SlideShare a Scribd company logo
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจานวนการแตกยอดของต้นแก้ว
นาเสนอครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตาแหน่งครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. นางสาวนภวรรณ ตั้งอานวยสมบัติ เลขที่ 7
2. นางสาวสิริกร จิตรัว เลขที่ 21
3. นายจิรภาส ฤทธิ์ลิขิต เลขที่ 29
4. นายสุวินัย จิระบุญศรี เลขที่ 41
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
บทคัดย่อ
ต้นแก้วเป็นพืชที่มีประโยชน์ในทุกส่วนไม่ว่าจะเป็นดอกที่มีกลิ่นหอมเฉพาะตัวและความหมายอันเป็น
มงคลทาให้คนไทยนิยมนาดอกแก้วมาใช้บูชาพระในพิธีทางศาสนาเพื่อความเป็นสิริมงคล เนื้อไม้ของต้นแก้วนิยม
นามาใช้ในการทาเครื่องเรือน เครื่องตกแต่งภายในบ้าน ภาชนะต่าง ๆ หรือใช้ทาด้ามเครื่องมือ เครื่องดนตรี อีกทั้ง
ราก ใบ ก้าน ดอก ผลของต้นแก้วยังมีสรรพคุณทางยาช่วยรักษาอาการต่างๆ อาทิเช่นใบช่วยแก้ท้องเสีย
กลุ่มของข้าพเจ้าจึงคิดโครงงานเรื่องการศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจานวนการแตกยอดของต้น
แก้ว ซึ่งฮอร์โมนออกซินเป็นฮอร์โมนที่กระตุ้นการเจริญเติบโต ทาให้มีการแบ่งเซลล์และยืดตัวของเซลล์ แต่หาก
ความเข้มข้นที่สูงเกินไปของออกซินจะยับยั้งการเจริญเติบโตและเป็นพิษต่อพืชโดยการทดลองจะมีการแบ่งต้นแก้ว
ออกเป็นสามกลุ่มได้แก่ชุดควบคุม ชุดlow dose ความเข้มข้น 1% v/v และชุดhigh dose ความเข้มข้น 2.5%
v/v อย่างละสามต้น โดยจะฉีดในปริมาณที่เท่ากันวันเว้นวัน โดยควบคุมปัจจัยอื่นๆเหมือนกัน ใช้เวลาเก็บผลการ
ทดลองเจ็ดสัปดาห์ดูการเกิดยอดใหม่ของต้นแก้ว จากการทดลองได้ผลว่าชุดlow dose ความเข้มข้น 1% ทาให้ต้น
แก้วเกิดยอดใหม่ในสัดส่วนที่มากที่สุด ซึ่งการทดลองดังกล่าวจะมีประโยชน์ต่อเกษตรกรผู้ปลูกแก้วและผู้สนใจการ
ปลูกต้นแก้ว
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่องการศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจานวนการแตกยอดของต้นแก้ว จะสาเร็จลุล่วง
ไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจากนายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ ที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงาน ขอขอบคุณผู้ปกครองที่ให้ความ
ช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ และให้กาลังใจตลอดมา
คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
บทที่ 1 บทนา หน้าที่
 ชื่อโครงงานทดลองฮอร์โมนพืช 1
 สมาชิกโครงงานทดลองฮอร์โมนพืช/อาจารย์ผู้สอน 1
 ที่มาและความสาคัญ 1
 คาถามการทาโครงงาน/สมมติฐานการทดลอง/วัตถุประสงค์ของโครงงาน 2
 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2
 ขอบเขตของโครงงาน 2
 ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง 3
 ช่วงระยะเวลาทาโครงงาน 3
 วิธีการเก็บข้อมูล/วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล 3
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 เนื้อหาเกี่ยวกับพืชที่เลือกมาใช้ (ต้นแก้ว) 4
 เนื้อหาเกี่ยวกับฮอร์โมนที่เลือกมาใช้ (ออกซิน) 7
บทที่ 3 การดาเนินงาน
 วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 11
 ขั้นตอนการทาโครงงาน 11
บทที่ 4 ผลการทดลองและวิเคราะห์ผลการทดลอง 14
บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 15
บรรณานุกรม 16
ภาคผนวก
บทที่ 1 บทนา
ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่องการศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจานวนการแตกยอดของต้นแก้ว
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. นางสาวนภวรรณ ตั้งอานวยสมบัติ เลขที่ 7
2. นางสาวสิริกร จิตรัว เลขที่ 21
3. นายจิรภาส ฤทธิ์ลิขิต เลขที่ 29
4. นายสุวินัย จิระบุญศรี เลขที่ 41
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
อาจารย์ผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ที่มาและความสาคัญ
เนื่องจากต้นแก้วเป็นพืชที่มีประโยชน์ในทุกส่วนไม่ว่าจะเป็นดอกที่มีกลิ่นหอมเฉพาะตัวและ
ความหมายอันเป็นมงคลทาให้คนไทยนิยมนาดอกแก้วมาใช้บูชาพระในพิธีทางศาสนาเพื่อความเป็นสิริมงคล เนื้อไม้
ของต้นแก้วนิยมนามาใช้ในการทาเครื่องเรือน เครื่องตกแต่งภายในบ้าน ภาชนะต่าง ๆ หรือใช้ทาด้ามเครื่องมือ
ด้ามปากกา ไม้บรรทัด ไม้เท้า ไม้ตะพด กรอบรูป เครื่องดนตรี อีกทั้งราก ใบ ก้าน ดอก ผลของต้นแก้วยังมี
สรรพคุณทางยาช่วยรักษาอาการต่างๆ อาทิเช่นใบช่วยแก้ท้องเสีย ราก ก้าน และใบสดสามารถนามาใช้เป็นยาชา
ระงับอาการปวดได้ รากใช้แก้อาการปวดเมื่อยตามร่างกาย บรรเทาอาการปวดบวมนอกจากนี้ฮอร์โมนออกซินยังมี
ผลต่อการเกิดยอดใหม่ของต้นแก้วทาให้ต้นแก้วเกิดยอดใหม่ซึ่งก็จะทาให้การออกดอกของต้นแก้วมีมากตามไปด้วย
คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินซึ่ง
เป็นกลุ่มของฮอร์โมนพืชที่กระตุ้นการเจริญเติบโต ทาให้มีการแบ่งเซลล์และยืดตัวของเซลล์ ที่มีต่อยอดของต้นแก้ว
โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาจานวนการแตกยอดของต้นแก้วโดยใช้ฮอร์โมนออกซินในระดับความเข้มข้นต่างๆ
คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมีประโยชน์ต่อเกษตรกรผู้
ปลูกต้นแก้วและผู้สนใจต้นแก้วในอนาคตต่อไป
คาถามการทาโครงงาน
สารละลายฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้นใดจะส่งผลให้แก้วมีการเกิดยอดใหม่มากที่สุด
สมมติฐานการทดลอง
ถ้าฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้น 1% v/v มีผลต่อยอดต้นแก้วเจริญดีที่สุด ดังนั้น สารละลายฮอร์โมน
ออกซินที่ความเข้มข้น 1% v/v จะทาให้ยอดของต้นแก้วมีจานวนยอดเกิดใหม่มากที่สุด
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อศึกษาฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อการเกิดยอดใหม่ของต้นแก้ว
2. เพื่อเปรียบเทียบความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อการเกิดยอดใหม่ของต้นแก้ว
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องฮอร์โมนออกซินและต้นแก้ว
2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบความเข้มข้นในปริมาณต่างๆที่ทาให้ต้นแก้วเกิดยอดใหม่ดีที่สุด
3. เป็นการส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการปลูกต้นไม้
ขอบเขตของโครงงาน
การทาโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะยอดของต้นแก้ว
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตัวแปรต้นคือความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน
ตัวแปรตามคือจานวนยอดที่แตกใหม่ของต้นแก้ว
ตัวแปรควบคุมคืออายุต้นแก้ว อุณหภมิ ปริมาณดิน ปริมาณน้าที่รด ปริมาณฮอร์โมนที่ฉีด สภาพแวดล้อม
ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน
เริ่มต้นการทดลอง 8 มิถุนายน 2560
สิ้นสุดการทดลอง 27 กรกฎาคม 2560
วิธีการเก็บข้อมูล
1. นำปำกกำเคมีมำจุดที่แต่ละยอด
2. นับจำนวนยอด
3. ลบรอยปำกกำด้วยแอลกอฮอล
4. ทำซ้ำทุกสัปดำห์
วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล
1. นำข้อมูลที่ได้มำหำค่ำเฉลี่ยในแต่ละชุดทดลอง
2. นำข้อมูลจำนวนยอดที่เพิ่มขึ้นมำคิดเป็นเปอร์เซ็นท์เทียบกับจำนวนยอดตอนเริ่มต้น
3. นำข้อมูลในแต่ละชุดกำรทดลองมำเปรียบเทียบกันเพื่อดูผล
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
1.เนื้อหาเกี่ยวกับพืชที่เลือกมาใช้
แก้ว
แก้ว (Orange Jessamine, Satin-wood, Cosmetic Bark Tree) เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง
ใบออกเป็นช่อเป็นแผงออกใบเรียงสลับกันช่อหนึ่งประกอบด้วยใบย่อยประมาณ 4-8 ใบ ดอกสีขาว กลิ่นหอม
การจาแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์
อาณาจักร: Plantae
อันดับ: Sapindales
วงศ์: Rutaceae
สกุล: Murraya
สปีชีส์: M. paniculata
ชื่อทวินาม Murraya paniculata
ชื่อพื้นเมืองอื่น: กะมูนิง (มลายู ปัตตานี) แก้วขาว (กลาง) แก้วขี้ไก่ (ยะลา) แก้วพริก (เหนือ) แก้วลาย (สระบุรี) จ๊า
พริก (ลาปาง) และ ตะไหลแก้ว (เหนือ)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
แก้วเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลางลาต้นมีความสูงประมาณ5-10 เมตรเปลือกลาต้นสีขาวปน
เทาลาต้นแตกเป็นสะเก็ดเป็นร่องตามยาวการแตกกิ่งก้านของทรงพุ่มไม่ค่อยเป็นระเบียบใบออกเป็นช่อเป็นแผง
ออกใบเรียงสลับกันช่อหนึ่งประกอบด้วยใบย่อยประมาณ 4-8 ใบใบเป็นมันสีเขียวเข้มขยี้ดูจะมีกลิ่นฉุนแรงขอบใบ
เรียบเป็นคลื่นเล็กน้อยขนาดของใบกว้างประมาณ 2 - 4 เซนติเมตร ยาวประมาณ3-6 เซนติเมตรออกดอกเป็นช่อ
ใหญ่ช่อสั้นออกตามปลายกิ่งหรือยอดช่อหนึ่งมีดอกประมาณ 5 - 10 ดอก แต่ละดอกมีกลีบดอก 5 กลีบ ดอกสีขาว
กลิ่นหอม ดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 2 - 3 เซนติเมตร ผลรูปไข่ รีปลายทู่ มีสีส้ม ภายในมีเมล็ด 1 - 2 เมล็ด
การปลูกเลี้ยง
สามารถแบ่งเป็น 2 วิธี
1.การปลูกในแปลงปลูกเพื่อประดับบริเวณบ้านและสวน คนไทยโบราณนิยมปลูกไว้เพื่อเป็นแนวรั้วบ้าน
ขนาดหลุมปลูก 30 x 30 เซนติเมตร ใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก : ดินร่วน อัตรา 1 : 2 ผสมดินปลูก การปลูกแบบนี้
สามารถปลูกเป็นกลุ่ม หรือเป็นแถวก็ได้และสามารถตัดแต่งบังคับทรงพุ่มได้ตามความต้องการของผู้ปลูก
2.การปลูกในกระถางเพื่อประดับภายนอกอาคาร ควรใช้กระถางทรงสูงขนาด 12 - 16 นิ้ว ใช้ปุ๋ยคอก
หรือปุ๋ยหมัก : ดินร่วนอัตรา 1 : 1 ผสมดินปลูก และควรเปลี่ยนกระถาง 1 - 2 ปี/ ครั้ง หรือตามความเหมาะสม
ของการเจริญเติบโตของทรงพุ่ม เพราะการขยายตัวของรากแน่นเกินไปและเพื่อเปลี่ยนดินปลูกใหม่ทดแทนดินปลูก
เดิมที่เสื่อมสภาพไป
การดูแลรักษา
ต้องการน้าปริมาณปานกลาง ควรให้น้า 3 - 5 วัน / ครั้ง ชอบดินร่วนซุย หรือดินร่วนทราย ต้องการ
แสงแดดจัด ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก อัตรา 1 - 2 กิโลกรัม/ต้น ใส่ปีละ 4 - 6 ครั้ง หรือใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ สูตร
15-15-15อัตรา 200- 300 กรัม/ต้น ใส่ปีละ 4 - 6 ครั้ง ไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องโรคและแมลง เพราะเป็นไม้ที่มึความ
ทนทานต่อสภาพธรรมชาติพอสมควร ขยายพันธ์โดยการเพาะเมล็ดและการตอน
2.เนื้อหาเกี่ยวกับฮอร์โมนที่เลือกมาใช้
ออกซิน
ออกซิน (อังกฤษ: Auxin) เป็นกลุ่มของฮอร์โมนพืชที่กระตุ้นการเจริญเติบโต ทาให้มีการแบ่งเซลล์และยืด
ตัวของเซลล์ การขนส่งออกซินภายในพืชเป็นการขนส่งอย่างมีทิศทาง
การสังเคราะห์ออกซิน
ออกซินเป็นฮอร์โมนที่แพร่กระจายทั่วไปในพืช มีเข้มข้นสูงที่เนื้อเยื่อเจริญ ตาแหน่งที่มีการสังเคราะห์ออก
ซิน ได้แก่เนื้อเยื่อเจริญบริเวณปลายยอดและปลายราก ใบอ่อน ช่อดอกที่กาลังเจริญ เมล็ดที่กาลังงอก เอ็มบริโอ
และผลที่กาลังเจริญ การสังเคราะห์ออกซินเกิดในเนื้อเยื่อที่มีอายุมากน้อยหรือไม่มีเลย สารตั้งต้นของการ
สังเคราะห์ออกซินในพืช คือกรดอะมิโนทริปโตแฟน (Trytophan) ออกซินที่พืชสร้างขึ้นมีสองแบบคือแบบอิสระ
สามารถเคลื่อนที่ได้ดี กับอีกแบบหนึ่งเป็นแบบที่จับอยู่กับสารอื่นๆ ทาให้เคลื่อนที่ได้น้อยหรือไม่ออกฤทธิ์
การออกฤทธิ์เป็นฮอร์โมนของออกซิน
 การชักนาการยืดขยายเซลล์ลาต้น และเนื้อเยื่อหุ้มยอดแรกเกิด ถ้าออกซินสูงเกินไปจะยับยั้งการ
เติบโตเพราะออกซินที่สูงเกินจะกระตุ้นให้พืชสร้างเอทิลีนออกมา และไปกดการยืดขยายตัวของ
เซลล์
 การเพิ่มความยืดหยุ่นของผนังเซลล์ โดยเฉพาะในต้นอ่อนและเนื้อเยื่อหุ้มยอดแรกเกิด การเพิ่ม
ความยืดหยุ่นของผนังเซลล์จะช่วยให้เซลล์ยืดขยายตัวได้
 กระตุ้นการแบ่งเซลล์และการยืดขยายตัวของเซลล์ เกิดจากการเพิ่มความยืดหยุ่นที่ผนังเซลล์ เพิ่ม
ความดันออสโมติกและลดความกดดันที่ผนังเซลล์ ทาให้เซลล์ขยายขนาดได้ง่าย และอาจจะ
ส่งเสริมการสังเคราะห์โปรตีนที่จาเป็นต่อการเติบโต
 เร่งการเติบโตของพืชทั้งในส่วนที่เป็นต้นและราก โดยปกติแล้ว ส่วนต่างๆของพืชตอบสนองต่อ
ปริมาณออกซินไม่เท่ากัน ลาต้นต้องการออกซินสูงกว่าในราก ถ้าสูงเกินไปจะยับยั้งการเติบโต
 ส่งเสริมการเจริญของไซเลม ซึ่งจากการศึกษาในแคลลัส เมื่อเติมออกซินลงไป ออกซินจะช่วยให้
การเชื่อมต่อของเนื้เยื่อลาเลียงในแคลลัส ทาให้แคลลัสเกิดเป็นตา การเพิ่มน้าตาลและออกซินลง
ในอาหารเลี้ยง ทาให้แคลลัสเจริญเป็นลาต้นและกลายเป็นพืชต้นใหม่
 การเพิ่มกิจกรรมของกรดนิวคลีอิก โดยออกซินเช่น IAA มีส่วนช่วยกระตุ้นให้มีการสังเคราะห์
RNA โดยออกซินอาจจะมีบทบาทช่วยในการเข้าถึงยีน เช่นช่วยให้ฮิสโตนหลุดออกจาก DNA ทา
ให้ RNA polymerase II โดยเฉพาะการสร้างเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการยืดขยายของผนังเซลล์
 การยับยั้งการร่วงของใบ การร่วงของใบเกิดจากการเกิดชั้นก่อการร่วงที่ผนังเซลล์ของเซลล์ใน
แนวดังกล่าวจะเกิดการแยกออกจากกิ่งหรือต้น ในเนื้อเยื่ออ่อนที่มีออกซินสูง การเกิดชั้นก่อการ
ร่วงจะไม่เกิดขึ้น ถ้าตัดแผ่นใบทิ้งเหลือแต่ก้านใบ แล้วนาออกซินมาทาที่ก้านใบ ก้านใบที่ได้รับ
ออกซินจะร่วงช้ากว่า ถ้าให้ออกซินแก่ใบตั้งแต่ระยะแรกๆก่อนโตเต็มที่ จะทาให้ใบร่วงช้ากว่าใบ
พืชที่ไม่ได้รับออกซิน
 การยืดขยายความยาวของราก รากจะไวต่อความเข้มข้นของออกซินมาก IAA ปริมาณต่าจะ
กระตุ้นการขยายตัวของรากได้ดี โดยที่ไม่มีผลต่อลาต้น ส่วนความเข้มข้นที่กระตุ้นการเจริญของ
ลาต้นจะสูงเกินไปสาหรับราก จนกลายเป็นการยับยั้ง
 การเกิดรากแขนง ออกซินมีผลต่อการกระตุ้นให้เกิดรากแขนง การตัดใบหรือตาอ่อนที่สร้างออกซิ
นออกไปทาให้การแตกรากแขนงน้อยลง แสดงว่าการเกิดรากแขนงถูกควบคุมโดยออกซินที่สร้าง
จากลาต้น นอกจากนั้น ออกซินยังส่งเสริมการเกิดรากแขนงในกิ่งปักชา โดยรากแขนงเกิดได้ดี
จากโฟลเอมส่วนใกล้ๆข้อ
 ความเข้มข้นที่สูงเกินไปของออกซินจะยับยั้งการเจริญเติบโตและเป็นพิษต่อพืช โดยทาให้อวัยวะ
ของพืชมีการเติบโตที่ไม่สัมพันธ์กัน เช่นแบ่งเซลล์เพิ่มขึ้นแต่เซลล์ไม่ขยายขนาด อวัยวะบิดเบี้ยว
เสียรูปทรง การเจริญของพืชลดลง และหยุดไปในที่สุด
การเกิดอวัยวะของพืช
เมื่อออกซินนาไปสู่การสร้างอวัยวะ ออกซินจะมีบทบาทสาคัญในการควบคุมพัฒนาการของพืช หากไม่มี
การควบคุมด้วยฮอร์โมน พืชจะเป็นเพียงกลุ่มของเซลล์ที่คล้ายกัน การทางานออกซินเริ่มขึ้นในตัวอ่อนของพืชที่
ทิศทางการกระจายของออกซิน เกี่ยวข้องกับการกาหนดขั้วของเจริญเติบโตและการพัฒนา ซึ่งจะไปเป็นยอดและ
รากแรกเกิด ออกซินช่วยให้พืชรักษาขั้วของการเจริญเติบโตและการแตกกิ่งก้านได้ตลอดชีวิตของการเติบโต
หลักการสาคัญของการเกิดอวัยวะในพืชขึ้นอยู่กับการกระจายของออกซิที่ปลายยอด ซึ่งหมายความว่า
ออกซินผลิตมากที่ตายอด แพร่กระจายลงมาและลดการพัฒนาของตาข้างที่จะแข่งขันกับตายอดเพื่อแย่งแสงและ
สารอาหารที่เรียกการข่มของตายอดต่อตาข้าง (Apical dominance) โดยทั่วไปในพืช เมื่อมีตายอดอยู่ จะข่มการ
เจริญของตาข้างทาให้ตาข้างเติบโตช้า ถ้าตัดปลายยอดออก ตาข้างจะเติบโตได้ทันที การข่มของตายอดอาจมาจาก
ส่วนยอดบดบังแสงไว้ทาให้ตาข้างได้รับแสงไม่เต็มที่
การกระจายของออกซินที่ไม่สม่าเสมอ
ในการทาให้มีการเจริญเติบโตในส่วนที่ต้องการนั้น มันเป็นสิ่งจาเป็นที่ออกซินจะต้องทางานในบริเวณนั้น
มาก แม้ว่าจะไม่มีการสังเคราะห์ออกซินในทุกเซลล์ แต่แต่ละเซลล์ยังคงมีความสามารถในการสังเคราะห์ออกซินได้
และจะถูกกระตุ้นให้สร้างภายใต้เงื่อนไขที่เฉพาะ และยังมีการขนส่งออกซินเข้าสู่บริเวณที่ต้องการใช้ด้วย ในการ
ขนส่งระยะทางไกล จะมีระบบเฉพาะที่มีทิศทางแน่นอนในการขนส่งระหว่างเซลล์ที่มีการควบคุม มันขึ้นอยู่ในการ
กระจายไม่สม่าเสมอของตัวพาออกซินในเยื่อหุ้มเซลล์ซึ่งกาหนดให้ขนส่งออกซินในทิศทางที่ถูกต้อง การศึกษาในปี
พ.ศ. 2549 พบโปรตีน PIN มีความสาคัญในการลาเลียงออกซิน .[1]
การควบคุมการสร้างโปรตีน PIN ในเซลล์จะเป็นตัวกาหนดทิศทางของการขนส่งออกซินในการเพิ่ม
ปริมาณออกซินในบริเวณนั้นให้ถึงจุดสูงสุด จุดสูงสุดของออกซินช่วยในการพัฒนาของยอดและราก[2][3] เซลล์ที่
อยู่รอบๆบริเวณนั้นเป็นเซลล์ที่มีออกซินต่า ใน Arabidopsis การมีออกซินปริมาณต่าในผลจะมีความสาคัญต่อการ
พัฒนาของเนื้อเยื่อ.[4] ในการสร้างดอกและผล การให้ออกซินแก่พืชที่มีดอกเพศผู้และเพศเมียแยกกันตั้งแต่
ระยะแรกของการเจริญจะทาให้เกิดดอกเพศเมียมากขึ้น ละอองเรณูเป็นส่วนที่มีออกซินสูง สารสกัดจากละออง
เรณูจะกระตุ้นการติดผลโดยไม่ต้องมีการถ่ายละอองเกสรที่เรียกว่าการเกิดผลลม (Parthenocarpy) ซึ่งเป็นผลที่ไม่
มีเมล็ด และมีประโยชน์ทางการค้า
บทที่ 3 การดาเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1.ต้นแก้ว 9 ต้น
2.ฟอกกี้ 3 ขวด
3.ฮอร์โมนออกซิน
4. น้า
4.ป้าย
5.ปากกาเคมี
6.แอลกอฮอล
7.ถุงพลาสติก
8.สมุดบันทึก
9.ขวดน้า
ขั้นตอนการทาโครงงาน
1.ประชุมวางแผนคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ ซึ่งคือ ศึกษาจานวนยอดของต้นแก้ว จากการใช้ฮอร์โมนออกซิ
นที่ความเข้มข้นแตกต่างกัน
2.ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวข้องกับโครงงานดังนี้
2.1 ลักษณะต้นแก้ว
2.2 การดูแลต้นแก้ว
2.3 ฮอร์โมนออกซิน
3. วางแผนรายละเอียดการทดลอง คือเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของต้นแก้วที่ได้รับฮอร์โมนความเข้นข้นที่
แตกต่างกัน โดยสังเกตจากจานวนยอด
4.หาสถานที่ในการทาการทดลอง
5.จัดทาเค้าโครงโครงงาน
6.จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ทาการทดลอง
6.1 ต้นแก้ว 9 ต้น
6.2 ฟอกกี้ 3 ขวด
6.3 ฮอร์โมนออกซิน
6.4 น้า
6.5 ป้าย
6.6 ปากกาเคมี
6.7 แอลกอฮอล
6.8 สมุดบันทึก
6.9 ขวดน้า
7.ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง
7.1 เตรียมต้นไม้ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ต้น
7.2 แบ่งชุดทดลองออกเป็น 3 ชุด ได้แก่ชุดควบคุม ชุด low dose ชุด high dose
7.3 เตรียมฮอร์โมน ชุดควบคุม ความเข้นข้น 0%V ชุด low dose ความเข้นข้น 1% V ชุด high dose ความเข้น
ข้น 2.5% V
7.4 รดน้าและฉีดฮอร์โมนให้แต่ละชุดการทดลอง วันละหนึ่งครั้ง
7.5 สังเกตและบันทึกผลจานวนยอดของแต่ละชุดการทดลอง
8.สรุปผล อภิปราย และเสนอต่ออาจารย์
9.จัดทาเอกสารเป็นรูปเล่มโครงงานให้สมบูรณ์
10.นาเสนอโครงงาน
บทที่ 4 ผลการทดลองและวิเคราะห์ผลการทดลอง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
ตำรำงบันทึกจำนวนยอดของต้นแก้ว
วัน เดือน ปี
จำนวนยอดของต้นแก้ว
ชุดควบคุม ชุดLow Dose 1% v/v ชุดHigh Dose 2.5% v/v
1 2 3 เฉลี่ย 1 2 3 เฉลี่ย 1 2 3 เฉลี่ย
15 มิ.ย. 60 20 25 15 20 28 17 18 21 19 21 21 20.33
22 มิ.ย. 60 21 26 15 20.67 32 20 21 24.33 19 21 21 20.33
29 มิ.ย. 60 22 29 16 22.33 33 22 25 26.67 21 22 22 21.67
6 ก.ค. 60 25 32 17 24.67 35 24 26 28.33 22 23 22 22.33
13 ก.ค. 60 27 33 17 25.67 36 27 28 30.33 22 24 23 23
20 ก.ค. 60 27 35 20 27.33 38 29 31 32.67 24 - - 24
27 ก.ค. 60 27 35 22 28.67 42 31 33 35.33 24 - - 24
- หมายถึง เกิดอุบัติเหตุทาให้ยอดหัก
ชุดควบคุม มีจานวนยอดเพิ่มเฉลี่ย 8.67 ยอด
ชุดLow dose มีจานวนยอดเพิ่มเฉลี่ย 14.33 ยอด
ชุดHigh dose มีจานวนยอดเพิ่มเฉลี่ย 3.67 ยอด
วิเคราะห์ผลการทดลอง
จำกกำรทดลองพบว่ำชุดควบคุมมีจำนวนยอดเพิ่มขึ้น 43.35% ชุดLow Dose มีจำนวนยอดเพิ่มขึ้น
68.24% และชุดHigh Dose มีจำนวนยอดเพิ่มขึ้น18.35% สรุปได้ว่ำชุดLow Dose มีจำนวนยอดเพิ่มขึ้นมำกสุด
บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
สรุปผลการทดลอง
จำกกำรทดลองพบว่ำ ชุดLow Dose มีกำรเพิ่มจำนวนยอดมำกที่สุด แสดงว่ำฮอร์โทนออกซินมีผลต่อ
กำรเพิ่มจำนวนยอดของต้นแก้ว
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
ควรควบคุมตัวแปรอย่ำงระมัดระวังเพื่อป้ องกันผลกำรทดลองผิดพลำด
บรรณานุกรม
www.th.wikipedia.org/ ,แก้ว.กรกฎาคม 2560 , จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%A7_(%E0%
B8
%9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89)
www.th.wikipedia.org/ ,ออกซิน.กรกฎาคม 2560 , จาก
https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B
8% B4%E0%B8%99
เต็ม สมิตินันทน์, ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย สานักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์
พืช,2549.
ภาคผนวก
รูปแสดงการรดน้า
รูปแสดงการเก็บผลการทดลอง
รูปแสดงการฉีดฮอร์โมน

More Related Content

What's hot

Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_2
M6 78 60_2M6 78 60_2
M6 78 60_2
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_3
M6 78 60_3M6 78 60_3
M6 78 60_3
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
Wichai Likitponrak
 
M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_2
M6 144 60_2M6 144 60_2
M6 144 60_2
Wichai Likitponrak
 
M6 143 60_3
M6 143 60_3M6 143 60_3
M6 143 60_3
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_6
M6 144 60_6M6 144 60_6
M6 144 60_6
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_7
M6 144 60_7M6 144 60_7
M6 144 60_7
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 
Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
 
Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
 
M6 78 60_2
M6 78 60_2M6 78 60_2
M6 78 60_2
 
M6 78 60_3
M6 78 60_3M6 78 60_3
M6 78 60_3
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
 
M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
 
M6 144 60_2
M6 144 60_2M6 144 60_2
M6 144 60_2
 
M6 143 60_3
M6 143 60_3M6 143 60_3
M6 143 60_3
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
 
M6 144 60_6
M6 144 60_6M6 144 60_6
M6 144 60_6
 
M6 144 60_7
M6 144 60_7M6 144 60_7
M6 144 60_7
 

Similar to M6 125 60_3

M6 126 60_8
M6 126 60_8M6 126 60_8
M6 126 60_8
Wichai Likitponrak
 
M6 126 60_5
M6 126 60_5M6 126 60_5
M6 126 60_5
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
Wichai Likitponrak
 
M6 143 60_6
M6 143 60_6M6 143 60_6
M6 143 60_6
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_7
M6 125 60_7M6 125 60_7
M6 125 60_7
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_4
M6 125 60_4M6 125 60_4
M6 125 60_4
Wichai Likitponrak
 
M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
Wichai Likitponrak
 
M6 126 60_3
M6 126 60_3M6 126 60_3
M6 126 60_3
Wichai Likitponrak
 
M6 143 60_7
M6 143 60_7M6 143 60_7
M6 143 60_7
Wichai Likitponrak
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
sartthapornanop
 
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Sathitalookmai
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
Wichai Likitponrak
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
SasipaChaya
 
M6 126 60_10
M6 126 60_10M6 126 60_10
M6 126 60_10
Wichai Likitponrak
 
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Z-class Puttichon
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
Wichai Likitponrak
 
Minibook bio 834 group 5
Minibook bio 834 group 5Minibook bio 834 group 5
Minibook bio 834 group 5
Thanutham Chaipanthaset
 
M6 125 60_9
M6 125 60_9M6 125 60_9
M6 125 60_9
Wichai Likitponrak
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931
Maimai Pudit
 

Similar to M6 125 60_3 (20)

M6 126 60_8
M6 126 60_8M6 126 60_8
M6 126 60_8
 
M6 126 60_5
M6 126 60_5M6 126 60_5
M6 126 60_5
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
M6 143 60_6
M6 143 60_6M6 143 60_6
M6 143 60_6
 
M6 125 60_7
M6 125 60_7M6 125 60_7
M6 125 60_7
 
M6 125 60_4
M6 125 60_4M6 125 60_4
M6 125 60_4
 
M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
 
M6 126 60_3
M6 126 60_3M6 126 60_3
M6 126 60_3
 
M6 143 60_7
M6 143 60_7M6 143 60_7
M6 143 60_7
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
932 tu80 group 4
932 tu80 group 4932 tu80 group 4
932 tu80 group 4
 
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
Minibook pdf 931 number 5,6,15,32
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 
M6 126 60_10
M6 126 60_10M6 126 60_10
M6 126 60_10
 
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
Hibiscus, frangipani ,and white champaka group2 m.5/834
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
 
Minibook bio 834 group 5
Minibook bio 834 group 5Minibook bio 834 group 5
Minibook bio 834 group 5
 
M6 125 60_9
M6 125 60_9M6 125 60_9
M6 125 60_9
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

M6 125 60_3

  • 1. โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจานวนการแตกยอดของต้นแก้ว นาเสนอครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. นางสาวนภวรรณ ตั้งอานวยสมบัติ เลขที่ 7 2. นางสาวสิริกร จิตรัว เลขที่ 21 3. นายจิรภาส ฤทธิ์ลิขิต เลขที่ 29 4. นายสุวินัย จิระบุญศรี เลขที่ 41 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 2. บทคัดย่อ ต้นแก้วเป็นพืชที่มีประโยชน์ในทุกส่วนไม่ว่าจะเป็นดอกที่มีกลิ่นหอมเฉพาะตัวและความหมายอันเป็น มงคลทาให้คนไทยนิยมนาดอกแก้วมาใช้บูชาพระในพิธีทางศาสนาเพื่อความเป็นสิริมงคล เนื้อไม้ของต้นแก้วนิยม นามาใช้ในการทาเครื่องเรือน เครื่องตกแต่งภายในบ้าน ภาชนะต่าง ๆ หรือใช้ทาด้ามเครื่องมือ เครื่องดนตรี อีกทั้ง ราก ใบ ก้าน ดอก ผลของต้นแก้วยังมีสรรพคุณทางยาช่วยรักษาอาการต่างๆ อาทิเช่นใบช่วยแก้ท้องเสีย กลุ่มของข้าพเจ้าจึงคิดโครงงานเรื่องการศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจานวนการแตกยอดของต้น แก้ว ซึ่งฮอร์โมนออกซินเป็นฮอร์โมนที่กระตุ้นการเจริญเติบโต ทาให้มีการแบ่งเซลล์และยืดตัวของเซลล์ แต่หาก ความเข้มข้นที่สูงเกินไปของออกซินจะยับยั้งการเจริญเติบโตและเป็นพิษต่อพืชโดยการทดลองจะมีการแบ่งต้นแก้ว ออกเป็นสามกลุ่มได้แก่ชุดควบคุม ชุดlow dose ความเข้มข้น 1% v/v และชุดhigh dose ความเข้มข้น 2.5% v/v อย่างละสามต้น โดยจะฉีดในปริมาณที่เท่ากันวันเว้นวัน โดยควบคุมปัจจัยอื่นๆเหมือนกัน ใช้เวลาเก็บผลการ ทดลองเจ็ดสัปดาห์ดูการเกิดยอดใหม่ของต้นแก้ว จากการทดลองได้ผลว่าชุดlow dose ความเข้มข้น 1% ทาให้ต้น แก้วเกิดยอดใหม่ในสัดส่วนที่มากที่สุด ซึ่งการทดลองดังกล่าวจะมีประโยชน์ต่อเกษตรกรผู้ปลูกแก้วและผู้สนใจการ ปลูกต้นแก้ว
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่องการศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจานวนการแตกยอดของต้นแก้ว จะสาเร็จลุล่วง ไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจากนายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงาน ขอขอบคุณผู้ปกครองที่ให้ความ ช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ และให้กาลังใจตลอดมา คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา
  • 4. สารบัญ บทที่ 1 บทนา หน้าที่  ชื่อโครงงานทดลองฮอร์โมนพืช 1  สมาชิกโครงงานทดลองฮอร์โมนพืช/อาจารย์ผู้สอน 1  ที่มาและความสาคัญ 1  คาถามการทาโครงงาน/สมมติฐานการทดลอง/วัตถุประสงค์ของโครงงาน 2  ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2  ขอบเขตของโครงงาน 2  ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง 3  ช่วงระยะเวลาทาโครงงาน 3  วิธีการเก็บข้อมูล/วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง  เนื้อหาเกี่ยวกับพืชที่เลือกมาใช้ (ต้นแก้ว) 4  เนื้อหาเกี่ยวกับฮอร์โมนที่เลือกมาใช้ (ออกซิน) 7 บทที่ 3 การดาเนินงาน  วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 11  ขั้นตอนการทาโครงงาน 11 บทที่ 4 ผลการทดลองและวิเคราะห์ผลการทดลอง 14 บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 15 บรรณานุกรม 16 ภาคผนวก
  • 5. บทที่ 1 บทนา ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่องการศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจานวนการแตกยอดของต้นแก้ว สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. นางสาวนภวรรณ ตั้งอานวยสมบัติ เลขที่ 7 2. นางสาวสิริกร จิตรัว เลขที่ 21 3. นายจิรภาส ฤทธิ์ลิขิต เลขที่ 29 4. นายสุวินัย จิระบุญศรี เลขที่ 41 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อาจารย์ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่มาและความสาคัญ เนื่องจากต้นแก้วเป็นพืชที่มีประโยชน์ในทุกส่วนไม่ว่าจะเป็นดอกที่มีกลิ่นหอมเฉพาะตัวและ ความหมายอันเป็นมงคลทาให้คนไทยนิยมนาดอกแก้วมาใช้บูชาพระในพิธีทางศาสนาเพื่อความเป็นสิริมงคล เนื้อไม้ ของต้นแก้วนิยมนามาใช้ในการทาเครื่องเรือน เครื่องตกแต่งภายในบ้าน ภาชนะต่าง ๆ หรือใช้ทาด้ามเครื่องมือ ด้ามปากกา ไม้บรรทัด ไม้เท้า ไม้ตะพด กรอบรูป เครื่องดนตรี อีกทั้งราก ใบ ก้าน ดอก ผลของต้นแก้วยังมี สรรพคุณทางยาช่วยรักษาอาการต่างๆ อาทิเช่นใบช่วยแก้ท้องเสีย ราก ก้าน และใบสดสามารถนามาใช้เป็นยาชา ระงับอาการปวดได้ รากใช้แก้อาการปวดเมื่อยตามร่างกาย บรรเทาอาการปวดบวมนอกจากนี้ฮอร์โมนออกซินยังมี ผลต่อการเกิดยอดใหม่ของต้นแก้วทาให้ต้นแก้วเกิดยอดใหม่ซึ่งก็จะทาให้การออกดอกของต้นแก้วมีมากตามไปด้วย
  • 6. คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินซึ่ง เป็นกลุ่มของฮอร์โมนพืชที่กระตุ้นการเจริญเติบโต ทาให้มีการแบ่งเซลล์และยืดตัวของเซลล์ ที่มีต่อยอดของต้นแก้ว โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาจานวนการแตกยอดของต้นแก้วโดยใช้ฮอร์โมนออกซินในระดับความเข้มข้นต่างๆ คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมีประโยชน์ต่อเกษตรกรผู้ ปลูกต้นแก้วและผู้สนใจต้นแก้วในอนาคตต่อไป คาถามการทาโครงงาน สารละลายฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้นใดจะส่งผลให้แก้วมีการเกิดยอดใหม่มากที่สุด สมมติฐานการทดลอง ถ้าฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้น 1% v/v มีผลต่อยอดต้นแก้วเจริญดีที่สุด ดังนั้น สารละลายฮอร์โมน ออกซินที่ความเข้มข้น 1% v/v จะทาให้ยอดของต้นแก้วมีจานวนยอดเกิดใหม่มากที่สุด วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อศึกษาฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อการเกิดยอดใหม่ของต้นแก้ว 2. เพื่อเปรียบเทียบความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อการเกิดยอดใหม่ของต้นแก้ว ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องฮอร์โมนออกซินและต้นแก้ว 2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบความเข้มข้นในปริมาณต่างๆที่ทาให้ต้นแก้วเกิดยอดใหม่ดีที่สุด 3. เป็นการส่งเสริมการใช้เวลาว่างให้เกิดประโยชน์โดยการปลูกต้นไม้ ขอบเขตของโครงงาน การทาโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะยอดของต้นแก้ว
  • 7. ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง ตัวแปรต้นคือความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน ตัวแปรตามคือจานวนยอดที่แตกใหม่ของต้นแก้ว ตัวแปรควบคุมคืออายุต้นแก้ว อุณหภมิ ปริมาณดิน ปริมาณน้าที่รด ปริมาณฮอร์โมนที่ฉีด สภาพแวดล้อม ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน เริ่มต้นการทดลอง 8 มิถุนายน 2560 สิ้นสุดการทดลอง 27 กรกฎาคม 2560 วิธีการเก็บข้อมูล 1. นำปำกกำเคมีมำจุดที่แต่ละยอด 2. นับจำนวนยอด 3. ลบรอยปำกกำด้วยแอลกอฮอล 4. ทำซ้ำทุกสัปดำห์ วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล 1. นำข้อมูลที่ได้มำหำค่ำเฉลี่ยในแต่ละชุดทดลอง 2. นำข้อมูลจำนวนยอดที่เพิ่มขึ้นมำคิดเป็นเปอร์เซ็นท์เทียบกับจำนวนยอดตอนเริ่มต้น 3. นำข้อมูลในแต่ละชุดกำรทดลองมำเปรียบเทียบกันเพื่อดูผล
  • 8. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1.เนื้อหาเกี่ยวกับพืชที่เลือกมาใช้ แก้ว แก้ว (Orange Jessamine, Satin-wood, Cosmetic Bark Tree) เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ใบออกเป็นช่อเป็นแผงออกใบเรียงสลับกันช่อหนึ่งประกอบด้วยใบย่อยประมาณ 4-8 ใบ ดอกสีขาว กลิ่นหอม การจาแนกชั้นทางวิทยาศาสตร์ อาณาจักร: Plantae อันดับ: Sapindales วงศ์: Rutaceae สกุล: Murraya สปีชีส์: M. paniculata ชื่อทวินาม Murraya paniculata
  • 9. ชื่อพื้นเมืองอื่น: กะมูนิง (มลายู ปัตตานี) แก้วขาว (กลาง) แก้วขี้ไก่ (ยะลา) แก้วพริก (เหนือ) แก้วลาย (สระบุรี) จ๊า พริก (ลาปาง) และ ตะไหลแก้ว (เหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ แก้วเป็นพรรณไม้ยืนต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลางลาต้นมีความสูงประมาณ5-10 เมตรเปลือกลาต้นสีขาวปน เทาลาต้นแตกเป็นสะเก็ดเป็นร่องตามยาวการแตกกิ่งก้านของทรงพุ่มไม่ค่อยเป็นระเบียบใบออกเป็นช่อเป็นแผง ออกใบเรียงสลับกันช่อหนึ่งประกอบด้วยใบย่อยประมาณ 4-8 ใบใบเป็นมันสีเขียวเข้มขยี้ดูจะมีกลิ่นฉุนแรงขอบใบ เรียบเป็นคลื่นเล็กน้อยขนาดของใบกว้างประมาณ 2 - 4 เซนติเมตร ยาวประมาณ3-6 เซนติเมตรออกดอกเป็นช่อ ใหญ่ช่อสั้นออกตามปลายกิ่งหรือยอดช่อหนึ่งมีดอกประมาณ 5 - 10 ดอก แต่ละดอกมีกลีบดอก 5 กลีบ ดอกสีขาว กลิ่นหอม ดอกบานเต็มที่กว้างประมาณ 2 - 3 เซนติเมตร ผลรูปไข่ รีปลายทู่ มีสีส้ม ภายในมีเมล็ด 1 - 2 เมล็ด
  • 10. การปลูกเลี้ยง สามารถแบ่งเป็น 2 วิธี 1.การปลูกในแปลงปลูกเพื่อประดับบริเวณบ้านและสวน คนไทยโบราณนิยมปลูกไว้เพื่อเป็นแนวรั้วบ้าน ขนาดหลุมปลูก 30 x 30 เซนติเมตร ใช้ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก : ดินร่วน อัตรา 1 : 2 ผสมดินปลูก การปลูกแบบนี้ สามารถปลูกเป็นกลุ่ม หรือเป็นแถวก็ได้และสามารถตัดแต่งบังคับทรงพุ่มได้ตามความต้องการของผู้ปลูก 2.การปลูกในกระถางเพื่อประดับภายนอกอาคาร ควรใช้กระถางทรงสูงขนาด 12 - 16 นิ้ว ใช้ปุ๋ยคอก หรือปุ๋ยหมัก : ดินร่วนอัตรา 1 : 1 ผสมดินปลูก และควรเปลี่ยนกระถาง 1 - 2 ปี/ ครั้ง หรือตามความเหมาะสม ของการเจริญเติบโตของทรงพุ่ม เพราะการขยายตัวของรากแน่นเกินไปและเพื่อเปลี่ยนดินปลูกใหม่ทดแทนดินปลูก เดิมที่เสื่อมสภาพไป
  • 11. การดูแลรักษา ต้องการน้าปริมาณปานกลาง ควรให้น้า 3 - 5 วัน / ครั้ง ชอบดินร่วนซุย หรือดินร่วนทราย ต้องการ แสงแดดจัด ใส่ปุ๋ยคอกหรือปุ๋ยหมัก อัตรา 1 - 2 กิโลกรัม/ต้น ใส่ปีละ 4 - 6 ครั้ง หรือใช้ปุ๋ยวิทยาศาสตร์ สูตร 15-15-15อัตรา 200- 300 กรัม/ต้น ใส่ปีละ 4 - 6 ครั้ง ไม่ค่อยมีปัญหาเรื่องโรคและแมลง เพราะเป็นไม้ที่มึความ ทนทานต่อสภาพธรรมชาติพอสมควร ขยายพันธ์โดยการเพาะเมล็ดและการตอน 2.เนื้อหาเกี่ยวกับฮอร์โมนที่เลือกมาใช้ ออกซิน ออกซิน (อังกฤษ: Auxin) เป็นกลุ่มของฮอร์โมนพืชที่กระตุ้นการเจริญเติบโต ทาให้มีการแบ่งเซลล์และยืด ตัวของเซลล์ การขนส่งออกซินภายในพืชเป็นการขนส่งอย่างมีทิศทาง การสังเคราะห์ออกซิน ออกซินเป็นฮอร์โมนที่แพร่กระจายทั่วไปในพืช มีเข้มข้นสูงที่เนื้อเยื่อเจริญ ตาแหน่งที่มีการสังเคราะห์ออก ซิน ได้แก่เนื้อเยื่อเจริญบริเวณปลายยอดและปลายราก ใบอ่อน ช่อดอกที่กาลังเจริญ เมล็ดที่กาลังงอก เอ็มบริโอ และผลที่กาลังเจริญ การสังเคราะห์ออกซินเกิดในเนื้อเยื่อที่มีอายุมากน้อยหรือไม่มีเลย สารตั้งต้นของการ สังเคราะห์ออกซินในพืช คือกรดอะมิโนทริปโตแฟน (Trytophan) ออกซินที่พืชสร้างขึ้นมีสองแบบคือแบบอิสระ สามารถเคลื่อนที่ได้ดี กับอีกแบบหนึ่งเป็นแบบที่จับอยู่กับสารอื่นๆ ทาให้เคลื่อนที่ได้น้อยหรือไม่ออกฤทธิ์
  • 12. การออกฤทธิ์เป็นฮอร์โมนของออกซิน  การชักนาการยืดขยายเซลล์ลาต้น และเนื้อเยื่อหุ้มยอดแรกเกิด ถ้าออกซินสูงเกินไปจะยับยั้งการ เติบโตเพราะออกซินที่สูงเกินจะกระตุ้นให้พืชสร้างเอทิลีนออกมา และไปกดการยืดขยายตัวของ เซลล์  การเพิ่มความยืดหยุ่นของผนังเซลล์ โดยเฉพาะในต้นอ่อนและเนื้อเยื่อหุ้มยอดแรกเกิด การเพิ่ม ความยืดหยุ่นของผนังเซลล์จะช่วยให้เซลล์ยืดขยายตัวได้  กระตุ้นการแบ่งเซลล์และการยืดขยายตัวของเซลล์ เกิดจากการเพิ่มความยืดหยุ่นที่ผนังเซลล์ เพิ่ม ความดันออสโมติกและลดความกดดันที่ผนังเซลล์ ทาให้เซลล์ขยายขนาดได้ง่าย และอาจจะ ส่งเสริมการสังเคราะห์โปรตีนที่จาเป็นต่อการเติบโต  เร่งการเติบโตของพืชทั้งในส่วนที่เป็นต้นและราก โดยปกติแล้ว ส่วนต่างๆของพืชตอบสนองต่อ ปริมาณออกซินไม่เท่ากัน ลาต้นต้องการออกซินสูงกว่าในราก ถ้าสูงเกินไปจะยับยั้งการเติบโต
  • 13.  ส่งเสริมการเจริญของไซเลม ซึ่งจากการศึกษาในแคลลัส เมื่อเติมออกซินลงไป ออกซินจะช่วยให้ การเชื่อมต่อของเนื้เยื่อลาเลียงในแคลลัส ทาให้แคลลัสเกิดเป็นตา การเพิ่มน้าตาลและออกซินลง ในอาหารเลี้ยง ทาให้แคลลัสเจริญเป็นลาต้นและกลายเป็นพืชต้นใหม่  การเพิ่มกิจกรรมของกรดนิวคลีอิก โดยออกซินเช่น IAA มีส่วนช่วยกระตุ้นให้มีการสังเคราะห์ RNA โดยออกซินอาจจะมีบทบาทช่วยในการเข้าถึงยีน เช่นช่วยให้ฮิสโตนหลุดออกจาก DNA ทา ให้ RNA polymerase II โดยเฉพาะการสร้างเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องกับการยืดขยายของผนังเซลล์  การยับยั้งการร่วงของใบ การร่วงของใบเกิดจากการเกิดชั้นก่อการร่วงที่ผนังเซลล์ของเซลล์ใน แนวดังกล่าวจะเกิดการแยกออกจากกิ่งหรือต้น ในเนื้อเยื่ออ่อนที่มีออกซินสูง การเกิดชั้นก่อการ ร่วงจะไม่เกิดขึ้น ถ้าตัดแผ่นใบทิ้งเหลือแต่ก้านใบ แล้วนาออกซินมาทาที่ก้านใบ ก้านใบที่ได้รับ ออกซินจะร่วงช้ากว่า ถ้าให้ออกซินแก่ใบตั้งแต่ระยะแรกๆก่อนโตเต็มที่ จะทาให้ใบร่วงช้ากว่าใบ พืชที่ไม่ได้รับออกซิน  การยืดขยายความยาวของราก รากจะไวต่อความเข้มข้นของออกซินมาก IAA ปริมาณต่าจะ กระตุ้นการขยายตัวของรากได้ดี โดยที่ไม่มีผลต่อลาต้น ส่วนความเข้มข้นที่กระตุ้นการเจริญของ ลาต้นจะสูงเกินไปสาหรับราก จนกลายเป็นการยับยั้ง  การเกิดรากแขนง ออกซินมีผลต่อการกระตุ้นให้เกิดรากแขนง การตัดใบหรือตาอ่อนที่สร้างออกซิ นออกไปทาให้การแตกรากแขนงน้อยลง แสดงว่าการเกิดรากแขนงถูกควบคุมโดยออกซินที่สร้าง จากลาต้น นอกจากนั้น ออกซินยังส่งเสริมการเกิดรากแขนงในกิ่งปักชา โดยรากแขนงเกิดได้ดี จากโฟลเอมส่วนใกล้ๆข้อ  ความเข้มข้นที่สูงเกินไปของออกซินจะยับยั้งการเจริญเติบโตและเป็นพิษต่อพืช โดยทาให้อวัยวะ ของพืชมีการเติบโตที่ไม่สัมพันธ์กัน เช่นแบ่งเซลล์เพิ่มขึ้นแต่เซลล์ไม่ขยายขนาด อวัยวะบิดเบี้ยว เสียรูปทรง การเจริญของพืชลดลง และหยุดไปในที่สุด
  • 14. การเกิดอวัยวะของพืช เมื่อออกซินนาไปสู่การสร้างอวัยวะ ออกซินจะมีบทบาทสาคัญในการควบคุมพัฒนาการของพืช หากไม่มี การควบคุมด้วยฮอร์โมน พืชจะเป็นเพียงกลุ่มของเซลล์ที่คล้ายกัน การทางานออกซินเริ่มขึ้นในตัวอ่อนของพืชที่ ทิศทางการกระจายของออกซิน เกี่ยวข้องกับการกาหนดขั้วของเจริญเติบโตและการพัฒนา ซึ่งจะไปเป็นยอดและ รากแรกเกิด ออกซินช่วยให้พืชรักษาขั้วของการเจริญเติบโตและการแตกกิ่งก้านได้ตลอดชีวิตของการเติบโต หลักการสาคัญของการเกิดอวัยวะในพืชขึ้นอยู่กับการกระจายของออกซิที่ปลายยอด ซึ่งหมายความว่า ออกซินผลิตมากที่ตายอด แพร่กระจายลงมาและลดการพัฒนาของตาข้างที่จะแข่งขันกับตายอดเพื่อแย่งแสงและ สารอาหารที่เรียกการข่มของตายอดต่อตาข้าง (Apical dominance) โดยทั่วไปในพืช เมื่อมีตายอดอยู่ จะข่มการ เจริญของตาข้างทาให้ตาข้างเติบโตช้า ถ้าตัดปลายยอดออก ตาข้างจะเติบโตได้ทันที การข่มของตายอดอาจมาจาก ส่วนยอดบดบังแสงไว้ทาให้ตาข้างได้รับแสงไม่เต็มที่ การกระจายของออกซินที่ไม่สม่าเสมอ ในการทาให้มีการเจริญเติบโตในส่วนที่ต้องการนั้น มันเป็นสิ่งจาเป็นที่ออกซินจะต้องทางานในบริเวณนั้น มาก แม้ว่าจะไม่มีการสังเคราะห์ออกซินในทุกเซลล์ แต่แต่ละเซลล์ยังคงมีความสามารถในการสังเคราะห์ออกซินได้ และจะถูกกระตุ้นให้สร้างภายใต้เงื่อนไขที่เฉพาะ และยังมีการขนส่งออกซินเข้าสู่บริเวณที่ต้องการใช้ด้วย ในการ ขนส่งระยะทางไกล จะมีระบบเฉพาะที่มีทิศทางแน่นอนในการขนส่งระหว่างเซลล์ที่มีการควบคุม มันขึ้นอยู่ในการ กระจายไม่สม่าเสมอของตัวพาออกซินในเยื่อหุ้มเซลล์ซึ่งกาหนดให้ขนส่งออกซินในทิศทางที่ถูกต้อง การศึกษาในปี พ.ศ. 2549 พบโปรตีน PIN มีความสาคัญในการลาเลียงออกซิน .[1] การควบคุมการสร้างโปรตีน PIN ในเซลล์จะเป็นตัวกาหนดทิศทางของการขนส่งออกซินในการเพิ่ม ปริมาณออกซินในบริเวณนั้นให้ถึงจุดสูงสุด จุดสูงสุดของออกซินช่วยในการพัฒนาของยอดและราก[2][3] เซลล์ที่ อยู่รอบๆบริเวณนั้นเป็นเซลล์ที่มีออกซินต่า ใน Arabidopsis การมีออกซินปริมาณต่าในผลจะมีความสาคัญต่อการ พัฒนาของเนื้อเยื่อ.[4] ในการสร้างดอกและผล การให้ออกซินแก่พืชที่มีดอกเพศผู้และเพศเมียแยกกันตั้งแต่ ระยะแรกของการเจริญจะทาให้เกิดดอกเพศเมียมากขึ้น ละอองเรณูเป็นส่วนที่มีออกซินสูง สารสกัดจากละออง เรณูจะกระตุ้นการติดผลโดยไม่ต้องมีการถ่ายละอองเกสรที่เรียกว่าการเกิดผลลม (Parthenocarpy) ซึ่งเป็นผลที่ไม่ มีเมล็ด และมีประโยชน์ทางการค้า
  • 15. บทที่ 3 การดาเนินงาน วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 1.ต้นแก้ว 9 ต้น 2.ฟอกกี้ 3 ขวด 3.ฮอร์โมนออกซิน 4. น้า 4.ป้าย 5.ปากกาเคมี 6.แอลกอฮอล 7.ถุงพลาสติก 8.สมุดบันทึก 9.ขวดน้า ขั้นตอนการทาโครงงาน 1.ประชุมวางแผนคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ ซึ่งคือ ศึกษาจานวนยอดของต้นแก้ว จากการใช้ฮอร์โมนออกซิ นที่ความเข้มข้นแตกต่างกัน 2.ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวข้องกับโครงงานดังนี้ 2.1 ลักษณะต้นแก้ว 2.2 การดูแลต้นแก้ว 2.3 ฮอร์โมนออกซิน
  • 16. 3. วางแผนรายละเอียดการทดลอง คือเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของต้นแก้วที่ได้รับฮอร์โมนความเข้นข้นที่ แตกต่างกัน โดยสังเกตจากจานวนยอด 4.หาสถานที่ในการทาการทดลอง 5.จัดทาเค้าโครงโครงงาน 6.จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ทาการทดลอง 6.1 ต้นแก้ว 9 ต้น 6.2 ฟอกกี้ 3 ขวด 6.3 ฮอร์โมนออกซิน 6.4 น้า 6.5 ป้าย 6.6 ปากกาเคมี 6.7 แอลกอฮอล 6.8 สมุดบันทึก 6.9 ขวดน้า 7.ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง 7.1 เตรียมต้นไม้ แบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ต้น 7.2 แบ่งชุดทดลองออกเป็น 3 ชุด ได้แก่ชุดควบคุม ชุด low dose ชุด high dose 7.3 เตรียมฮอร์โมน ชุดควบคุม ความเข้นข้น 0%V ชุด low dose ความเข้นข้น 1% V ชุด high dose ความเข้น ข้น 2.5% V
  • 17. 7.4 รดน้าและฉีดฮอร์โมนให้แต่ละชุดการทดลอง วันละหนึ่งครั้ง 7.5 สังเกตและบันทึกผลจานวนยอดของแต่ละชุดการทดลอง 8.สรุปผล อภิปราย และเสนอต่ออาจารย์ 9.จัดทาเอกสารเป็นรูปเล่มโครงงานให้สมบูรณ์ 10.นาเสนอโครงงาน
  • 18. บทที่ 4 ผลการทดลองและวิเคราะห์ผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง ตำรำงบันทึกจำนวนยอดของต้นแก้ว วัน เดือน ปี จำนวนยอดของต้นแก้ว ชุดควบคุม ชุดLow Dose 1% v/v ชุดHigh Dose 2.5% v/v 1 2 3 เฉลี่ย 1 2 3 เฉลี่ย 1 2 3 เฉลี่ย 15 มิ.ย. 60 20 25 15 20 28 17 18 21 19 21 21 20.33 22 มิ.ย. 60 21 26 15 20.67 32 20 21 24.33 19 21 21 20.33 29 มิ.ย. 60 22 29 16 22.33 33 22 25 26.67 21 22 22 21.67 6 ก.ค. 60 25 32 17 24.67 35 24 26 28.33 22 23 22 22.33 13 ก.ค. 60 27 33 17 25.67 36 27 28 30.33 22 24 23 23 20 ก.ค. 60 27 35 20 27.33 38 29 31 32.67 24 - - 24 27 ก.ค. 60 27 35 22 28.67 42 31 33 35.33 24 - - 24 - หมายถึง เกิดอุบัติเหตุทาให้ยอดหัก ชุดควบคุม มีจานวนยอดเพิ่มเฉลี่ย 8.67 ยอด ชุดLow dose มีจานวนยอดเพิ่มเฉลี่ย 14.33 ยอด ชุดHigh dose มีจานวนยอดเพิ่มเฉลี่ย 3.67 ยอด วิเคราะห์ผลการทดลอง จำกกำรทดลองพบว่ำชุดควบคุมมีจำนวนยอดเพิ่มขึ้น 43.35% ชุดLow Dose มีจำนวนยอดเพิ่มขึ้น 68.24% และชุดHigh Dose มีจำนวนยอดเพิ่มขึ้น18.35% สรุปได้ว่ำชุดLow Dose มีจำนวนยอดเพิ่มขึ้นมำกสุด
  • 19. บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม สรุปผลการทดลอง จำกกำรทดลองพบว่ำ ชุดLow Dose มีกำรเพิ่มจำนวนยอดมำกที่สุด แสดงว่ำฮอร์โทนออกซินมีผลต่อ กำรเพิ่มจำนวนยอดของต้นแก้ว ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ควรควบคุมตัวแปรอย่ำงระมัดระวังเพื่อป้ องกันผลกำรทดลองผิดพลำด
  • 20. บรรณานุกรม www.th.wikipedia.org/ ,แก้ว.กรกฎาคม 2560 , จาก https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B9%81%E0%B8%81%E0%B9%89%E0%B8%A7_(%E0% B8 %9E%E0%B8%A3%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B9%89) www.th.wikipedia.org/ ,ออกซิน.กรกฎาคม 2560 , จาก https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B 8% B4%E0%B8%99 เต็ม สมิตินันทน์, ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย สานักงานหอพรรณไม้ กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์ พืช,2549.