SlideShare a Scribd company logo
1 of 40
Download to read offline
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง ฮอร์โมนพืชและการเคลื่อนไหวของพืช
จานวน 3 แผนการจัดการเรียนรู้ ระยะเวลารวม 9 ชั่วโมง ประกอบด้วย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15
เรื่อง ฮอร์โมนพืช (1) ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16
เรื่อง ฮอร์โมนพืช (2) ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17
เรื่อง การเคลื่อนไหวของพืช ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ฮอร์โมนพืชและการเคลื่อนไหวของพืช เรื่อง ฮอร์โมนพืช (1)
เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 1.1 ม.4-6/2 ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้้าในพืช
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย ความส้าคัญและการน้าไปใช้ประโยชน์ของสารควบคุมการเจริญเติบโต
ของพืชหรือฮอร์โมนพืช เขียนข้อสรุปชนิดและบทบาทหน้าที่ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือ
ฮอร์โมนพืช
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย ความส้าคัญและการน้าไปใช้ประโยชน์ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
หรือฮอร์โมนพืชได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนข้อสรุปชนิดและบทบาทหน้าที่ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมน
พืชได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความส้าคัญของของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืชต่อ
กระบวนการด้ารงชีวิตของพืชได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระส้าคัญ
- การเจริญเติบโตของพืชจ้าเป็นต้องอาศัยน้้า แสง และธาตุอาหารต่างๆในปริมาณที่เพียงพอ
เหมาะสมแต่พืชอาจไม่สามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติเพราะต้องมีสารบางอย่างที่คอย
ควบคุมการเจริญเติบโต
- ฮอร์โมนพืชสามารถเคลื่อนย้ายภายในต้นพืชได้และมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต การ
เปลี่ยนแปลงทางคุณภาพและการพัฒนาของเนื้อเยื่อ และอวัยวะของพืชซึ่งได้รับฮอร์โมน
นั้น ๆ ซึ่งมีผลต่อกระบวนการทางสรีรวิทยาที่ค่อนข้างเฉพาะเจาะจง ดังนั้นในการศึกษา
ทางด้านฮอร์โมนจึงมักศึกษาในแง่ของแหล่งและกระบวนการสังเคราะห์ การเคลื่อนที่และ
เคลื่อนย้าย และปฏิกิริยาของฮอร์โมนที่มีต่อพืช
- ในประเทศไทยการใช้ฮอร์โมนพืชมีวัตถุประสงค์ในทางการเกษตรเพื่อให้มีผลผลิต เพื่อเพิ่ม
ผลผลิตและคุณภาพและเพื่อความสะดวกในการจัดการฟาร์ม
- สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช หรือฮอร์โมนพืช ได้แก่
1. ออกซิน (Auxin)
2. จิบเบอเรลลิน (Gibberellins)
3. ไซโตไคนิน(Cytokinins)
4. กรดแอบซิสิค (Abscisic Acid) หรือ ABA
5. เอทธิลีน (Ethylene) ซึ่งมีสภาพเป็นก๊าซ
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความส้าคัญและการน้าไปใช้ประโยชน์ของสารควบคุมการเจริญเติบโต
ของพืชหรือฮอร์โมนพืช
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนข้อสรุปชนิดและบทบาทหน้าที่ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของ
พืชหรือฮอร์โมนพืช
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความส้าคัญของของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
หรือฮอร์โมนพืชต่อกระบวนการด้ารงชีวิตของพืช
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจ้าบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจ้าบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจ้าบทเรียน
4. แบบบันทึกการท้า
กิจกรรมประจ้าบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจ้า
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจ้าบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจ้า
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ท้ากิจกรรมประจ้า
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ท้า
การเรียนการสอนประจ้า
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบค้าตอบกับ
ค้าเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจ้าบทเรียน
3. การตรวจสอบค้าตอบกับ
ค้าเฉลยแบบทดสอบประจ้า
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจ้าบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นน้า : ครูตั้งค้าถามก่อนน้าไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบค้าถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจ้าวัน ว่า
> สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของพืชอย่างไร
> สารควบคุมการเจริญของพืชที่พบในปัจจุบันได้แก่อะไรบ้าง
> การศึกษาเกี่ยวกับสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชมีความเป็นมาอย่างไร
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชมี
ผลต่อการด้ารงชีวิตของมนุษย์หรือไม่อย่างไร
นักเรียนสามารถตั้งค้าถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
จงสรุปแหล่งที่มาและหน้าที่ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชในรูปแบบตาราง
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “ฮอร์โมนพืช (1)” ว่า
> การเจริญเติบโตของพืชจ้าเป็นต้องอาศัยน้้า แสง และธาตุอาหารต่างๆในปริมาณที่เพียงพอ
เหมาะสมแต่พืชอาจไม่สามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติเพราะต้องมีสารบางอย่างที่คอยควบคุมการเจริญเติบโต
> ฮอร์โมนพืชเป็นสารเคมีภายในพืชซึ่งเกี่ยวข้องกับการเจริญของพืชไม่เพียงแต่การเจริญของพืชทั้ง
ต้นเท่านั้น หากแต่ยังเกี่ยวข้องกับการเจริญของพืชแต่ละส่วนด้วย ในปัจจุบันทราบกันดีแล้วว่าฮอร์โมนพืชมีทั้ง
ชนิดที่กระตุ้นการเจริญเติบโต และระงับการเจริญเติบโตฮอร์โมนพืชที่พบในปัจจุบันคือ
- ออกซิน (Auxin)
- จิบเบอเรลลิน (Gibberellins)
- ไซโตไคนิน(Cytokinins)
- กรดแอบซิสิค (Abscisic Acid) หรือ ABA
- เอทธิลีน (Ethylene) ซึ่งมีสภาพเป็นก๊าซ
> ฮอร์โมนพืชสามารถเคลื่อนย้ายภายในต้นพืชได้และมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต การ
เปลี่ยนแปลงทางคุณภาพและการพัฒนาของเนื้อเยื่อ และอวัยวะของพืชซึ่งได้รับฮอร์โมนนั้น ๆ ซึ่งมีผลต่อ
กระบวนการทางสรีรวิทยาที่ค่อนข้างเฉพาะเจาะจง ดังนั้นในการศึกษาทางด้านฮอร์โมนจึงมักศึกษาในแง่ของ
แหล่งและกระบวนการสังเคราะห์ การเคลื่อนที่และเคลื่อนย้าย และปฏิกิริยาของฮอร์โมนที่มีต่อพืช
> ในประเทศไทยการใช้ฮอร์โมนพืชมีวัตถุประสงค์ในทางการเกษตรเพื่อให้มีผลผลิต เพื่อเพิ่มผลผลิต
และคุณภาพและเพื่อความสะดวกในการจัดการฟาร์ม
> สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืช ได้แก่
 ฮอร์โมนออกซิน (Auxin)
- ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับออกซินนั้นเกิดขึ้นจากงานของ Charles Darwin ซึ่งศึกษาเรื่อง Phototropism ซึ่ง
พืชจะตอบสนองต่อการได้รับแสงเพียงด้านเดียวท้าให้เกิดการโค้งเข้าหาแสง
- ต่อมา Boysen-Jensen และ Paal ได้ศึกษาและแสดงให้เห็นว่า "อิทธิพล" ดังกล่าวนี้มีสภาพเป็น
สารเคมี ซึ่งในสภาพที่โคลีออพไทล์ได้รับแสงเท่ากันทั้งสองด้าน
- ในปี ค.ศ. 1926 Went ได้ท้างานทดลองและสามารถแยกสารชนิดนี้ออกจากโคลีออพไทล์ได้ โดยตัด
ส่วนยอดของโคลีออพไทล์ของข้าวโอ๊ตแล้ววางลงบนวุ้นจะท้าให้สารเคมีที่กระตุ้นการเจริญเติบโตไหลลงสู่
วุ้น เมื่อน้าวุ้นไปวางลงที่ด้านหนึ่งของโคลีออพไทล์ที่ไม่มียอดด้านใดด้านหนึ่งจะท้าให้โคลีออพไทล์ดังกล่าว
โค้งได้ เขาสรุปว่าสารเคมีได้ซึมลงสู่วุ้นแล้วซึมจากวุ้นลงสู่ส่วนของโคลีออพไทล์
การตอบสนองของพืชต่อฮอร์โมนออกซิน
1. การตอบสนองในระดับเซลล์ ออกซินท้าให้เกิดการขยายตัวของเซลล์ ท้าให้เกิดการแบ่งเซลล์ได้ในบาง
กรณี เช่น กระตุ้นการแบ่งเซลล์ของแคมเบียม กระตุ้นให้เกิดรากจากการปักช้าพืช เช่น การใช้ IBA ในการ
เร่งรากของกิ่งช้า แล้วยังกระตุ้นให้เกิดแคลลัสในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ
2. การตอบสนองของอวัยวะหรือพืชทั้งต้น
2.1 เกี่ยวข้องกับการตอบสนองของพืชแบบ Phototropism Geotropism
2.2 การที่ตายอดข่มไม่ให้ตาข้างเจริญเติบโต
2.3 การติดผล
2.4 ป้องกันการร่วงของผลโดยออกซินจะยับยั้งไม่ให้เกิด Abcission layer ขึ้นมา
2.5 ป้องกันการร่วงของใบ
2.6 ในบางกรณีออกซินสามารถท้าให้สัดส่วนของดอกตัวเมียและตัวผู้เปลี่ยนไป
 ฮอร์โมนไซโตไคนิน (Cytokinins)
- การค้นพบฮอร์โมนในกลุ่มนี้เริ่มจากการศึกษาการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โดยในปี ค.ศ. 1920 Haberlandt
ได้แสดงให้เห็นว่ามีสารชนิดหนึ่งเกิดอยู่ในเนื้อเยื่อพืชและกระตุ้นให้เนื้อเยื่อพาเรนไคมาในหัวมันฝรั่งกลับ
กลายเป็นเนื้อเยื่อเจริญได้
- นักวิทยาศาสตร์หลายท่าน เช่น Skoog และ Steward ท้าการทดลองในสหรัฐอเมริกา โดยศึกษาความ
ต้องการสิ่งที่ใช้ในการเจริญเติบโตของกลุ่มก้อนของเซลล์ (Callus) ซึ่งเป็นเซลล์ที่แบ่งตัวอย่างรวดเร็ว แต่
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพเกิดขึ้นของ pith จากยาสูบและรากของแครอท
- แม้ว่าไคเนติน BA และ PBA เป็นสารที่ไม่พบในต้นพืชแต่สารที่เกิดตามธรรมชาติและสารสังเคราะห์หลาย
ชนิด ซึ่งมีคุณสมบัติเหมือนไคเนตินนั้น เรียกโดยทั่วๆ ไปว่า ไซโตไคนิน ซึ่งเป็นสารที่เมื่อมีผลร่วมกับออก
ซินแล้วจะเร่งให้เกิดการแบ่งเซลล์ในพืช
การตอบสนองของพืชต่อฮอร์โมนไซโทไคนิน
1. กระตุ้นให้เกิดการแบ่งเซลล์และการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพใน tissue culture โดยต้องใช้
ร่วมกับ Auxin ในการเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชนั้นหากให้ฮอร์โมนไซโตไคนินมากกว่าออกซินจะท้าให้เนื้อเยื่อนั้นเจริญ
เป็นตา ใบ และล้าต้น
2. ชะลอกระบวนการเสื่อมสลาย เช่น กรณีของใบที่เจริญเต็มที่แล้วถูกตัดออกจากต้น คลอโรฟิลล์
RNA และโปรตีนจะเริ่มสลายตัวเร็วกว่าใบที่ติดอยู่กับต้น แม้จะมีการให้อาหารกับใบเหล่านี้ก็ตาม ถ้าหากเก็บ
ใบเหล่านี้ไว้ในที่มืดการเสื่อมสลายยิ่งเกิดเร็วขึ้น
3. ท้าให้ตาข้างแตกออกมาหรือก้าจัดลักษณะ Apical Dominance ได้ การเพิ่มไซโตไคนินให้กับตา
ข้างจะท้าให้แตกออกมาเป็นใบได้
4. ท้าให้ใบเลี้ยงคลี่ขยายตัวกรณีเมล็ดของพืชใบเลี้ยงคู่งอกในความมืด
5. ท้าให้เกิดการสร้างคลอโรพลาสต์มากขึ้น ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพอย่างหนึ่ง
6. ท้าให้พืชทั้งต้นเจริญเติบโต
7. กระตุ้นการงอกของเมล็ดพืชบางชนิด
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย ความส้าคัญและการ
น้าไปใช้ประโยชน์ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืช ชนิดและบทบาทหน้าที่ของสาร
ควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืช อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องสารควบคุมการ
เจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืชในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม
กับท้าใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความส้าคัญและการน้าไปใช้
ประโยชน์ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืช ชนิดและบทบาทหน้าที่ของสารควบคุมการ
เจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืช อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องสารควบคุมการเจริญเติบโตของ
พืชหรือฮอร์โมนพืชในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง ฮอร์โมนพืช: www.google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง ฮอร์โมนพืช: www.youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ฮอร์โมนพืช
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ฮอร์โมนพืชและการเคลื่อนไหวของพืช เรื่อง ฮอร์โมนพืช (2)
เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 1.1 ม.4-6/2 ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้้าในพืช
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้
ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย ความส้าคัญและการน้าไปใช้ประโยชน์ของสารควบคุมการเจริญเติบโต
ของพืชหรือฮอร์โมนพืช เขียนข้อสรุปชนิดและบทบาทหน้าที่ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือ
ฮอร์โมนพืช
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย ความส้าคัญและการน้าไปใช้ประโยชน์ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
หรือฮอร์โมนพืชได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนข้อสรุปชนิดและบทบาทหน้าที่ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมน
พืชได้อย่างถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความส้าคัญของของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืชต่อ
กระบวนการด้ารงชีวิตของพืชได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระส้าคัญ
- การเจริญเติบโตของพืชจ้าเป็นต้องอาศัยน้้า แสง และธาตุอาหารต่างๆในปริมาณที่เพียงพอ
เหมาะสมแต่พืชอาจไม่สามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติเพราะต้องมีสารบางอย่างที่คอย
ควบคุมการเจริญเติบโต
- ฮอร์โมนพืชสามารถเคลื่อนย้ายภายในต้นพืชได้และมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต การ
เปลี่ยนแปลงทางคุณภาพและการพัฒนาของเนื้อเยื่อ และอวัยวะของพืชซึ่งได้รับฮอร์โมน
นั้น ๆ ซึ่งมีผลต่อกระบวนการทางสรีรวิทยาที่ค่อนข้างเฉพาะเจาะจง ดังนั้นในการศึกษา
ทางด้านฮอร์โมนจึงมักศึกษาในแง่ของแหล่งและกระบวนการสังเคราะห์ การเคลื่อนที่และ
เคลื่อนย้าย และปฏิกิริยาของฮอร์โมนที่มีต่อพืช
- ในประเทศไทยการใช้ฮอร์โมนพืชมีวัตถุประสงค์ในทางการเกษตรเพื่อให้มีผลผลิต เพื่อเพิ่ม
ผลผลิตและคุณภาพและเพื่อความสะดวกในการจัดการฟาร์ม
- สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช หรือฮอร์โมนพืช ได้แก่
1. ออกซิน (Auxin)
2. จิบเบอเรลลิน (Gibberellins)
3. ไซโตไคนิน(Cytokinins)
4. กรดแอบซิสิค (Abscisic Acid) หรือ ABA
5. เอทธิลีน (Ethylene) ซึ่งมีสภาพเป็นก๊าซ
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความส้าคัญและการน้าไปใช้ประโยชน์ของสารควบคุมการเจริญเติบโต
ของพืชหรือฮอร์โมนพืช
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนข้อสรุปชนิดและบทบาทหน้าที่ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของ
พืชหรือฮอร์โมนพืช
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความส้าคัญของของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
หรือฮอร์โมนพืชต่อกระบวนการด้ารงชีวิตของพืช
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจ้าบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจ้าบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจ้าบทเรียน
4. แบบบันทึกการท้า
กิจกรรมประจ้าบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจ้า
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจ้าบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจ้า
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ท้ากิจกรรมประจ้า
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ท้า
การเรียนการสอนประจ้า
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบค้าตอบกับ
ค้าเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจ้าบทเรียน
3. การตรวจสอบค้าตอบกับ
ค้าเฉลยแบบทดสอบประจ้า
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจ้าบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นน้า : ครูตั้งค้าถามก่อนน้าไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบค้าถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจ้าวัน ว่า
> สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของพืชอย่างไร
> สารควบคุมการเจริญของพืชที่พบในปัจจุบันได้แก่อะไรบ้าง
> การศึกษาเกี่ยวกับสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชมีความเป็นมาอย่างไร
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชมี
ผลต่อการด้ารงชีวิตของมนุษย์หรือไม่อย่างไร
นักเรียนสามารถตั้งค้าถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
จงสรุปแหล่งที่มาและหน้าที่ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชในรูปแบบตาราง
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “ฮอร์โมนพืช (2)” ว่า
 ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน (Gibberellins)
- การค้นพบกลุ่มของฮอร์โมนพืชจิบเบอเรลลินนั้น เกิดประมาณ ปี 1920 เมื่อ Kurosawa นักวิทยาศาสตร์
ชาวญี่ปุ่น ศึกษาในต้นข้าวที่เป็นโรค Bakanae หรือโรคข้าวตัวผู้ ซึ่งเกิดจากเชื้อรา Gibberella fujikuroi
หรือ Fusarium moniliforme ซึ่งต้นข้าวมีลักษณะสูงกว่าต้นข้าวปกติ ท้าให้ล้มง่าย
- ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างและส่วนประกอบทางเคมีของจิบเบอเรลลินนั้นได้รับการศึกษาในปี 1954 โดย
นักเคมีชาวอังกฤษซึ่งสามารถแยกสารบริสุทธิ์จากอาหารเลี้ยงเชื้อรา Gibberella fujikuroi และเรียกสาร
นี้ว่ากรดจิบเบอเรลลิค (Gibberellic Acid) GA เป็นฮอร์โมนที่พบในพืชชั้นสูงทุกชนิด นอกจากนั้นยังพบ
ในเฟิร์น สาหร่าย และเชื้อราบางชนิด แต่ไม่พบในแบคทีเรีย
บทบาทของจิบเบอเรลลินที่มีต่อพืช
1. กระตุ้นการเจริญเติบโตของพืชทั้งโดยท้าให้เกิดการยืดตัวของเซลล์ อีกทั้งยังสามารถกระตุ้นการยืด
ยาวของช่อดอกไม้บางชนิดและท้าให้ผลไม้มีรูปร่างยาวออกมา เช่น องุ่น และแอปเปิล
2. กระตุ้นการงอกของเมล็ดที่พักตัวและตาที่พักตัว ตาของพืชหลายชนิดที่เจริญอยู่ในเขตอบอุ่นจะพัก
ตัวในฤดูหนาว เมล็ดของพืชหลายชนิดมีพฤติกรรมเช่นนี้ด้วย ซึ่งการพักตัวจะลดลงจนหมดไป
3. การแทงช่อดอก การออกดอกของพืชเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายอย่างซึ่งจิบเบอเรลลินสามารถแทน
ความต้องการวันยาวในพืชบางชนิดได้และยังสามารถทดแทนความต้องการอุณหภูมิต่้า
4. กระตุ้นการเคลื่อนที่ของอาหารในเซลล์สะสมอาหาร หลังจากที่เมล็ดงอกแล้ว
5. กระตุ้นให้เกิดผลแบบ Parthenocarpic ในพืชบางชนิด เปลี่ยนรูปร่างของใบพืชบางชนิด
6. พืชที่มีดอกตัวผู้และตัวเมียแยกกันไม่ว่าจะต้นเดียวกันหรือแยกต้นก็ตาม จิบเบอเรลลินสามารถ
เปลี่ยนเพศของดอกได้โดยมักจะเร่งให้เกิดดอกตัวผู้
 ฮอร์โมนกรดแอบซิสิค (Abscisic Acid) หรือ ABA
- ในการศึกษาถึงการร่วงของใบ การพักตัวของตาและเมล็ดในช่วงปี ค.ศ. 1950-1960 นั้น ชี้ให้เห็นว่า
เป็นไปได้ว่ามีสารระงับการเจริญปรากฏอยู่ในต้นพืช โครงสร้างของสารเคมีดังกล่าวถูกค้นพบในปี
1965 ในผล และใบของฝ้าย สารเคมีดังกล่าวได้รับการตั้งชื่อว่า กรดแอบซิสิค หรือ ABA และพบว่าเป็น
สารจ้าพวกเซสควิเทอร์พีนอยด์
- ABA ถูกแยกออกจากพืชหลายชนิดทั้งแองจิโอสเปิร์มส์ จิมโนสเปิร์มส์ เฟินและมอส (Angiosperms,
Gymnosperms, Ferns และ Mosses)
ผลของกรดแอบซิสิดต่อพืช
- เป็นฮอร์โมนพืชที่มีสมบัติเป็นกรด ซึ่งถูกสร้างขึ้นจากเนื้อเยื่อบริเวณรากโดยเฉพาะที่หมวกราก ,ล้าต้น, ใบ
แก่ และผลดิบ ซึ่งสามารถพบได้ในพืชทุกชนิด
- กระตุ้นการหลุดร่วงของใบและผลที่แก่เต็มที่ และท้าให้พืชมีความยาวปล้องลดลง ใบมีขนาเล็กลง อีกทั้งยัง
ท้าให้เซลล์ในเนื้อเยื่อเจริญหยุดแบ่งตัว
- ยับยั้งการเจริญและการยืดตัวของเซลล์บริเวณตา และกระตุ้นให้เกิดการปิดปากใบโดยเฉพาะในสภาวะที่
พืชขาดน้้า
- ยับยั้งการแตกใบอ่อนและการงอกของเมล็ดส่งผลให้เมล็ดเกิดการพักตัว (seed dormancy) ท้าให้พืชมี
ความสามารถในการทนต่อสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมดียิ่งขึ้น
 ฮอร์โมนแก๊สเอทธิลีน (Ethylene)
- แก๊สเอทธิลีนเป็นฮอร์โมนพืชซึ่งควบคุมการเจริญเติบโตในหลายแง่ เช่น การพัฒนา การเสื่อมสลาย ขึ้นอยู่
กับเวลาและสถานที่ซึ่งเกิดขึ้นมา ผลของเอทธิลีนซึ่งรู้จักกันมานานแล้วจากการบ่มผลไม้ ในปี 1934 ได้มี
การพิสูจน์ให้เห็นว่าเอทธิลีนเป็นก๊าซที่สังเคราะห์ขึ้นโดยพืชและสามารถเร่งกระบวนการสุกได้ ต่อมาพบว่า
การก่อกองไฟใกล้ๆ สวนมะม่วงและสับปะรดจะกระตุ้นให้ออกดอกได้
- ต่อมาพบว่า ดอก เมล็ด ใบ และรากพืชสามารถสังเคราะห์เอทธิลีนได้ เช่น ในเซเลอรี่ พบว่า สามารถสร้าง
เอทธิลีนมาก้าจัดสีเขียวที่ก้านได้ นอกจากนั้นในปี 1935 ยังพบว่า การให้ออกซินกับพืชอาจจะกระตุ้นให้
พืชสร้างเอทธิลีนได้ ซึ่งเป็นค้าอธิบายได้ชัดเจนส้าหรับกรณีที่เมื่อให้ออกซินกับพืชแล้วพืชตอบสนอง
เหมือนกับได้รับเอทธิลีน
ผลของเอทธิลีนต่อพืช
1. กระตุ้นให้ผลไม้สุก ดังนั้นอาจจะเรียกเอทธิลีนว่า Ripening hormone และใช้ในการบ่มผลไม้
ในทางการค้า
2. กระตุ้นการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพ เช่น กระตุ้นให้เกิด Abscission zone ขึ้น ท้าให้ใบและกลีบ
ดอกร่วงได้ กระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพของรากและล้าต้น รวมทั้งกระตุ้นการออกดอกของพืช
เช่น สับปะรด กระตุ้นให้เกิด Adventitious root
3. กระตุ้นให้พืชออกจากการพักตัว เช่น กรณีของมันฝรั่ง
4. กระตุ้นให้เกิดดอกตัวเมียมากขึ้นในพืช Dioecious
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย ความส้าคัญและการ
น้าไปใช้ประโยชน์ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืช ชนิดและบทบาทหน้าที่ของสาร
ควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืช อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องสารควบคุมการ
เจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืชในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม
กับท้าใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความส้าคัญและการน้าไปใช้
ประโยชน์ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืช ชนิดและบทบาทหน้าที่ของสารควบคุมการ
เจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืช อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องสารควบคุมการเจริญเติบโตของ
พืชหรือฮอร์โมนพืชในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง ฮอร์โมนพืช: www.google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง ฮอร์โมนพืช: www.youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ฮอร์โมนพืช
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
…………………………………………………………………………………………………………………………………………….……………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…
……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………..……………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ฮอร์โมนพืชและการเคลื่อนไหวของพืช เรื่อง การเคลื่อนไหวของพืช
เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
*******************************************************************************************
1. มาตรฐานการเรียนรู้
ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต
ว 1.1 ม.4-6/2 ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้้าในพืช
ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า
ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล
และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ
เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
อธิบายความหมาย ความส้าคัญและกระบวนการของการเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนอง
ต่อสิ่งเร้า เขียนสรุปประเภทและลักษณะของการเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
2.1 อธิบายความหมาย ความส้าคัญและกระบวนการของการเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อสิ่ง
เร้าได้อย่างถูกต้อง
2.2 สามารถเขียนสรุปประเภทและลักษณะของการเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้อย่าง
ถูกต้อง
2.3 ตระหนักถึงความส้าคัญของการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมต่อกระบวนการด้ารงชีวิตของพืช
ได้อย่างถูกต้อง
3. สาระแกนกลาง / สาระส้าคัญ
- การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมทั้งภายนอกและภายในที่เปลี่ยนแปลงไปและกระตุ้น
ด้วยสิ่งเร้าที่จะชักน้าให้กระบวนการต่างๆในพืชด้าเนินไปแม้ว่าอาจจะไม่อยู่ในสภาพเริ่มต้น
หรือหมดไปแล้ว
- พืชไม่มีการเคลื่อนที่เหมือนสัตว์ ส่วนใหญ่พืชมีแต่การเคลื่อนไหวเมื่อเกิดการตอบสนองต่อ
สิ่งแวดล้อมหรือสิ่งเร้าที่มากระตุ้น โดยการเคลื่อนไหวของพืชนี้สามารถแบ่งออกเป็น 2
กลุ่มใหญ่ๆ คือ การเคลื่อนไหวที่เกิดจากการเจริญเติบโต และการเคลื่อนไหวเนื่องจากแรง
ดังเต่ง
- การเคลื่อนไหวของพืชที่เกิดจากการเจริญเติบโต (growth movement)
 การเคลื่อนไหวเนื่องจากสิ่งเร้าภายในหรือการเคลื่อนไหวแบบอัตโนมัติ (autonomic
movement)
 การเคลื่อนไหวที่เกิดจากสิ่งเร้าภายนอก (Stimulus movement)
1. ทรอปิซึม (tropic movement)
2. นาสตี้ (nastic movement)
- การเคลื่อนไหวของพืชที่เกี่ยวข้องกับแรงดันเต่ง (turgor movement)
การเคลื่อนไหวจากการสัมผัส (contract movement)
การเคลื่อนไหวเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณความเข้มของแสง
การเคลื่อนไหวเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้้าภายในเซลล์คุม (guard cell
movement)
4. สาระการเรียนรู้
ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความส้าคัญและกระบวนการของการเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนอง
ต่อสิ่งเร้า
ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปประเภทและลักษณะของการเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อ
สิ่งเร้า
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความส้าคัญของการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมต่อ
กระบวนการด้ารงชีวิตของพืช
5. สมรรถนะ
การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้
สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map
7. การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล
1. สมุดบันทึกการเรียน
การสอนประจ้าบทเรียน
2. ใบงานแบบฝึกหัด
ทบทวนประจ้าบทเรียน
3. ทดสอบเก็บคะแนน
ประจ้าบทเรียน
4. แบบบันทึกการท้า
กิจกรรมประจ้าบทเรียน
1. ตรวจสมุดบันทึกการ
เรียนการสอนประจ้า
บทเรียน
2. ตรวจใบงาน
แบบฝึกหัดทบทวน
ประจ้าบทเรียน
3. ตรวจแบบทดสอบ
เก็บคะแนนประจ้า
บทเรียน
4. ตรวจแบบบันทึกการ
ท้ากิจกรรมประจ้า
บทเรียน
1. การสังเกต ตรวจสอบ
เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ท้า
การเรียนการสอนประจ้า
บทเรียนจริง
2. การตรวจสอบค้าตอบกับ
ค้าเฉลยใบงานแบบฝึกหัด
ประจ้าบทเรียน
3. การตรวจสอบค้าตอบกับ
ค้าเฉลยแบบทดสอบประจ้า
บทเรียน
4. การตรวจแบบบันทึกการ
กิจกรรมประจ้าบทเรียน
1. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหา ความเป็น
ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม
ของการจดบันทึก
2. ความถูกต้องของ
ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า
กว่า 80%
3. ความถูกต้องของ
ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า
กว่า 50%
4. ความถูกต้อง ครบถ้วน
ในเนื้อหาการบันทึก ความ
เป็นระเบียบเรียบร้อย
สวยงามของการจดบันทึก
8. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นน้า : ครูตั้งค้าถามก่อนน้าไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบค้าถามเหล่านี้โดย
อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจ้าวัน ว่า
> พืชมีการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมภายนอกหรือไม่อย่างไร
> พืชมีกระบวนการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกเหมือนหรือต่างกันอย่างไร
> การศึกษาเกี่ยวกับการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมมีความเป็นมาอย่างไร
ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากระบวนการตอบสนองของพืชต่อการ
เปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมเพื่อความอยู่รอดมีกี่ขั้นตอนอะไรบ้าง
นักเรียนสามารถตั้งค้าถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น
รูปแบบการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแบ่งได้เป็นกี่รูปแบบ อะไรบ้าง
ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม” ว่า
> การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมทั้งภายนอกและภายในที่เปลี่ยนแปลงไปและกระตุ้น
ด้วยสิ่งเร้าที่จะชักน้าให้กระบวนการต่างๆในพืชด้าเนินไปแม้ว่าอาจจะไม่อยู่ในสภาพเริ่มต้นหรือหมดไปแล้ว
> พืชไม่มีการเคลื่อนที่เหมือนสัตว์ ส่วนใหญ่พืชมีแต่การเคลื่อนไหวเมื่อเกิดการตอบสนองต่อ
สิ่งแวดล้อมหรือสิ่งเร้าที่มากระตุ้น โดยการเคลื่อนไหวของพืชนี้สามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ การ
เคลื่อนไหวที่เกิดจากการเจริญเติบโต และการเคลื่อนไหวเนื่องจากแรงดังเต่ง
การเคลื่อนไหวของพืชที่เกิดจากการเจริญเติบโต (growth movement)
1) การเคลื่อนไหวเนื่องจากสิ่งเร้าภายในหรือการเคลื่อนไหวแบบอัตโนมัติ (autonomic movement) มี
สิ่งเร้าภายในพืชเองเป็นตัวกระตุ้นโดยไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมภายนอก แบ่งเป็น
- การเอนหรือแกว่งยอดไปมา (nutation movement) เป็นการเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นเฉพาะส่วนปลายยอดพืช
ที่มีกลุ่มเซลล์ของแต่ละด้านบริเวณยอดพืชเจริญเติบโตไม่เท่ากัน เช่น ต้นถั่ว
- การบิดล้าต้นเป็นเกลียว (spiral movement) เป็นการเคลื่อนไหวที่ปลายยอดเนื่องจากการเจริญเติบโตไม่
เท่ากันของแต่ละด้านท้าให้เกิดการบิดเป็นเกลียวรอบแกนเพื่อพยุงล้าต้นขณะเจริญเติบโต เช่น การพันหลัก
ของมะลิวัลย์ พริกไทย พลู เป็นต้น
2) การเคลื่อนไหวที่เกิดจากสิ่งเร้าภายนอก (Stimulus movement) แบ่งเป็น
2.1) ทรอปิซึม (tropic movement) เป็นการเคลื่อนไหวที่มีทิศทางสัมพันธ์กับทิศทางสิ่งเร้า ถ้าเป็น
การเคลื่อนไหวเข้าหาสิ่งเร้า เรียกว่า positive tropism แต่ถ้าเป็นการเคลื่อนไหวออกจากสิ่งเร้า เรียกว่า
negative tropism ซึ่งเราสามารถจ้าแนกได้ตามชนิดของสิ่งเร้าที่เข้ามากระตุ้น ได้แก่
- แรงโน้มถ่วงเป็นสิ่งเร้า (gravitropism) เช่น รากพืชเคลื่อนไหวเข้าหาแรงโน้มถ่วง (positive gravitropism)
ส่วนยอดพืชเคลื่อนไหวหนีแรงโน้มถ่วง (negative gravitropism)
- แสงเป็นสิ่งเร้า (phototropism) เช่น ยอดพืชเอนเข้าหาบริเวณที่มีแสงสว่าง (positive phototropism)
ส่วนรากพืชเอนหนีออกจากบริเวณที่มีแสงสว่าง (negative phototropism)
- สารเคมีเป็นสิ่งเร้า (chemotropism) เช่น การงอกของหลอดละอองเรณุไปยังรังไข่ของพืชมีดอกโดยมี
สารละลายน้้าตาลเป็นตัวกระตุ้น (positive chemotropism) การเจริญของรากที่เบนออกห่างจากบริเวณที่มี
ปริมาณเกลือสูงหรือดินเค็ม (negative chemotropism)
- น้้าหรือความชื้อเป็นสิ่งเร้า (hydrotropiasm) เช่น รากพืชจะเจริญเข้าหาบริเวณที่มีน้้าหรือความชื้นสูง
(positive hydrotropism)
- อุณหภูมิเป็นสิ่งเร้า (thermotropism) เช่น การออกดอกหรือการงอกของเมล็ดพืชบางชนิดจ้าเป็นต้องอาศัย
อุณหภูมิต่้าเป็นตัวกระตุ้น
- สัมผัสเป็นสิ่งเร้า (Thigmotropism) เช่น การเจริญของมือเกาะ (tendril) ของพืชบางชนิดยื่นออกไปจากล้า
ต้นไปยึดสิ่งที่สัมผัสหรือต้นไม้อื่นหรือหลัก เพื่อเป็นการพยุงล้าต้น เช่น ต้าลึง องุ่น เป็นต้น
2.2) นาสตี้ (nastic movement) เป็นการเคลื่อนไหวที่มีทิศทางไม่สัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า
เป็นการตอบสนองของพืชที่มีทิศทางคงที่ ตัวอย่างเช่น
- การบานของดอกไม้ (Epinasty) และ การหุบของดอกไม้ (hyponasty) เกิดจากกลุ่มเซลล์ทางด้านนอกและ
ด้านในของกลีบดอกขยายขนาดไม่เท่ากัน ดอกจะบานเมื่อกลุ่มเซลล์ทางด้านในของกลีบดอกขยายขนาด
มากกว่าด้านนอก ส่วนดอกจะหุบลงเพราะกลุ่มเซลล์ทางด้านนอกของกลีบดอกขยายขนาดมากกว่าด้านใน
- แสงเป็นสิ่งเร้า (Photonasty) และอุณหภูมิเป็นสิ่งเร้า (thermonasty) เป็นปัจจัยที่มีความต่อเนื่องเกี่ยวข้อง
กัน เช่น ดอกบัวส่วนมากจะหุบในเวลาตอนกลางคืนและบานในเวลาตอนกลางวัน ตรงข้ามกับดอก
กระบองเพชรซึ่งเป็นพืชทะเลทรายส่วนมากจะบานในเวลากลางคืนและหุบในเวลากลางวันเพื่อลดการสูญเสีย
น้้าเนื่องจากกลางวันมีอุณหภูมิค่อนข้างสูง นอกจากนี้ การบานของดอกบางชนิดจะต้องอาศัยระดับอุณภูมิที่
เหมาะสม เช่น ดอกบัวสวรรค์ บัวจีน ทิวลิป เป็นต้น
- สัมผัสเป็นสิ่งเร้า (thigmonasty) เช่น เมื่อแมลงมาสัมผัสขนที่ใบหยาดน้้าค้างหรือใบกาบหอยแครง แมลงตัว
นั้นจะถูกใบของพืชเหล่านั้นดักจับไว้จากกระบวนการหุบใบอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ การหุบใบของต้นไมยราบ
ที่เข้าหากันอย่างรวดเร็วเมื่อถูกสัมผัสหรือแตะเพียงเบาๆ ก็มีลักษณะเช่นเดียวกัน
การเคลื่อนไหวของพืชที่เกี่ยวข้องกับแรงดันเต่ง (turgor movement)
แรงดันเต่งที่เกิดขึ้นมาจากการเปลี่ยนแปลงของปริมาณน้้าภายในเซลล์โดยอาศัยกระบวนการออสโมซิส
(osmosis) ของน้้าเข้าสู่เซลล์ท้าให้เซลล์เต่งขึ้น แบ่งออกเป็น
1) การเคลื่อนไหวจากการสัมผัส (contract movement)
- พืชบางชนิดจะมีเซลล์ที่โคนก้านใบซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าเซลล์อื่นๆ เรียกว่า พัลวีนัส (pulvinus) เซลล์นี้จะ
ไวต่อการกระตุ้นอย่างมาก ท้าให้แรงดันเต่งภายในเซลล์ลดลงส่งผลให้ใบหุบลง เช่น ใบไมยราบ
- พืชกินแมลง เช่น ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง ต้นกาบหอยแครง ต้นหยาดน้้าค้าง จะมีเซลล์ที่ไวต่อการดัก
จับแมลงเมื่อแมลงเข้ามาสัมผัสโดยท้าให้เซลล์นั้นสูญเสียแรงดันเต่งส่งผลให้เกิดการหุบหรือปิดตัวของใบเข้าหา
กันอย่างรวดเร็ว
2) การเคลื่อนไหวเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณความเข้มของแสง เช่น พืชตระกูลถั่วจะเกิดการหุบใบ
ในตอนเย็น เรียกว่า ต้นไม้นอน (sleep movement) และกางใบตอนรุ่งเช้าเมื่อมีแสงสว่าง เนื่องจากกลุ่ม
เซลล์พัลวีนัสที่โคนก้านใบ ในสภาวะไม่มีแสงจะท้าให้เซลล์ด้านหนึ่งสูญเสียน้้าส่งผลให้แรงดันเต่งลดลง ใบจึง
หุบและก้านใบลู่ลง
3) การเคลื่อนไหวเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้้าภายในเซลล์คุม (guard cell movement) ได้แก่
การปิดและเปิดของปากใบเนื่องจากการเหี่ยวและเต่งของเซลล์คุมซึ่งเป็นผลจากกระบวนการออสโมซิสออก
และเข้าของน้้าในเซลล์คุม ตามล้าดับ
ทั้งนี้ การหุบและการใบที่เกิดจากการสัมผัส การตอบสนองตามการเปลี่ยนแปลงความเข้มของแสงหรือ
การนอนของต้นไม้ ก็จัดเป็น nastic movement ด้วยแต่ยังน้อยกกว่าการเกิดจากแรงดังเต่ง
นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย ความส้าคัญและ
กระบวนการของการเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า ประเภทและลักษณะของการเคลื่อนไหวของ
พืชเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อ
สิ่งเร้าในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป
ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม
กับท้าใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความส้าคัญและกระบวนการของ
การเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า ประเภทและลักษณะของการเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนอง
ต่อสิ่งเร้า อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าในการศึกษา
ชีววิทยาในระดับสูง
9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้
9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน
ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม
การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า:
www.google.com
9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า: www.youtube.com
9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อ
สิ่งเร้า
10. บันทึกหลังการสอน
ผลการสอน
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ปัญหาและอุปสรรค
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
แนวทางแก้ไข
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
บันทึกเพิ่มเติม
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………
ลงชื่อ..................................................
(นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์)
ครูผู้สอน
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชาชีววิทยา 5 (ว30245) ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ชื่อ-นามสกุล.................................................................................................ชั้น............ห้อง............เลขที่............
ใบกิจกรรม เรื่อง ฮอร์โมนพืชและการเคลื่อนไหวของพืช
คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปบทเรียนในรูปแบบ concept map หรือ mind map ตามความเข้าใจอย่างถูกต้อง
พร้อมตกแต่งระบายสีอย่างสวยงาม
แบบสังเกตการตอบคาถามและการร่วมกิจกรรมหน้าชั้น
ระดับชั้น ............. เรื่อง ...............................................วันที่ .......... เดือน .......................พ.ศ.............
คาชี้แจง ครูผู้สอนประเมินนักเรียนโดยใช้วิธีสังเกตในขณะด้าเนินการสอน แล้วให้ระดับคะแนนดังนี้
3 เมื่อปฏิบัติบ่อยๆ 2 เมื่อปฏิบัติบางครั้ง 1 เมื่อไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติน้อยมาก
ที่ ชื่อ-สกุล
การตอบค้าถาม
การร่วมกิจกรรม
การแสดงความคิดเห็น
การซักถาม
รวมคะแนน
ระดับคะแนน
10-12 7-9 4-6
3 3 3 3 12 ดี พอใช้ ปรับปรุง
แบบประเมินการทางานกลุ่ม
รายวิชา.................... เรื่อง .............................................วันที่ .......... เดือน ........................... พ.ศ............
ที่ ชื่อ-สกุล
ประเด็นการประเมิน/คะเนน ระดับคะแนน
ความรับผิดชอบของ
แต่ละคน
การมีส่วนร่วมในการ
ท้างาน
ความคิดสร้างสรรค์
ผลงาน
รวม 20-25 12-19 5-11
5 5 5 10 25 ดี พอใช้ ปรับปรุง
เกณฑ์การให้คะแนน
5 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นชัดเจนดีมากเป็นแบบอย่างให้แก่ผู้อื่น
4 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นดี
3 เมื่อพฤติกรรมเทียบเท่ากันทั่วไปเป็นไปตามที่ก้าหนด
2 เมื่อพฤติกรรมไม่ค่อยโดดเด่นและต่้ากว่ามาตรฐานทั่วไป
1 เมื่อพฤติกรรมไม่เหมาะสม ไม่ค่อยแสดงออกหรือให้ความร่วมมือ
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชาชีววิทยา 5 (ว30245) ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ชื่อ-นามสกุล.................................................................................................ชั้น............ห้อง............เลขที่............
ใบความรู้ เรื่อง ฮอร์โมนพืชและการเคลื่อนไหวของพืช
4.1 สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
ฮอร์โมนพืช (Plant hormone) เป็นสารเคมีที่พืชสร้างขึ้นและสามารถล้าเลียงไปส่วนต่างๆ ของพืช เพื่อ
ควบคุมการเจริญเติบโตและใช้เป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชด้วย ได้แก่ ออกซิน (Auxin) จิบเบอเรลลิน
(Gibberellins) ไซโตไคนิน (Cytokinins) กรดแอบซิสิค (Abscisic Acid) หรือ ABA และเอทธิลีน (Ethylene)
ซึ่งมีสภาพเป็นก๊าซ
ฮอร์โมนพืชสามารถเคลื่อนย้ายภายในต้นพืชได้และมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต การเปลี่ยนแปลงทาง
คุณภาพและการพัฒนาของเนื้อเยื่อ และอวัยวะของพืชซึ่งได้รับฮอร์โมนนั้น ๆ ซึ่งมีผลต่อกระบวนการทาง
สรีรวิทยาที่ค่อนข้างเฉพาะเจาะจง ดังนั้นในการศึกษาทางด้านฮอร์โมนจึงมักศึกษาในแง่ของแหล่งและ
กระบวนการสังเคราะห์ การเคลื่อนที่และเคลื่อนย้าย และปฏิกิริยาของฮอร์โมนที่มีต่อพืช
ในประเทศไทยการใช้ฮอร์โมนพืชมีวัตถุประสงค์ในทางการเกษตรเพื่อให้มีผลผลิต เพื่อเพิ่มผลผลิตและ
คุณภาพ และเพื่อความสะดวกในการจัดการฟาร์ม
4.1.1 ออกซิน (Auxin) หรือ IAA
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับออกซินนั้นเกิดขึ้นจากงานของ Charles Darwin ซึ่งศึกษาเรื่อง Phototropism ซึ่ง
พืชจะตอบสนองต่อการได้รับแสงเพียงด้านเดียวท้าให้เกิดการโค้งเข้าหาแสง Darwin สรุปว่าเมื่อต้นกล้าได้รับ
ภาพแสดงผลกระทบของฮอร์โมนต่อ
การเจริญเติบโตของพืช
ภาพแสดงโครงสร้างทางเคมีของ
ฮอร์โมนพืช
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan

More Related Content

What's hot

บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1dnavaroj
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการWichai Likitponrak
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสารtaew paichibi
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชdnavaroj
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมสำเร็จ นางสีคุณ
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สThanyamon Chat.
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)Wan Ngamwongwan
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงานdnavaroj
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบThanyamon Chat.
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3Wuttipong Tubkrathok
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมAomiko Wipaporn
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1pageใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)Waridchaya Charoensombut
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากThanyamon Chat.
 

What's hot (20)

บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ 2 ชั้น ม.1 ชุดที่ 1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง วิวัฒนาการ
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
การตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืช
 
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
13แบบทดสอบโครโมโซมและการถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรม
 
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊สการคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
การคายน้ำและการแลกเปลี่ยนแก๊ส
 
มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)มิวเทชัน (Mutation)
มิวเทชัน (Mutation)
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงานแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน    หน่วย งานและพลังงาน
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ๋ทางการเรียน หน่วย งานและพลังงาน
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3โรคทางพันธุกรรม ม.3
โรคทางพันธุกรรม ม.3
 
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรมใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
ใบงานที่ 14สารพันธุกรรม
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1pageใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
ใบความรู้+แม่เหล็กไฟฟ้า+ป.6+297+dltvscip6+55t2sci p06 f32-1page
 
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
มัลติเปิล อัลลีล (Multiple allele)
 
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของรากโครงสร้างและหน้าที่ของราก
โครงสร้างและหน้าที่ของราก
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 

Similar to 4 plantrespo plan

16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดUsableLabs
 
การย่อยอาหารของคน
การย่อยอาหารของคนการย่อยอาหารของคน
การย่อยอาหารของคนY'tt Khnkt
 
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซินการศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซินRusPateepawanit
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Nongkhao Eiei
 

Similar to 4 plantrespo plan (20)

16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
 
M6 125 60_7
M6 125 60_7M6 125 60_7
M6 125 60_7
 
5 behavi plan
5 behavi plan5 behavi plan
5 behavi plan
 
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantreproLesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูดอาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
อาหารและโภชนาการ เรื่อง สารกันบูด
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
 
การย่อยอาหารของคน
การย่อยอาหารของคนการย่อยอาหารของคน
การย่อยอาหารของคน
 
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซินการศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน
การศึกษาการเจริญเติบโตระหว่างพืชที่ใช้ปุ๋ยเคมี และออกซิน
 
Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
 
Pp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormonePp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormone
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
=U;t
=U;t=U;t
=U;t
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

4 plantrespo plan

  • 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง ฮอร์โมนพืชและการเคลื่อนไหวของพืช จานวน 3 แผนการจัดการเรียนรู้ ระยะเวลารวม 9 ชั่วโมง ประกอบด้วย แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 เรื่อง ฮอร์โมนพืช (1) ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 เรื่อง ฮอร์โมนพืช (2) ระยะเวลา 3 ชั่วโมง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 เรื่อง การเคลื่อนไหวของพืช ระยะเวลา 3 ชั่วโมง
  • 2. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ฮอร์โมนพืชและการเคลื่อนไหวของพืช เรื่อง ฮอร์โมนพืช (1) เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 1.1 ม.4-6/2 ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้้าในพืช ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย ความส้าคัญและการน้าไปใช้ประโยชน์ของสารควบคุมการเจริญเติบโต ของพืชหรือฮอร์โมนพืช เขียนข้อสรุปชนิดและบทบาทหน้าที่ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือ ฮอร์โมนพืช 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย ความส้าคัญและการน้าไปใช้ประโยชน์ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช หรือฮอร์โมนพืชได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนข้อสรุปชนิดและบทบาทหน้าที่ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมน พืชได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความส้าคัญของของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืชต่อ กระบวนการด้ารงชีวิตของพืชได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระส้าคัญ - การเจริญเติบโตของพืชจ้าเป็นต้องอาศัยน้้า แสง และธาตุอาหารต่างๆในปริมาณที่เพียงพอ เหมาะสมแต่พืชอาจไม่สามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติเพราะต้องมีสารบางอย่างที่คอย ควบคุมการเจริญเติบโต - ฮอร์โมนพืชสามารถเคลื่อนย้ายภายในต้นพืชได้และมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต การ เปลี่ยนแปลงทางคุณภาพและการพัฒนาของเนื้อเยื่อ และอวัยวะของพืชซึ่งได้รับฮอร์โมน นั้น ๆ ซึ่งมีผลต่อกระบวนการทางสรีรวิทยาที่ค่อนข้างเฉพาะเจาะจง ดังนั้นในการศึกษา ทางด้านฮอร์โมนจึงมักศึกษาในแง่ของแหล่งและกระบวนการสังเคราะห์ การเคลื่อนที่และ เคลื่อนย้าย และปฏิกิริยาของฮอร์โมนที่มีต่อพืช - ในประเทศไทยการใช้ฮอร์โมนพืชมีวัตถุประสงค์ในทางการเกษตรเพื่อให้มีผลผลิต เพื่อเพิ่ม ผลผลิตและคุณภาพและเพื่อความสะดวกในการจัดการฟาร์ม - สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช หรือฮอร์โมนพืช ได้แก่ 1. ออกซิน (Auxin) 2. จิบเบอเรลลิน (Gibberellins)
  • 3. 3. ไซโตไคนิน(Cytokinins) 4. กรดแอบซิสิค (Abscisic Acid) หรือ ABA 5. เอทธิลีน (Ethylene) ซึ่งมีสภาพเป็นก๊าซ 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความส้าคัญและการน้าไปใช้ประโยชน์ของสารควบคุมการเจริญเติบโต ของพืชหรือฮอร์โมนพืช ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนข้อสรุปชนิดและบทบาทหน้าที่ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของ พืชหรือฮอร์โมนพืช คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความส้าคัญของของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช หรือฮอร์โมนพืชต่อกระบวนการด้ารงชีวิตของพืช 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจ้าบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจ้าบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจ้าบทเรียน 4. แบบบันทึกการท้า กิจกรรมประจ้าบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจ้า บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจ้าบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจ้า บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ท้ากิจกรรมประจ้า บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ท้า การเรียนการสอนประจ้า บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบค้าตอบกับ ค้าเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจ้าบทเรียน 3. การตรวจสอบค้าตอบกับ ค้าเฉลยแบบทดสอบประจ้า บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจ้าบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน้า : ครูตั้งค้าถามก่อนน้าไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบค้าถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจ้าวัน ว่า > สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของพืชอย่างไร > สารควบคุมการเจริญของพืชที่พบในปัจจุบันได้แก่อะไรบ้าง > การศึกษาเกี่ยวกับสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชมีความเป็นมาอย่างไร
  • 4. ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชมี ผลต่อการด้ารงชีวิตของมนุษย์หรือไม่อย่างไร นักเรียนสามารถตั้งค้าถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น จงสรุปแหล่งที่มาและหน้าที่ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชในรูปแบบตาราง ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “ฮอร์โมนพืช (1)” ว่า > การเจริญเติบโตของพืชจ้าเป็นต้องอาศัยน้้า แสง และธาตุอาหารต่างๆในปริมาณที่เพียงพอ เหมาะสมแต่พืชอาจไม่สามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติเพราะต้องมีสารบางอย่างที่คอยควบคุมการเจริญเติบโต > ฮอร์โมนพืชเป็นสารเคมีภายในพืชซึ่งเกี่ยวข้องกับการเจริญของพืชไม่เพียงแต่การเจริญของพืชทั้ง ต้นเท่านั้น หากแต่ยังเกี่ยวข้องกับการเจริญของพืชแต่ละส่วนด้วย ในปัจจุบันทราบกันดีแล้วว่าฮอร์โมนพืชมีทั้ง ชนิดที่กระตุ้นการเจริญเติบโต และระงับการเจริญเติบโตฮอร์โมนพืชที่พบในปัจจุบันคือ - ออกซิน (Auxin) - จิบเบอเรลลิน (Gibberellins) - ไซโตไคนิน(Cytokinins) - กรดแอบซิสิค (Abscisic Acid) หรือ ABA - เอทธิลีน (Ethylene) ซึ่งมีสภาพเป็นก๊าซ > ฮอร์โมนพืชสามารถเคลื่อนย้ายภายในต้นพืชได้และมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต การ เปลี่ยนแปลงทางคุณภาพและการพัฒนาของเนื้อเยื่อ และอวัยวะของพืชซึ่งได้รับฮอร์โมนนั้น ๆ ซึ่งมีผลต่อ กระบวนการทางสรีรวิทยาที่ค่อนข้างเฉพาะเจาะจง ดังนั้นในการศึกษาทางด้านฮอร์โมนจึงมักศึกษาในแง่ของ แหล่งและกระบวนการสังเคราะห์ การเคลื่อนที่และเคลื่อนย้าย และปฏิกิริยาของฮอร์โมนที่มีต่อพืช
  • 5. > ในประเทศไทยการใช้ฮอร์โมนพืชมีวัตถุประสงค์ในทางการเกษตรเพื่อให้มีผลผลิต เพื่อเพิ่มผลผลิต และคุณภาพและเพื่อความสะดวกในการจัดการฟาร์ม > สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืช ได้แก่  ฮอร์โมนออกซิน (Auxin) - ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับออกซินนั้นเกิดขึ้นจากงานของ Charles Darwin ซึ่งศึกษาเรื่อง Phototropism ซึ่ง พืชจะตอบสนองต่อการได้รับแสงเพียงด้านเดียวท้าให้เกิดการโค้งเข้าหาแสง - ต่อมา Boysen-Jensen และ Paal ได้ศึกษาและแสดงให้เห็นว่า "อิทธิพล" ดังกล่าวนี้มีสภาพเป็น สารเคมี ซึ่งในสภาพที่โคลีออพไทล์ได้รับแสงเท่ากันทั้งสองด้าน - ในปี ค.ศ. 1926 Went ได้ท้างานทดลองและสามารถแยกสารชนิดนี้ออกจากโคลีออพไทล์ได้ โดยตัด ส่วนยอดของโคลีออพไทล์ของข้าวโอ๊ตแล้ววางลงบนวุ้นจะท้าให้สารเคมีที่กระตุ้นการเจริญเติบโตไหลลงสู่ วุ้น เมื่อน้าวุ้นไปวางลงที่ด้านหนึ่งของโคลีออพไทล์ที่ไม่มียอดด้านใดด้านหนึ่งจะท้าให้โคลีออพไทล์ดังกล่าว โค้งได้ เขาสรุปว่าสารเคมีได้ซึมลงสู่วุ้นแล้วซึมจากวุ้นลงสู่ส่วนของโคลีออพไทล์ การตอบสนองของพืชต่อฮอร์โมนออกซิน 1. การตอบสนองในระดับเซลล์ ออกซินท้าให้เกิดการขยายตัวของเซลล์ ท้าให้เกิดการแบ่งเซลล์ได้ในบาง กรณี เช่น กระตุ้นการแบ่งเซลล์ของแคมเบียม กระตุ้นให้เกิดรากจากการปักช้าพืช เช่น การใช้ IBA ในการ เร่งรากของกิ่งช้า แล้วยังกระตุ้นให้เกิดแคลลัสในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ 2. การตอบสนองของอวัยวะหรือพืชทั้งต้น 2.1 เกี่ยวข้องกับการตอบสนองของพืชแบบ Phototropism Geotropism 2.2 การที่ตายอดข่มไม่ให้ตาข้างเจริญเติบโต
  • 6. 2.3 การติดผล 2.4 ป้องกันการร่วงของผลโดยออกซินจะยับยั้งไม่ให้เกิด Abcission layer ขึ้นมา 2.5 ป้องกันการร่วงของใบ 2.6 ในบางกรณีออกซินสามารถท้าให้สัดส่วนของดอกตัวเมียและตัวผู้เปลี่ยนไป  ฮอร์โมนไซโตไคนิน (Cytokinins) - การค้นพบฮอร์โมนในกลุ่มนี้เริ่มจากการศึกษาการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โดยในปี ค.ศ. 1920 Haberlandt ได้แสดงให้เห็นว่ามีสารชนิดหนึ่งเกิดอยู่ในเนื้อเยื่อพืชและกระตุ้นให้เนื้อเยื่อพาเรนไคมาในหัวมันฝรั่งกลับ กลายเป็นเนื้อเยื่อเจริญได้ - นักวิทยาศาสตร์หลายท่าน เช่น Skoog และ Steward ท้าการทดลองในสหรัฐอเมริกา โดยศึกษาความ ต้องการสิ่งที่ใช้ในการเจริญเติบโตของกลุ่มก้อนของเซลล์ (Callus) ซึ่งเป็นเซลล์ที่แบ่งตัวอย่างรวดเร็ว แต่ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพเกิดขึ้นของ pith จากยาสูบและรากของแครอท - แม้ว่าไคเนติน BA และ PBA เป็นสารที่ไม่พบในต้นพืชแต่สารที่เกิดตามธรรมชาติและสารสังเคราะห์หลาย ชนิด ซึ่งมีคุณสมบัติเหมือนไคเนตินนั้น เรียกโดยทั่วๆ ไปว่า ไซโตไคนิน ซึ่งเป็นสารที่เมื่อมีผลร่วมกับออก ซินแล้วจะเร่งให้เกิดการแบ่งเซลล์ในพืช การตอบสนองของพืชต่อฮอร์โมนไซโทไคนิน 1. กระตุ้นให้เกิดการแบ่งเซลล์และการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพใน tissue culture โดยต้องใช้ ร่วมกับ Auxin ในการเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชนั้นหากให้ฮอร์โมนไซโตไคนินมากกว่าออกซินจะท้าให้เนื้อเยื่อนั้นเจริญ เป็นตา ใบ และล้าต้น
  • 7. 2. ชะลอกระบวนการเสื่อมสลาย เช่น กรณีของใบที่เจริญเต็มที่แล้วถูกตัดออกจากต้น คลอโรฟิลล์ RNA และโปรตีนจะเริ่มสลายตัวเร็วกว่าใบที่ติดอยู่กับต้น แม้จะมีการให้อาหารกับใบเหล่านี้ก็ตาม ถ้าหากเก็บ ใบเหล่านี้ไว้ในที่มืดการเสื่อมสลายยิ่งเกิดเร็วขึ้น 3. ท้าให้ตาข้างแตกออกมาหรือก้าจัดลักษณะ Apical Dominance ได้ การเพิ่มไซโตไคนินให้กับตา ข้างจะท้าให้แตกออกมาเป็นใบได้ 4. ท้าให้ใบเลี้ยงคลี่ขยายตัวกรณีเมล็ดของพืชใบเลี้ยงคู่งอกในความมืด 5. ท้าให้เกิดการสร้างคลอโรพลาสต์มากขึ้น ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพอย่างหนึ่ง 6. ท้าให้พืชทั้งต้นเจริญเติบโต 7. กระตุ้นการงอกของเมล็ดพืชบางชนิด นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย ความส้าคัญและการ น้าไปใช้ประโยชน์ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืช ชนิดและบทบาทหน้าที่ของสาร ควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืช อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องสารควบคุมการ เจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืชในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม กับท้าใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความส้าคัญและการน้าไปใช้ ประโยชน์ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืช ชนิดและบทบาทหน้าที่ของสารควบคุมการ เจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืช อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องสารควบคุมการเจริญเติบโตของ พืชหรือฮอร์โมนพืชในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
  • 8. 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง ฮอร์โมนพืช: www.google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง ฮอร์โมนพืช: www.youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ฮอร์โมนพืช 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครูผู้สอน
  • 9. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ฮอร์โมนพืชและการเคลื่อนไหวของพืช เรื่อง ฮอร์โมนพืช (2) เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 1.1 ม.4-6/2 ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้้าในพืช ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ ภายใต้ ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่า วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย ความส้าคัญและการน้าไปใช้ประโยชน์ของสารควบคุมการเจริญเติบโต ของพืชหรือฮอร์โมนพืช เขียนข้อสรุปชนิดและบทบาทหน้าที่ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือ ฮอร์โมนพืช 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย ความส้าคัญและการน้าไปใช้ประโยชน์ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช หรือฮอร์โมนพืชได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนข้อสรุปชนิดและบทบาทหน้าที่ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมน พืชได้อย่างถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความส้าคัญของของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืชต่อ กระบวนการด้ารงชีวิตของพืชได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระส้าคัญ - การเจริญเติบโตของพืชจ้าเป็นต้องอาศัยน้้า แสง และธาตุอาหารต่างๆในปริมาณที่เพียงพอ เหมาะสมแต่พืชอาจไม่สามารถเจริญเติบโตได้ตามปกติเพราะต้องมีสารบางอย่างที่คอย ควบคุมการเจริญเติบโต - ฮอร์โมนพืชสามารถเคลื่อนย้ายภายในต้นพืชได้และมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต การ เปลี่ยนแปลงทางคุณภาพและการพัฒนาของเนื้อเยื่อ และอวัยวะของพืชซึ่งได้รับฮอร์โมน นั้น ๆ ซึ่งมีผลต่อกระบวนการทางสรีรวิทยาที่ค่อนข้างเฉพาะเจาะจง ดังนั้นในการศึกษา ทางด้านฮอร์โมนจึงมักศึกษาในแง่ของแหล่งและกระบวนการสังเคราะห์ การเคลื่อนที่และ เคลื่อนย้าย และปฏิกิริยาของฮอร์โมนที่มีต่อพืช - ในประเทศไทยการใช้ฮอร์โมนพืชมีวัตถุประสงค์ในทางการเกษตรเพื่อให้มีผลผลิต เพื่อเพิ่ม ผลผลิตและคุณภาพและเพื่อความสะดวกในการจัดการฟาร์ม - สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช หรือฮอร์โมนพืช ได้แก่ 1. ออกซิน (Auxin) 2. จิบเบอเรลลิน (Gibberellins)
  • 10. 3. ไซโตไคนิน(Cytokinins) 4. กรดแอบซิสิค (Abscisic Acid) หรือ ABA 5. เอทธิลีน (Ethylene) ซึ่งมีสภาพเป็นก๊าซ 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความส้าคัญและการน้าไปใช้ประโยชน์ของสารควบคุมการเจริญเติบโต ของพืชหรือฮอร์โมนพืช ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนข้อสรุปชนิดและบทบาทหน้าที่ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของ พืชหรือฮอร์โมนพืช คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความส้าคัญของของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช หรือฮอร์โมนพืชต่อกระบวนการด้ารงชีวิตของพืช 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจ้าบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจ้าบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจ้าบทเรียน 4. แบบบันทึกการท้า กิจกรรมประจ้าบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจ้า บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจ้าบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจ้า บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ท้ากิจกรรมประจ้า บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ท้า การเรียนการสอนประจ้า บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบค้าตอบกับ ค้าเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจ้าบทเรียน 3. การตรวจสอบค้าตอบกับ ค้าเฉลยแบบทดสอบประจ้า บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจ้าบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน้า : ครูตั้งค้าถามก่อนน้าไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบค้าถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจ้าวัน ว่า > สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโตของพืชอย่างไร > สารควบคุมการเจริญของพืชที่พบในปัจจุบันได้แก่อะไรบ้าง > การศึกษาเกี่ยวกับสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชมีความเป็นมาอย่างไร
  • 11. ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่าสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชมี ผลต่อการด้ารงชีวิตของมนุษย์หรือไม่อย่างไร นักเรียนสามารถตั้งค้าถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น จงสรุปแหล่งที่มาและหน้าที่ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชในรูปแบบตาราง ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “ฮอร์โมนพืช (2)” ว่า  ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน (Gibberellins) - การค้นพบกลุ่มของฮอร์โมนพืชจิบเบอเรลลินนั้น เกิดประมาณ ปี 1920 เมื่อ Kurosawa นักวิทยาศาสตร์ ชาวญี่ปุ่น ศึกษาในต้นข้าวที่เป็นโรค Bakanae หรือโรคข้าวตัวผู้ ซึ่งเกิดจากเชื้อรา Gibberella fujikuroi หรือ Fusarium moniliforme ซึ่งต้นข้าวมีลักษณะสูงกว่าต้นข้าวปกติ ท้าให้ล้มง่าย - ความรู้เกี่ยวกับโครงสร้างและส่วนประกอบทางเคมีของจิบเบอเรลลินนั้นได้รับการศึกษาในปี 1954 โดย นักเคมีชาวอังกฤษซึ่งสามารถแยกสารบริสุทธิ์จากอาหารเลี้ยงเชื้อรา Gibberella fujikuroi และเรียกสาร นี้ว่ากรดจิบเบอเรลลิค (Gibberellic Acid) GA เป็นฮอร์โมนที่พบในพืชชั้นสูงทุกชนิด นอกจากนั้นยังพบ ในเฟิร์น สาหร่าย และเชื้อราบางชนิด แต่ไม่พบในแบคทีเรีย บทบาทของจิบเบอเรลลินที่มีต่อพืช 1. กระตุ้นการเจริญเติบโตของพืชทั้งโดยท้าให้เกิดการยืดตัวของเซลล์ อีกทั้งยังสามารถกระตุ้นการยืด ยาวของช่อดอกไม้บางชนิดและท้าให้ผลไม้มีรูปร่างยาวออกมา เช่น องุ่น และแอปเปิล 2. กระตุ้นการงอกของเมล็ดที่พักตัวและตาที่พักตัว ตาของพืชหลายชนิดที่เจริญอยู่ในเขตอบอุ่นจะพัก ตัวในฤดูหนาว เมล็ดของพืชหลายชนิดมีพฤติกรรมเช่นนี้ด้วย ซึ่งการพักตัวจะลดลงจนหมดไป 3. การแทงช่อดอก การออกดอกของพืชเกี่ยวข้องกับปัจจัยหลายอย่างซึ่งจิบเบอเรลลินสามารถแทน ความต้องการวันยาวในพืชบางชนิดได้และยังสามารถทดแทนความต้องการอุณหภูมิต่้า 4. กระตุ้นการเคลื่อนที่ของอาหารในเซลล์สะสมอาหาร หลังจากที่เมล็ดงอกแล้ว 5. กระตุ้นให้เกิดผลแบบ Parthenocarpic ในพืชบางชนิด เปลี่ยนรูปร่างของใบพืชบางชนิด 6. พืชที่มีดอกตัวผู้และตัวเมียแยกกันไม่ว่าจะต้นเดียวกันหรือแยกต้นก็ตาม จิบเบอเรลลินสามารถ เปลี่ยนเพศของดอกได้โดยมักจะเร่งให้เกิดดอกตัวผู้
  • 12.  ฮอร์โมนกรดแอบซิสิค (Abscisic Acid) หรือ ABA - ในการศึกษาถึงการร่วงของใบ การพักตัวของตาและเมล็ดในช่วงปี ค.ศ. 1950-1960 นั้น ชี้ให้เห็นว่า เป็นไปได้ว่ามีสารระงับการเจริญปรากฏอยู่ในต้นพืช โครงสร้างของสารเคมีดังกล่าวถูกค้นพบในปี 1965 ในผล และใบของฝ้าย สารเคมีดังกล่าวได้รับการตั้งชื่อว่า กรดแอบซิสิค หรือ ABA และพบว่าเป็น สารจ้าพวกเซสควิเทอร์พีนอยด์ - ABA ถูกแยกออกจากพืชหลายชนิดทั้งแองจิโอสเปิร์มส์ จิมโนสเปิร์มส์ เฟินและมอส (Angiosperms, Gymnosperms, Ferns และ Mosses) ผลของกรดแอบซิสิดต่อพืช - เป็นฮอร์โมนพืชที่มีสมบัติเป็นกรด ซึ่งถูกสร้างขึ้นจากเนื้อเยื่อบริเวณรากโดยเฉพาะที่หมวกราก ,ล้าต้น, ใบ แก่ และผลดิบ ซึ่งสามารถพบได้ในพืชทุกชนิด - กระตุ้นการหลุดร่วงของใบและผลที่แก่เต็มที่ และท้าให้พืชมีความยาวปล้องลดลง ใบมีขนาเล็กลง อีกทั้งยัง ท้าให้เซลล์ในเนื้อเยื่อเจริญหยุดแบ่งตัว - ยับยั้งการเจริญและการยืดตัวของเซลล์บริเวณตา และกระตุ้นให้เกิดการปิดปากใบโดยเฉพาะในสภาวะที่ พืชขาดน้้า - ยับยั้งการแตกใบอ่อนและการงอกของเมล็ดส่งผลให้เมล็ดเกิดการพักตัว (seed dormancy) ท้าให้พืชมี ความสามารถในการทนต่อสภาพแวดล้อมไม่เหมาะสมดียิ่งขึ้น  ฮอร์โมนแก๊สเอทธิลีน (Ethylene) - แก๊สเอทธิลีนเป็นฮอร์โมนพืชซึ่งควบคุมการเจริญเติบโตในหลายแง่ เช่น การพัฒนา การเสื่อมสลาย ขึ้นอยู่ กับเวลาและสถานที่ซึ่งเกิดขึ้นมา ผลของเอทธิลีนซึ่งรู้จักกันมานานแล้วจากการบ่มผลไม้ ในปี 1934 ได้มี การพิสูจน์ให้เห็นว่าเอทธิลีนเป็นก๊าซที่สังเคราะห์ขึ้นโดยพืชและสามารถเร่งกระบวนการสุกได้ ต่อมาพบว่า การก่อกองไฟใกล้ๆ สวนมะม่วงและสับปะรดจะกระตุ้นให้ออกดอกได้
  • 13. - ต่อมาพบว่า ดอก เมล็ด ใบ และรากพืชสามารถสังเคราะห์เอทธิลีนได้ เช่น ในเซเลอรี่ พบว่า สามารถสร้าง เอทธิลีนมาก้าจัดสีเขียวที่ก้านได้ นอกจากนั้นในปี 1935 ยังพบว่า การให้ออกซินกับพืชอาจจะกระตุ้นให้ พืชสร้างเอทธิลีนได้ ซึ่งเป็นค้าอธิบายได้ชัดเจนส้าหรับกรณีที่เมื่อให้ออกซินกับพืชแล้วพืชตอบสนอง เหมือนกับได้รับเอทธิลีน ผลของเอทธิลีนต่อพืช 1. กระตุ้นให้ผลไม้สุก ดังนั้นอาจจะเรียกเอทธิลีนว่า Ripening hormone และใช้ในการบ่มผลไม้ ในทางการค้า 2. กระตุ้นการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพ เช่น กระตุ้นให้เกิด Abscission zone ขึ้น ท้าให้ใบและกลีบ ดอกร่วงได้ กระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพของรากและล้าต้น รวมทั้งกระตุ้นการออกดอกของพืช เช่น สับปะรด กระตุ้นให้เกิด Adventitious root 3. กระตุ้นให้พืชออกจากการพักตัว เช่น กรณีของมันฝรั่ง 4. กระตุ้นให้เกิดดอกตัวเมียมากขึ้นในพืช Dioecious นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย ความส้าคัญและการ น้าไปใช้ประโยชน์ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืช ชนิดและบทบาทหน้าที่ของสาร ควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืช อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องสารควบคุมการ เจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืชในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม กับท้าใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความส้าคัญและการน้าไปใช้ ประโยชน์ของสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืช ชนิดและบทบาทหน้าที่ของสารควบคุมการ เจริญเติบโตของพืชหรือฮอร์โมนพืช อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องสารควบคุมการเจริญเติบโตของ พืชหรือฮอร์โมนพืชในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูง
  • 14. 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง ฮอร์โมนพืช: www.google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง ฮอร์โมนพืช: www.youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง ฮอร์โมนพืช 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………………………….…… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………….……… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม …………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………… ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………..…………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครูผู้สอน
  • 15. แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ รายวิชา ว302445 ชีววิทยา 5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ฮอร์โมนพืชและการเคลื่อนไหวของพืช เรื่อง การเคลื่อนไหวของพืช เวลา 3 ชั่วโมง ครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ******************************************************************************************* 1. มาตรฐานการเรียนรู้ ว 1.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของเซลล์ของสิ่งมีชีวิต ว 1.1 ม.4-6/2 ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพของน้้าในพืช ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่า ปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูล และเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้นๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดล้อม มีความ เกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้ อธิบายความหมาย ความส้าคัญและกระบวนการของการเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนอง ต่อสิ่งเร้า เขียนสรุปประเภทและลักษณะของการเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า 2. จุดประสงค์การเรียนรู้ 2.1 อธิบายความหมาย ความส้าคัญและกระบวนการของการเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อสิ่ง เร้าได้อย่างถูกต้อง 2.2 สามารถเขียนสรุปประเภทและลักษณะของการเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าได้อย่าง ถูกต้อง 2.3 ตระหนักถึงความส้าคัญของการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมต่อกระบวนการด้ารงชีวิตของพืช ได้อย่างถูกต้อง 3. สาระแกนกลาง / สาระส้าคัญ - การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมทั้งภายนอกและภายในที่เปลี่ยนแปลงไปและกระตุ้น ด้วยสิ่งเร้าที่จะชักน้าให้กระบวนการต่างๆในพืชด้าเนินไปแม้ว่าอาจจะไม่อยู่ในสภาพเริ่มต้น หรือหมดไปแล้ว - พืชไม่มีการเคลื่อนที่เหมือนสัตว์ ส่วนใหญ่พืชมีแต่การเคลื่อนไหวเมื่อเกิดการตอบสนองต่อ สิ่งแวดล้อมหรือสิ่งเร้าที่มากระตุ้น โดยการเคลื่อนไหวของพืชนี้สามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ การเคลื่อนไหวที่เกิดจากการเจริญเติบโต และการเคลื่อนไหวเนื่องจากแรง ดังเต่ง - การเคลื่อนไหวของพืชที่เกิดจากการเจริญเติบโต (growth movement)  การเคลื่อนไหวเนื่องจากสิ่งเร้าภายในหรือการเคลื่อนไหวแบบอัตโนมัติ (autonomic movement)  การเคลื่อนไหวที่เกิดจากสิ่งเร้าภายนอก (Stimulus movement) 1. ทรอปิซึม (tropic movement) 2. นาสตี้ (nastic movement) - การเคลื่อนไหวของพืชที่เกี่ยวข้องกับแรงดันเต่ง (turgor movement)
  • 16. การเคลื่อนไหวจากการสัมผัส (contract movement) การเคลื่อนไหวเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณความเข้มของแสง การเคลื่อนไหวเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้้าภายในเซลล์คุม (guard cell movement) 4. สาระการเรียนรู้ ความรู้ (K) อธิบายความหมาย ความส้าคัญและกระบวนการของการเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนอง ต่อสิ่งเร้า ทักษะ / กระบวนการ (P) เขียนสรุปประเภทและลักษณะของการเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อ สิ่งเร้า คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A) ตระหนักถึงความส้าคัญของการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมต่อ กระบวนการด้ารงชีวิตของพืช 5. สมรรถนะ การคิด , การแก้ปัญหา, ทักษะชีวิต, การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี 6. ชิ้นงาน / ภาระงานที่แสดงผลการเรียนรู้ สมุดบันทึก ,ใบงาน ,ใบกิจกรรม และ Concept map หรือ Mind map 7. การวัดและประเมินผล รายการประเมิน วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล 1. สมุดบันทึกการเรียน การสอนประจ้าบทเรียน 2. ใบงานแบบฝึกหัด ทบทวนประจ้าบทเรียน 3. ทดสอบเก็บคะแนน ประจ้าบทเรียน 4. แบบบันทึกการท้า กิจกรรมประจ้าบทเรียน 1. ตรวจสมุดบันทึกการ เรียนการสอนประจ้า บทเรียน 2. ตรวจใบงาน แบบฝึกหัดทบทวน ประจ้าบทเรียน 3. ตรวจแบบทดสอบ เก็บคะแนนประจ้า บทเรียน 4. ตรวจแบบบันทึกการ ท้ากิจกรรมประจ้า บทเรียน 1. การสังเกต ตรวจสอบ เปรียบเทียบกับเนื้อหาที่ท้า การเรียนการสอนประจ้า บทเรียนจริง 2. การตรวจสอบค้าตอบกับ ค้าเฉลยใบงานแบบฝึกหัด ประจ้าบทเรียน 3. การตรวจสอบค้าตอบกับ ค้าเฉลยแบบทดสอบประจ้า บทเรียน 4. การตรวจแบบบันทึกการ กิจกรรมประจ้าบทเรียน 1. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหา ความเป็น ระเบียบเรียบร้อยสวยงาม ของการจดบันทึก 2. ความถูกต้องของ ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า กว่า 80% 3. ความถูกต้องของ ค้าตอบอย่างน้อยไม่ต่้า กว่า 50% 4. ความถูกต้อง ครบถ้วน ในเนื้อหาการบันทึก ความ เป็นระเบียบเรียบร้อย สวยงามของการจดบันทึก 8. กิจกรรมการเรียนรู้ ขั้นน้า : ครูตั้งค้าถามก่อนน้าไปสู่การเรียนการสอนให้นักเรียนจะตอบค้าถามเหล่านี้โดย อาศัยความรู้ความเข้าใจที่มีอยู่เดิม หรือจากประสบการณ์ที่นักเรียนเคยพบเห็นในชีวิตประจ้าวัน ว่า > พืชมีการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมภายนอกหรือไม่อย่างไร > พืชมีกระบวนการตอบสนองต่อสิ่งแวดล้อมภายในและภายนอกเหมือนหรือต่างกันอย่างไร > การศึกษาเกี่ยวกับการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมมีความเป็นมาอย่างไร
  • 17. ครูเริ่มเปิดอภิปรายโดยให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่ากระบวนการตอบสนองของพืชต่อการ เปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมเพื่อความอยู่รอดมีกี่ขั้นตอนอะไรบ้าง นักเรียนสามารถตั้งค้าถามที่อยากรู้เพิ่มเติม หลังจากได้ร่วมกันอภิปรายในห้องเรียนแล้ว เช่น รูปแบบการตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมแบ่งได้เป็นกี่รูปแบบ อะไรบ้าง ขั้นสอน : ครูอธิบายเนื้อหา “การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อม” ว่า > การตอบสนองของพืชต่อสิ่งแวดล้อมทั้งภายนอกและภายในที่เปลี่ยนแปลงไปและกระตุ้น ด้วยสิ่งเร้าที่จะชักน้าให้กระบวนการต่างๆในพืชด้าเนินไปแม้ว่าอาจจะไม่อยู่ในสภาพเริ่มต้นหรือหมดไปแล้ว > พืชไม่มีการเคลื่อนที่เหมือนสัตว์ ส่วนใหญ่พืชมีแต่การเคลื่อนไหวเมื่อเกิดการตอบสนองต่อ สิ่งแวดล้อมหรือสิ่งเร้าที่มากระตุ้น โดยการเคลื่อนไหวของพืชนี้สามารถแบ่งออกเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ การ เคลื่อนไหวที่เกิดจากการเจริญเติบโต และการเคลื่อนไหวเนื่องจากแรงดังเต่ง การเคลื่อนไหวของพืชที่เกิดจากการเจริญเติบโต (growth movement) 1) การเคลื่อนไหวเนื่องจากสิ่งเร้าภายในหรือการเคลื่อนไหวแบบอัตโนมัติ (autonomic movement) มี สิ่งเร้าภายในพืชเองเป็นตัวกระตุ้นโดยไม่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมภายนอก แบ่งเป็น - การเอนหรือแกว่งยอดไปมา (nutation movement) เป็นการเคลื่อนไหวที่เกิดขึ้นเฉพาะส่วนปลายยอดพืช ที่มีกลุ่มเซลล์ของแต่ละด้านบริเวณยอดพืชเจริญเติบโตไม่เท่ากัน เช่น ต้นถั่ว - การบิดล้าต้นเป็นเกลียว (spiral movement) เป็นการเคลื่อนไหวที่ปลายยอดเนื่องจากการเจริญเติบโตไม่ เท่ากันของแต่ละด้านท้าให้เกิดการบิดเป็นเกลียวรอบแกนเพื่อพยุงล้าต้นขณะเจริญเติบโต เช่น การพันหลัก ของมะลิวัลย์ พริกไทย พลู เป็นต้น 2) การเคลื่อนไหวที่เกิดจากสิ่งเร้าภายนอก (Stimulus movement) แบ่งเป็น 2.1) ทรอปิซึม (tropic movement) เป็นการเคลื่อนไหวที่มีทิศทางสัมพันธ์กับทิศทางสิ่งเร้า ถ้าเป็น การเคลื่อนไหวเข้าหาสิ่งเร้า เรียกว่า positive tropism แต่ถ้าเป็นการเคลื่อนไหวออกจากสิ่งเร้า เรียกว่า negative tropism ซึ่งเราสามารถจ้าแนกได้ตามชนิดของสิ่งเร้าที่เข้ามากระตุ้น ได้แก่
  • 18. - แรงโน้มถ่วงเป็นสิ่งเร้า (gravitropism) เช่น รากพืชเคลื่อนไหวเข้าหาแรงโน้มถ่วง (positive gravitropism) ส่วนยอดพืชเคลื่อนไหวหนีแรงโน้มถ่วง (negative gravitropism) - แสงเป็นสิ่งเร้า (phototropism) เช่น ยอดพืชเอนเข้าหาบริเวณที่มีแสงสว่าง (positive phototropism) ส่วนรากพืชเอนหนีออกจากบริเวณที่มีแสงสว่าง (negative phototropism) - สารเคมีเป็นสิ่งเร้า (chemotropism) เช่น การงอกของหลอดละอองเรณุไปยังรังไข่ของพืชมีดอกโดยมี สารละลายน้้าตาลเป็นตัวกระตุ้น (positive chemotropism) การเจริญของรากที่เบนออกห่างจากบริเวณที่มี ปริมาณเกลือสูงหรือดินเค็ม (negative chemotropism) - น้้าหรือความชื้อเป็นสิ่งเร้า (hydrotropiasm) เช่น รากพืชจะเจริญเข้าหาบริเวณที่มีน้้าหรือความชื้นสูง (positive hydrotropism) - อุณหภูมิเป็นสิ่งเร้า (thermotropism) เช่น การออกดอกหรือการงอกของเมล็ดพืชบางชนิดจ้าเป็นต้องอาศัย อุณหภูมิต่้าเป็นตัวกระตุ้น - สัมผัสเป็นสิ่งเร้า (Thigmotropism) เช่น การเจริญของมือเกาะ (tendril) ของพืชบางชนิดยื่นออกไปจากล้า ต้นไปยึดสิ่งที่สัมผัสหรือต้นไม้อื่นหรือหลัก เพื่อเป็นการพยุงล้าต้น เช่น ต้าลึง องุ่น เป็นต้น 2.2) นาสตี้ (nastic movement) เป็นการเคลื่อนไหวที่มีทิศทางไม่สัมพันธ์กับทิศทางของสิ่งเร้า เป็นการตอบสนองของพืชที่มีทิศทางคงที่ ตัวอย่างเช่น
  • 19. - การบานของดอกไม้ (Epinasty) และ การหุบของดอกไม้ (hyponasty) เกิดจากกลุ่มเซลล์ทางด้านนอกและ ด้านในของกลีบดอกขยายขนาดไม่เท่ากัน ดอกจะบานเมื่อกลุ่มเซลล์ทางด้านในของกลีบดอกขยายขนาด มากกว่าด้านนอก ส่วนดอกจะหุบลงเพราะกลุ่มเซลล์ทางด้านนอกของกลีบดอกขยายขนาดมากกว่าด้านใน - แสงเป็นสิ่งเร้า (Photonasty) และอุณหภูมิเป็นสิ่งเร้า (thermonasty) เป็นปัจจัยที่มีความต่อเนื่องเกี่ยวข้อง กัน เช่น ดอกบัวส่วนมากจะหุบในเวลาตอนกลางคืนและบานในเวลาตอนกลางวัน ตรงข้ามกับดอก กระบองเพชรซึ่งเป็นพืชทะเลทรายส่วนมากจะบานในเวลากลางคืนและหุบในเวลากลางวันเพื่อลดการสูญเสีย น้้าเนื่องจากกลางวันมีอุณหภูมิค่อนข้างสูง นอกจากนี้ การบานของดอกบางชนิดจะต้องอาศัยระดับอุณภูมิที่ เหมาะสม เช่น ดอกบัวสวรรค์ บัวจีน ทิวลิป เป็นต้น - สัมผัสเป็นสิ่งเร้า (thigmonasty) เช่น เมื่อแมลงมาสัมผัสขนที่ใบหยาดน้้าค้างหรือใบกาบหอยแครง แมลงตัว นั้นจะถูกใบของพืชเหล่านั้นดักจับไว้จากกระบวนการหุบใบอย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ การหุบใบของต้นไมยราบ ที่เข้าหากันอย่างรวดเร็วเมื่อถูกสัมผัสหรือแตะเพียงเบาๆ ก็มีลักษณะเช่นเดียวกัน การเคลื่อนไหวของพืชที่เกี่ยวข้องกับแรงดันเต่ง (turgor movement) แรงดันเต่งที่เกิดขึ้นมาจากการเปลี่ยนแปลงของปริมาณน้้าภายในเซลล์โดยอาศัยกระบวนการออสโมซิส (osmosis) ของน้้าเข้าสู่เซลล์ท้าให้เซลล์เต่งขึ้น แบ่งออกเป็น 1) การเคลื่อนไหวจากการสัมผัส (contract movement) - พืชบางชนิดจะมีเซลล์ที่โคนก้านใบซึ่งมีขนาดใหญ่กว่าเซลล์อื่นๆ เรียกว่า พัลวีนัส (pulvinus) เซลล์นี้จะ ไวต่อการกระตุ้นอย่างมาก ท้าให้แรงดันเต่งภายในเซลล์ลดลงส่งผลให้ใบหุบลง เช่น ใบไมยราบ - พืชกินแมลง เช่น ต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง ต้นกาบหอยแครง ต้นหยาดน้้าค้าง จะมีเซลล์ที่ไวต่อการดัก จับแมลงเมื่อแมลงเข้ามาสัมผัสโดยท้าให้เซลล์นั้นสูญเสียแรงดันเต่งส่งผลให้เกิดการหุบหรือปิดตัวของใบเข้าหา กันอย่างรวดเร็ว 2) การเคลื่อนไหวเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณความเข้มของแสง เช่น พืชตระกูลถั่วจะเกิดการหุบใบ ในตอนเย็น เรียกว่า ต้นไม้นอน (sleep movement) และกางใบตอนรุ่งเช้าเมื่อมีแสงสว่าง เนื่องจากกลุ่ม
  • 20. เซลล์พัลวีนัสที่โคนก้านใบ ในสภาวะไม่มีแสงจะท้าให้เซลล์ด้านหนึ่งสูญเสียน้้าส่งผลให้แรงดันเต่งลดลง ใบจึง หุบและก้านใบลู่ลง 3) การเคลื่อนไหวเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงปริมาณน้้าภายในเซลล์คุม (guard cell movement) ได้แก่ การปิดและเปิดของปากใบเนื่องจากการเหี่ยวและเต่งของเซลล์คุมซึ่งเป็นผลจากกระบวนการออสโมซิสออก และเข้าของน้้าในเซลล์คุม ตามล้าดับ ทั้งนี้ การหุบและการใบที่เกิดจากการสัมผัส การตอบสนองตามการเปลี่ยนแปลงความเข้มของแสงหรือ การนอนของต้นไม้ ก็จัดเป็น nastic movement ด้วยแต่ยังน้อยกกว่าการเกิดจากแรงดังเต่ง นักเรียนร่วมแสดงความคิดเห็นและซักถามข้อสงสัยเกี่ยวกับความหมาย ความส้าคัญและ กระบวนการของการเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า ประเภทและลักษณะของการเคลื่อนไหวของ พืชเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อ สิ่งเร้าในการศึกษาชีววิทยาในระดับสูงต่อไป ขั้นสรุป : ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เป็น concept map หรือ mind map พร้อม กับท้าใบงานหรือใบกิจกรรมเพื่อตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับความหมาย ความส้าคัญและกระบวนการของ การเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า ประเภทและลักษณะของการเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนอง ต่อสิ่งเร้า อีกทั้งการประยุกต์ใช้เนื้อหาบทเรียนเรื่องการเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้าในการศึกษา ชีววิทยาในระดับสูง 9. สื่อ / อุปกรณ์ / แหล่งเรียนรู้ 9.1 เอกสารประกอบการเรียนการสอน รายวิชา ว30245 ชีววิทยา 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 คณะผู้รวบรวม ครูผู้สอนรายวิชาชีววิทยาชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 9.2 หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบัน ส่งเสริมการส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ 9.3 คู่มือครูรายวิชาเพิ่มเติม ชีววิทยา เล่ม 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ผู้แต่ง สถาบันส่งเสริม การส่งวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) กระทรวงศึกษาธิการ
  • 21. 9.4 ห้องสมุดหม่อมหลวงปิ่น มาลากุล โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 9.5 เว็ปไซต์อ้างอิงแหล่งข้อมูล เรื่อง การเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า: www.google.com 9.6 เว็ปไซต์สื่อมัลติมีเดีย เรื่อง การเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อสิ่งเร้า: www.youtube.com 9.7 สื่อเทคโนโลยี power point ประกอบการเรียนรู้ เรื่อง การเคลื่อนไหวของพืชเพื่อตอบสนองต่อ สิ่งเร้า 10. บันทึกหลังการสอน ผลการสอน ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ปัญหาและอุปสรรค ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… …………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… แนวทางแก้ไข ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… บันทึกเพิ่มเติม ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ……………………………………………………………………………………………………………………………………………… ลงชื่อ.................................................. (นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์) ครูผู้สอน
  • 22. โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชาชีววิทยา 5 (ว30245) ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ชื่อ-นามสกุล.................................................................................................ชั้น............ห้อง............เลขที่............ ใบกิจกรรม เรื่อง ฮอร์โมนพืชและการเคลื่อนไหวของพืช คาชี้แจง ให้นักเรียนสรุปบทเรียนในรูปแบบ concept map หรือ mind map ตามความเข้าใจอย่างถูกต้อง พร้อมตกแต่งระบายสีอย่างสวยงาม
  • 23. แบบสังเกตการตอบคาถามและการร่วมกิจกรรมหน้าชั้น ระดับชั้น ............. เรื่อง ...............................................วันที่ .......... เดือน .......................พ.ศ............. คาชี้แจง ครูผู้สอนประเมินนักเรียนโดยใช้วิธีสังเกตในขณะด้าเนินการสอน แล้วให้ระดับคะแนนดังนี้ 3 เมื่อปฏิบัติบ่อยๆ 2 เมื่อปฏิบัติบางครั้ง 1 เมื่อไม่ปฏิบัติหรือปฏิบัติน้อยมาก ที่ ชื่อ-สกุล การตอบค้าถาม การร่วมกิจกรรม การแสดงความคิดเห็น การซักถาม รวมคะแนน ระดับคะแนน 10-12 7-9 4-6 3 3 3 3 12 ดี พอใช้ ปรับปรุง
  • 24. แบบประเมินการทางานกลุ่ม รายวิชา.................... เรื่อง .............................................วันที่ .......... เดือน ........................... พ.ศ............ ที่ ชื่อ-สกุล ประเด็นการประเมิน/คะเนน ระดับคะแนน ความรับผิดชอบของ แต่ละคน การมีส่วนร่วมในการ ท้างาน ความคิดสร้างสรรค์ ผลงาน รวม 20-25 12-19 5-11 5 5 5 10 25 ดี พอใช้ ปรับปรุง เกณฑ์การให้คะแนน 5 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นชัดเจนดีมากเป็นแบบอย่างให้แก่ผู้อื่น 4 เมื่อพฤติกรรมโดดเด่นดี 3 เมื่อพฤติกรรมเทียบเท่ากันทั่วไปเป็นไปตามที่ก้าหนด 2 เมื่อพฤติกรรมไม่ค่อยโดดเด่นและต่้ากว่ามาตรฐานทั่วไป 1 เมื่อพฤติกรรมไม่เหมาะสม ไม่ค่อยแสดงออกหรือให้ความร่วมมือ
  • 25. โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา รายวิชาชีววิทยา 5 (ว30245) ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ชื่อ-นามสกุล.................................................................................................ชั้น............ห้อง............เลขที่............ ใบความรู้ เรื่อง ฮอร์โมนพืชและการเคลื่อนไหวของพืช 4.1 สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช ฮอร์โมนพืช (Plant hormone) เป็นสารเคมีที่พืชสร้างขึ้นและสามารถล้าเลียงไปส่วนต่างๆ ของพืช เพื่อ ควบคุมการเจริญเติบโตและใช้เป็นการตอบสนองต่อสิ่งเร้าของพืชด้วย ได้แก่ ออกซิน (Auxin) จิบเบอเรลลิน (Gibberellins) ไซโตไคนิน (Cytokinins) กรดแอบซิสิค (Abscisic Acid) หรือ ABA และเอทธิลีน (Ethylene) ซึ่งมีสภาพเป็นก๊าซ ฮอร์โมนพืชสามารถเคลื่อนย้ายภายในต้นพืชได้และมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต การเปลี่ยนแปลงทาง คุณภาพและการพัฒนาของเนื้อเยื่อ และอวัยวะของพืชซึ่งได้รับฮอร์โมนนั้น ๆ ซึ่งมีผลต่อกระบวนการทาง สรีรวิทยาที่ค่อนข้างเฉพาะเจาะจง ดังนั้นในการศึกษาทางด้านฮอร์โมนจึงมักศึกษาในแง่ของแหล่งและ กระบวนการสังเคราะห์ การเคลื่อนที่และเคลื่อนย้าย และปฏิกิริยาของฮอร์โมนที่มีต่อพืช ในประเทศไทยการใช้ฮอร์โมนพืชมีวัตถุประสงค์ในทางการเกษตรเพื่อให้มีผลผลิต เพื่อเพิ่มผลผลิตและ คุณภาพ และเพื่อความสะดวกในการจัดการฟาร์ม 4.1.1 ออกซิน (Auxin) หรือ IAA ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับออกซินนั้นเกิดขึ้นจากงานของ Charles Darwin ซึ่งศึกษาเรื่อง Phototropism ซึ่ง พืชจะตอบสนองต่อการได้รับแสงเพียงด้านเดียวท้าให้เกิดการโค้งเข้าหาแสง Darwin สรุปว่าเมื่อต้นกล้าได้รับ ภาพแสดงผลกระทบของฮอร์โมนต่อ การเจริญเติบโตของพืช ภาพแสดงโครงสร้างทางเคมีของ ฮอร์โมนพืช