Triple Burner (online). Avaliable: http://www.itmonline.org/arts/gardenia.htm. 31 July 2017. 8. No author cited. 2017. Capejasmine Fruit. Fructus Gardeniae (online). Avaliable: https://www.mdidea.com/products/proper/proper022.html. 31 July 2017. 9. Williamson, Joel. 2017. Gardenia (online). Avaliable: http://www.clemson.edu/extension/hgic/plants/landscape/shrubs/hgic1065.html. 31 July 2017
  • 34. 34 ภาคผนวก ภาพประกอบการทาโครงงาน รูปแสดง การตรวจติดตามโครงงานครั้งที่ 1 รูปแสดง การผสมฮอร์โมนครั้งที่ 1 รูปแสดง การจัดวางต้นไม้เพื่อทาการทดลอง
  • 36. 36 รูปแสดง การดูแลรักษาต้นไม้ (เก็บเศษใบไม้และวัชพืช) รูปแสดง การดูแลรักษาต้นไม้ (เก็บเศษใบไม้และวัชพืช) รูปแสดง การตรวจพบอาการใบเหลืองและรอยกัดแทะของแมลง
  • 37. 37 รูปแสดง การดูแลรักษาต้นไม้ (เติมดิน) รูปแสดง การดูแลรักษาต้นไม้ (เก็บเศษใบไม้และวัชพืช) ภาพแสดง ไข่ของแมลงบนในของต้นที่ 1 ในชุด High dose ในวันที่ 26 กรกฎาคม
  • 38. 38 รูปแสดง การตรวจติดตามโครงงานครั้งที่ 2 รูปแสดง การตรวจติดตามโครงงานครั้งที่ 2