SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมน ออกซิน ที่มีต่อส่วนสูงของลาต้น ของ ต้นหนวดปลาหมึก
นาเสนอ
ครูผู้สอน
อาจารย์ วิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตาแหน่งครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. น.ส. พริม ฟองสมุทธ ม.6 ห้อง 77 เลขที่ 12
2. น.ส. รสิตา พรธิสาร ม.6 ห้อง 77 เลขที่ 16
3. นาย ณัฐภัทร เสริมชัยวงศ์ ม.6 ห้อง 77 เลขที่ 28
4. นาย ธนวัฒน์ ตั้งวงศ์กิจศิริ ม.6 ห้อง 77 เลขที่ 29
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 77
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
1
บทคัดย่อ
การปลูกต้นไม้ในยุคปัจจุบันนั่นถือเป็นเรื่องยากสาหรับใครหลายๆคน และต้นไม้บางชนิดก็ไม่เป็น
ที่แพร่หลายนัก อย่างเช่นต้นหนวดปลาหมึก ซึ่งเป็นต้นไม้ที่มีประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อมในยุคปัจจุบัน
มากมาย เช่นสามารถดูดควันพิษจากอากาศได้ซึ่งเหมาะสมในการเพาะพันธุ์ต้นไม้ชนิดนี้ให้เป็นที่แพร่หลาย
การสังเกตการเจริญเติบโตทางด้านความสูงของต้นหนวดปลาหมึกจากการแบ่งกลุ่มต้นไม้ออกเป็น
3กลุ่ม ประกอบด้วย
1.กลุ่มที่ไม่ผสมฮอร์โมนออกซิน
2.กลุ่มที่ผสมฮอร์โมนออกซิน 0.1%
3.กลุ่มที่ผสมฮอร์โมนออกซิน 0.2%
โดยทาการทดลองเป็นเวลา 6 อาทิตย์
พบว่าต้นหนวดปลาหมึกกลุ่มที่ผสมออกซินเข้มข้นจะมีความสูงที่มากกว่าผสมออกซินเจือจางและ
มากกว่า แบบไม่ผสมออกซินเลย
ทาให้ทราบได้ว่าออกซินมีผลต่อความสูงได้มากทีเดียว
2
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมน ออกซิน ที่มีต่อส่วนสูงของลาต้น ของ ต้นหนวดปลาหมึก
จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจาก อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ อาจารย์ประจาวิชา ชีววิทยา
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงาน
ขอขอบคุณผู้ปกครอง ที่ให้ความช่วยเหลือ เช่นการช่วยหาจัดซื้อของต่างๆ และให้กาลังใจตลอดมา
คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
3
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ 1
กิตติกรรมประกาศ 2
สารบัญ 3
บทที่ 1 บทนา 5
1.ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
2.สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
3.อาจารย์ผู้สอน
4.ที่มาและความสาคัญ
5.คาถามการทาโครงงาน
6.สมมติฐานการทดลอง
7.วัตถุประสงค์ของโครงงาน
8.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
9.ขอบเขตของโครงงาน
10.ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน
11.วิธีการเก็บข้อมูล
12.วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 7
1.ต้นปลาหมึกหรือต้นหนวดปลาหมึก
2.ฮอร์โมนออกซิน
บทที่ 3 การดาเนินงาน 10
1.วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
2.ขั้นตอนการทาโครงงาน
บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง 12
1.ตารางบันทึกผลการทดลอง
2.กราฟแท่งแสดงผลการทดลอง
3.วิเคราะห์ผลการทดลอง
4
บทที่ 5สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 14
1.สรุปผลการทดลอง
2.ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
บรรณานุกรม 15
ภาคผนวก 16
5
บทที่ 1 บทนา
1.ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อส่วนสูงของลาต้นของต้นปลาหมึก
2.สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. น.ส. พริม ฟองสมุทธ ม.6 ห้อง 77 เลขที่ 12
2. น.ส. รสิตา พรธิสาร ม.6 ห้อง 77 เลขที่ 16
3. นาย ณัฐภัทร เสริมชัยวงศ์ ม.6 ห้อง 77 เลขที่28
4. นาย ธนวัฒน์ ตั้งวงศ์กิจศิริ ม.6 ห้อง 77 เลขที่29
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 77
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
3.อาจารย์ผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
4.ที่มาและความสาคัญ
เนื่องจาก ต้นปลาหมึกหรือต้นหนวดปลาหมึกสามารถดูดควันพิษในบรรยากาศได้เป็นอย่างดีและ
ในปัจจุบันอากาศก็เต็มไปด้วยสารพิษและควันพิษ ดังนั้นการปลูกต้นไม้ชนิดนี้จึงเป็นทางออกที่ดีในการลด
มลพิษทางอากาศ นอกจากนี้ การที่จะทาให้ต้นพืชเจริญขึ้นอย่างดีนั้นจาเป็นต้องอาศับฮอร์โมนกระตุ้นซึ่ง
นั่นก็คือฮอร์โมนออกซิน
คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนออก
ซินที่มีต่อส่วนสูงของลาต้นของต้นปลาหมึก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและต่อยอดในการเพาะพันธุ์
ต้นปลาหมึกต่อๆไป คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้
จะมีประโยชน์ต่อผู้ที่ศึกษาและผู้ที่สนใจในอนาคตต่อไป
5.คาถามการทาโครงงาน
สารละลายฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้นใดจะส่งผลให้ต้นปลาหมึกมีการเจริญของส่วนสูงลาต้น
มากที่สุด
6.สมมติฐานการทดลอง
ถ้าฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้นมากสุดมีผลต่อลาต้นเจริญดีที่สุด ดังนั้น สารละลายฮอร์โมน ออกซิน ที่
ความเข้มข้นมากสุดจะทาให้ลาต้นมี ส่วนสูงมากที่สุด
7.วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินต่อการเจริญเติบโตของต้นปลาหมึก
2. เพื่อเปรียบเทียบความสูงของลาต้นที่ใส่ด้วยฮฮร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้นแตกต่างกัน
6
8.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1.ได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องผลของฮอร์โมนออกซินต่อการเจริญเติบโตของต้นปลาหมึก
2.ได้ศึกษาเปรียบเทียบความสูงของลาต้นที่ใส่ด้วยฮฮร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้นแตกต่างกัน
3.เป็นการส่งเสริมการปลูกต้นปลาหมึกให้เจริญก้าวหน้าขึ้น
9.ขอบเขตของโครงงาน
การทาโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะส่วนสูงของต้นปลาหมึกที่ใส่ด้วย
ฮอร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้นแตกต่างกัน
ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน
ตัวแปรตาม คือ ส่วนสูงของลาต้นต้นปลาหมึก
ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณดิน อุณหภูมิ ที่มาของเมล็ด ปริมาณน้า
10.ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน
วันจันทร์ที่22 พฤษภาคม พศ.2560 ถึง 31 สิงหาคม พศ.2560
11.วิธีการเก็บข้อมูล
การใช้ไม้บรรทัดที่มีมาตรฐานวัดความสูงของต้นไม้โดยวัดจากขอบดินจนถึงยอดลาต้นพร้อมจด
บันทึกผลการวัดความสูงลงในตารางแบบบันทึกที่ได้ออกแบบไว้
12.วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล
เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงจากตารางที่ได้จดบันทึกเอาไว้
7
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
1.ต้นปลาหมึกหรือต้นหนวดปลาหมึก
หนวดปลาหมึก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Schefflera actinophylla จัดอยู่ในวงศ์ ARALIACEAE เป็นไม้
ประดับที่มีถิ่นกาเนิดในแถบประเทศควีนแลนด์ ปาปัวนิวกินี และประเทศอินโดนีเซีย
เป็นไม้พุ่มประดับที่ไม่สูงมากนัก คือสูงเต็มที่ไม่เกิน 2-3เมตร และมีการเจริญเติบโตเร็วมาก ใบมีสี
เขียวเป็นมัน เป็นไม้ประดับที่มีหลายชนิด มีทั้งชนิดใบเล็ก และชนิดใบใหญ่ แต่จะมีลักษณะที่เป็น
เอกลักษณ์เหมือนกันคือ ใบจะแตกออกมาจากกิ่งเดียว โดยแต่ละกิ่งจะมีใบประมาณ 7-15 ใบ และจะกาง
ออกคล้ายกับนิ้วมือคน
หนวดปลาหมึก นิยมขยายพันธุ์โดยการตัดชา ดินสาหรับปลูกจะใช้ดินร่วน 2 ส่วน ปุ๋ ยหมักหรือปุ๋ ย
คอกเก่า 1 ส่วน ใบไม้ผุ 1 ส่วน ทรายหยาบ 1 ส่วน เป็นไม้ประดับที่ต้องการแสงสว่างในการเจริญเติบโต แต่
ไม่ชอบแสงแดดโดยตรง ควรให้น้าครั้งละน้อยแต่ให้บ่อยๆ โดยให้สังเกตดินในกระถาง หากเห็นว่าแห้งจึง
ให้น้า และควรเปลี่ยนกระถางใหม่ทุกปี
8
หนวดปลาหมึกเป็นไม้ประดับที่เลี้ยงดูง่าย และมีประสิทธิภาพในการดูดซับสารพิษจากอากาศได้
อย่างดีเยี่ยม นิยมปลูกเป็นแนวสวนของบ้าน เพราะฟอร์มใบเป็นแฉกสวยงาม ชอบแดดกึ่งร่ม ชอบน้าและ
ความชื้น แต่หากนาไม้ประดับชนิดนี้มาปลูกภายในอาคาร ก็สามารถเจริญเติบโตได้ดีและมีการเจริญเติบโต
ที่สม่าเสมอ แต่ควรรดน้าวันเว้นวัน แต่เมื่อปลูกไปนานๆ หนวดปลาหมึกจะมีลาต้นที่สูง จึงควรตัดยอดออก
เพื่อให้แตกกิ่งก้านเป็นทรงพุ่มสวยงามประดับบ้านเรือนต่อไป
2.ฮอร์โมนออกซิน
ออกซินเป็นฮอร์โมนพืชที่สร้างจากกลุ่มเซลล์เนื้อเยื่อเจริญบริเวณยอดอ่อน แล้วแพร่จากยอด
อ่อนไปยังเซลล์อื่น ๆ ที่อยู่ด้านล่าง แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม
เเบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ Natural and Synthetic Auxin
หน้าที่คือ
1. กระตุ้นเซลล์ของเนื้อเยื่อที่มีการยืดตัวให้ขยายขนาดทาให้เจริญเติบโตสูงขึ้น
2. ออกซินมีผลต่อการยับยั้งการเจริญเติบโตของตาข้าง
การศึกษาเกี่ยวกับออกซิน
1) การศึกษาการตัดตาออ่นของพืช
9
2) การศึกษาความเข้มข้นของออกซิน
รูปการตอบสนองของราก ตา และลาต้น ต่อความเข้มข้นของออกซินระดับต่าง ๆ
สรุปว่า ถ้าออกซินเข้มข้นมาก จะยับยั้งการเจริญของตาแต่เมื่อตัดยอดออกไป จึงขาดแหล่ง
สร้างออกซินที่จะยับยั้งการเจริญของตาข้าง ทาให้ตาข้างเจริญได้ดี
รูปภาพแสดงการเร่งรากของกิ่งเมื่อใช้ออกซิน
สรุปผลการทดลองได้ว่า ก้านใบพืชที่จุ่มในออกซินมีการแตกรากหรือการงอกรากมากมาย
กว่าก้านใบพืชที่จุ่มในน้า โดยไม่มีออกซิน แทบไม่มีการงอกออกมาเลย
10
บทที่ 3 การดาเนินงาน
1.วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. ต้นหนวดปลาหมึก 9 ต้น
2. ฮอร์โมนออกซิน
3. ขวดฟ็อกกี้ 3 ขวด
4. หลอดตวงสาหรับวัดปริมาณฮอร์โมน
2.ขั้นตอนการทาโครงงาน
1. ประชุมวางแผนคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ ซึ่งคือการศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อส่วนสูง
ของลาต้นของต้นหนวดปลาหมึก
2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานดังนี้
2.1. ลักษณะของต้นหนวดปลาหมึก
2.2. ฮอร์โมนออกซิน
2.3. ผลของออกซินต่อการเจริญเติบโต
3. วางแผนรายละเอียดการทดลองและหาซื้ออุปกรณ์
4. ติดต่อสถานที่ที่ใช้ในการทาทดลอง
5. จัดทาเค้าโครงโครงงาน เพื่อนาเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อนาไปปรับปรุงและแก้ไข
6. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทาการทดลอง
7. ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง
7.1 เตรียมฮอร์โมน
11
7.2 ฉีดฮอร์โมนชุดต่างๆชุดละ3ต้น และบันทึกผลทุกอาทิตย์
8. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เป็นระยะ
9. จัดทาเอกสารเป็นรูปเล่มโครงงานให้สมบูรณ์
10. จัดทาสื่ออภิปรายแสดงผลการทดลอง
11. นาเสนอโครงงาน
12
บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง
1.ตารางบันทึกผลการทดลอง
ส่วนสูง con1 con2 con3 Low4 Low5 Low6 High7 High8 High9
อาทิตย์ที่
1 42 cm 43 cm 49 cm 43 cm 45 cm 47 cm 42 cm 44 cm 46 cm
2 44 cm 45 cm 50 cm 45 cm 48 cm 49 cm 48 cm 48 cm 49 cm
3 46 cm 45 cm 50 cm 47 cm 49 cm 51 cm 50 cm 51 cm 53 cm
4 47 cm 46 cm 50 cm 49 cm 51 cm 53 cm 53 cm 54 cm 57 cm
5 48 cm 48 cm 51 cm 52 cm 52 cm 55 cm 55 cm 56 cm 60 cm
6 48 cm 49 cm 52 cm 54 cm 53 cm 58 cm 59 cm 60 cm 62 cm
ความสูงเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้น
1.ชุดควบคุม สูงเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 5
2.ชุด Low dose สูงเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 10
3.ชุดHigh dose สูงเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 15.33
2.กราฟแท่งแสดงผลการทดลอง
0
10
20
30
40
50
60
70
ความสูงเฉลี่ยของชุดควบคุม
ความสูงเฉลี่ยของชุดlow-dose
ความสูงเฉลี่ยของชุดhigh-dose
13
3.วิเคราะห์ผลการทดลอง
ฮอร์โมนออกซินมีผลต่อการเจริญด้านความสูงของต้นไม้สังเกตได้จาการที่ต้นhigh-doseมีความสูง
มากขึ้นกว่าต้นlow-doseและชุดควบคุมตามลาดับ แสดงให้เห็นถึงผลที่เกิดจากการใช้ฮอร์โมนออกซินใน
ปริมาณที่ต่างกัน
14
บทที่ 5สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
1.สรุปผลการทดลอง
› จากผลการทดลองจะเห็นได้ว่าต้นหนวดปลาหมึกที่ได้รับฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้นสูงสุดจะมี
อัตราการเจริญเติบโตของลาต้นสูงสุด
› รองลงมาจึงเป็นต้นที่ได้รับความเข้มข้นน้อยและต้นชุดควบคุมตามลาดับ
› จึงสรุปได้ว่าฮอร์โมนออกซินมีส่วนช่วยให้ต้นหนวดปลาหมึกด่างเจริญเติบโตได้ดีและเร็วยิ่งขึ้น
2.ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
-ปัญหาที่พบคือมีแมลงมากัดกินใบไม้เสมอ ควรหาทางรักษาโดยการฉีดยาฆ่าแมลงที่มีพิษต่อสิ่งแวดล้อม
-ควรซื้อต้นไม้ไว้ทาการทดลองหลายๆต้นเพื่อป้องกันการคลาดเคลื่อนและป้องการการผิดพลาดหากต้นไม้
ตาย
15
บรรณานุกรม
1.https://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B8
%B4%E0%B8%99
2.http://www.panmai.com/Pollution/Pollution_15.shtml
16
ภาคผนวก

More Related Content

What's hot

2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรมkrupornpana55
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2Enormity_tung
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกThanyamon Chat.
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4Ngamsiri Prasertkul
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1Niwat Yod
 
ปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรมปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรมSophinyaDara
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)Thitaree Samphao
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล Sircom Smarnbua
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศdnavaroj
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้thanapisit marakul na ayudhya
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)พัน พัน
 
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22phornphan1111
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นNattha Namm
 

What's hot (20)

2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยาความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
ความสัมพันธ์กับอาณาจักรต่างๆในสมัยสุโขทัย อยุธยา
 
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
เครื่องดักจับแมลงวันจากขวดพลาสติก 2
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอกการปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของพืชดอก
 
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
แบบทดสอบ เรื่องส่วนประกอบของพืช ป.4
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
Em ball By ACR 58
Em ball By ACR 58Em ball By ACR 58
Em ball By ACR 58
 
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
วิทย์ฯเพิ่มเติมเทอม1ม1
 
ปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรมปกโครงงานคุณธรรม
ปกโครงงานคุณธรรม
 
การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)การถ่ายละอองเรณู (T)
การถ่ายละอองเรณู (T)
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์2558 สำรวจแมงมุมแม่หม้ายน้ำตาล
 
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศแบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
แบบทดสอบ บทที่ 4 ระบบนิเวศ
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1แผนBioม.4 1
แผนBioม.4 1
 
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
โครงงานสิ่งประดิษฐ์เหลือใช้
 
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
ประวัติศาสตร์เอเชียตะวันออก (จีน เกาหลี ญี่ปุ่น)
 
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์
 
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
พระอภัยมณี ตอน พระอภัยมณีหนีนางผีเสื้อ22
 
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
ความสัมพันธ์กับต่างประเทศในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น
 

Similar to Plant hor 6_77_60 (20)

Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
M6 125 60_7
M6 125 60_7M6 125 60_7
M6 125 60_7
 
M6 143 60_6
M6 143 60_6M6 143 60_6
M6 143 60_6
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
4water culture 2
4water culture 24water culture 2
4water culture 2
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 
M6 126 60_3
M6 126 60_3M6 126 60_3
M6 126 60_3
 
M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
 
Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
 
Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6
 
M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
Biomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timberBiomapcontest2014 timber
Biomapcontest2014 timber
 
M6 125 60_4
M6 125 60_4M6 125 60_4
M6 125 60_4
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant hor 6_77_60

  • 1. โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมน ออกซิน ที่มีต่อส่วนสูงของลาต้น ของ ต้นหนวดปลาหมึก นาเสนอ ครูผู้สอน อาจารย์ วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. น.ส. พริม ฟองสมุทธ ม.6 ห้อง 77 เลขที่ 12 2. น.ส. รสิตา พรธิสาร ม.6 ห้อง 77 เลขที่ 16 3. นาย ณัฐภัทร เสริมชัยวงศ์ ม.6 ห้อง 77 เลขที่ 28 4. นาย ธนวัฒน์ ตั้งวงศ์กิจศิริ ม.6 ห้อง 77 เลขที่ 29 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 77 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 2. 1 บทคัดย่อ การปลูกต้นไม้ในยุคปัจจุบันนั่นถือเป็นเรื่องยากสาหรับใครหลายๆคน และต้นไม้บางชนิดก็ไม่เป็น ที่แพร่หลายนัก อย่างเช่นต้นหนวดปลาหมึก ซึ่งเป็นต้นไม้ที่มีประโยชน์ต่อสิ่งแวดล้อมในยุคปัจจุบัน มากมาย เช่นสามารถดูดควันพิษจากอากาศได้ซึ่งเหมาะสมในการเพาะพันธุ์ต้นไม้ชนิดนี้ให้เป็นที่แพร่หลาย การสังเกตการเจริญเติบโตทางด้านความสูงของต้นหนวดปลาหมึกจากการแบ่งกลุ่มต้นไม้ออกเป็น 3กลุ่ม ประกอบด้วย 1.กลุ่มที่ไม่ผสมฮอร์โมนออกซิน 2.กลุ่มที่ผสมฮอร์โมนออกซิน 0.1% 3.กลุ่มที่ผสมฮอร์โมนออกซิน 0.2% โดยทาการทดลองเป็นเวลา 6 อาทิตย์ พบว่าต้นหนวดปลาหมึกกลุ่มที่ผสมออกซินเข้มข้นจะมีความสูงที่มากกว่าผสมออกซินเจือจางและ มากกว่า แบบไม่ผสมออกซินเลย ทาให้ทราบได้ว่าออกซินมีผลต่อความสูงได้มากทีเดียว
  • 3. 2 กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมน ออกซิน ที่มีต่อส่วนสูงของลาต้น ของ ต้นหนวดปลาหมึก จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจาก อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ อาจารย์ประจาวิชา ชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 ที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงาน ขอขอบคุณผู้ปกครอง ที่ให้ความช่วยเหลือ เช่นการช่วยหาจัดซื้อของต่างๆ และให้กาลังใจตลอดมา คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา
  • 4. 3 สารบัญ หน้า บทคัดย่อ 1 กิตติกรรมประกาศ 2 สารบัญ 3 บทที่ 1 บทนา 5 1.ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 2.สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 3.อาจารย์ผู้สอน 4.ที่มาและความสาคัญ 5.คาถามการทาโครงงาน 6.สมมติฐานการทดลอง 7.วัตถุประสงค์ของโครงงาน 8.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 9.ขอบเขตของโครงงาน 10.ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน 11.วิธีการเก็บข้อมูล 12.วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 7 1.ต้นปลาหมึกหรือต้นหนวดปลาหมึก 2.ฮอร์โมนออกซิน บทที่ 3 การดาเนินงาน 10 1.วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 2.ขั้นตอนการทาโครงงาน บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง 12 1.ตารางบันทึกผลการทดลอง 2.กราฟแท่งแสดงผลการทดลอง 3.วิเคราะห์ผลการทดลอง
  • 6. 5 บทที่ 1 บทนา 1.ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อส่วนสูงของลาต้นของต้นปลาหมึก 2.สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. น.ส. พริม ฟองสมุทธ ม.6 ห้อง 77 เลขที่ 12 2. น.ส. รสิตา พรธิสาร ม.6 ห้อง 77 เลขที่ 16 3. นาย ณัฐภัทร เสริมชัยวงศ์ ม.6 ห้อง 77 เลขที่28 4. นาย ธนวัฒน์ ตั้งวงศ์กิจศิริ ม.6 ห้อง 77 เลขที่29 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 77 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 3.อาจารย์ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ 4.ที่มาและความสาคัญ เนื่องจาก ต้นปลาหมึกหรือต้นหนวดปลาหมึกสามารถดูดควันพิษในบรรยากาศได้เป็นอย่างดีและ ในปัจจุบันอากาศก็เต็มไปด้วยสารพิษและควันพิษ ดังนั้นการปลูกต้นไม้ชนิดนี้จึงเป็นทางออกที่ดีในการลด มลพิษทางอากาศ นอกจากนี้ การที่จะทาให้ต้นพืชเจริญขึ้นอย่างดีนั้นจาเป็นต้องอาศับฮอร์โมนกระตุ้นซึ่ง นั่นก็คือฮอร์โมนออกซิน คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนออก ซินที่มีต่อส่วนสูงของลาต้นของต้นปลาหมึก โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสนับสนุนและต่อยอดในการเพาะพันธุ์ ต้นปลาหมึกต่อๆไป คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้ จะมีประโยชน์ต่อผู้ที่ศึกษาและผู้ที่สนใจในอนาคตต่อไป 5.คาถามการทาโครงงาน สารละลายฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้นใดจะส่งผลให้ต้นปลาหมึกมีการเจริญของส่วนสูงลาต้น มากที่สุด 6.สมมติฐานการทดลอง ถ้าฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้นมากสุดมีผลต่อลาต้นเจริญดีที่สุด ดังนั้น สารละลายฮอร์โมน ออกซิน ที่ ความเข้มข้นมากสุดจะทาให้ลาต้นมี ส่วนสูงมากที่สุด 7.วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินต่อการเจริญเติบโตของต้นปลาหมึก 2. เพื่อเปรียบเทียบความสูงของลาต้นที่ใส่ด้วยฮฮร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้นแตกต่างกัน
  • 7. 6 8.ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1.ได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องผลของฮอร์โมนออกซินต่อการเจริญเติบโตของต้นปลาหมึก 2.ได้ศึกษาเปรียบเทียบความสูงของลาต้นที่ใส่ด้วยฮฮร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้นแตกต่างกัน 3.เป็นการส่งเสริมการปลูกต้นปลาหมึกให้เจริญก้าวหน้าขึ้น 9.ขอบเขตของโครงงาน การทาโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะส่วนสูงของต้นปลาหมึกที่ใส่ด้วย ฮอร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้นแตกต่างกัน ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน ตัวแปรตาม คือ ส่วนสูงของลาต้นต้นปลาหมึก ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณดิน อุณหภูมิ ที่มาของเมล็ด ปริมาณน้า 10.ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน วันจันทร์ที่22 พฤษภาคม พศ.2560 ถึง 31 สิงหาคม พศ.2560 11.วิธีการเก็บข้อมูล การใช้ไม้บรรทัดที่มีมาตรฐานวัดความสูงของต้นไม้โดยวัดจากขอบดินจนถึงยอดลาต้นพร้อมจด บันทึกผลการวัดความสูงลงในตารางแบบบันทึกที่ได้ออกแบบไว้ 12.วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงจากตารางที่ได้จดบันทึกเอาไว้
  • 8. 7 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1.ต้นปลาหมึกหรือต้นหนวดปลาหมึก หนวดปลาหมึก มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Schefflera actinophylla จัดอยู่ในวงศ์ ARALIACEAE เป็นไม้ ประดับที่มีถิ่นกาเนิดในแถบประเทศควีนแลนด์ ปาปัวนิวกินี และประเทศอินโดนีเซีย เป็นไม้พุ่มประดับที่ไม่สูงมากนัก คือสูงเต็มที่ไม่เกิน 2-3เมตร และมีการเจริญเติบโตเร็วมาก ใบมีสี เขียวเป็นมัน เป็นไม้ประดับที่มีหลายชนิด มีทั้งชนิดใบเล็ก และชนิดใบใหญ่ แต่จะมีลักษณะที่เป็น เอกลักษณ์เหมือนกันคือ ใบจะแตกออกมาจากกิ่งเดียว โดยแต่ละกิ่งจะมีใบประมาณ 7-15 ใบ และจะกาง ออกคล้ายกับนิ้วมือคน หนวดปลาหมึก นิยมขยายพันธุ์โดยการตัดชา ดินสาหรับปลูกจะใช้ดินร่วน 2 ส่วน ปุ๋ ยหมักหรือปุ๋ ย คอกเก่า 1 ส่วน ใบไม้ผุ 1 ส่วน ทรายหยาบ 1 ส่วน เป็นไม้ประดับที่ต้องการแสงสว่างในการเจริญเติบโต แต่ ไม่ชอบแสงแดดโดยตรง ควรให้น้าครั้งละน้อยแต่ให้บ่อยๆ โดยให้สังเกตดินในกระถาง หากเห็นว่าแห้งจึง ให้น้า และควรเปลี่ยนกระถางใหม่ทุกปี
  • 9. 8 หนวดปลาหมึกเป็นไม้ประดับที่เลี้ยงดูง่าย และมีประสิทธิภาพในการดูดซับสารพิษจากอากาศได้ อย่างดีเยี่ยม นิยมปลูกเป็นแนวสวนของบ้าน เพราะฟอร์มใบเป็นแฉกสวยงาม ชอบแดดกึ่งร่ม ชอบน้าและ ความชื้น แต่หากนาไม้ประดับชนิดนี้มาปลูกภายในอาคาร ก็สามารถเจริญเติบโตได้ดีและมีการเจริญเติบโต ที่สม่าเสมอ แต่ควรรดน้าวันเว้นวัน แต่เมื่อปลูกไปนานๆ หนวดปลาหมึกจะมีลาต้นที่สูง จึงควรตัดยอดออก เพื่อให้แตกกิ่งก้านเป็นทรงพุ่มสวยงามประดับบ้านเรือนต่อไป 2.ฮอร์โมนออกซิน ออกซินเป็นฮอร์โมนพืชที่สร้างจากกลุ่มเซลล์เนื้อเยื่อเจริญบริเวณยอดอ่อน แล้วแพร่จากยอด อ่อนไปยังเซลล์อื่น ๆ ที่อยู่ด้านล่าง แบ่งได้เป็น 2 กลุ่ม เเบ่งได้เป็น 2 ประเภท คือ Natural and Synthetic Auxin หน้าที่คือ 1. กระตุ้นเซลล์ของเนื้อเยื่อที่มีการยืดตัวให้ขยายขนาดทาให้เจริญเติบโตสูงขึ้น 2. ออกซินมีผลต่อการยับยั้งการเจริญเติบโตของตาข้าง การศึกษาเกี่ยวกับออกซิน 1) การศึกษาการตัดตาออ่นของพืช
  • 10. 9 2) การศึกษาความเข้มข้นของออกซิน รูปการตอบสนองของราก ตา และลาต้น ต่อความเข้มข้นของออกซินระดับต่าง ๆ สรุปว่า ถ้าออกซินเข้มข้นมาก จะยับยั้งการเจริญของตาแต่เมื่อตัดยอดออกไป จึงขาดแหล่ง สร้างออกซินที่จะยับยั้งการเจริญของตาข้าง ทาให้ตาข้างเจริญได้ดี รูปภาพแสดงการเร่งรากของกิ่งเมื่อใช้ออกซิน สรุปผลการทดลองได้ว่า ก้านใบพืชที่จุ่มในออกซินมีการแตกรากหรือการงอกรากมากมาย กว่าก้านใบพืชที่จุ่มในน้า โดยไม่มีออกซิน แทบไม่มีการงอกออกมาเลย
  • 11. 10 บทที่ 3 การดาเนินงาน 1.วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 1. ต้นหนวดปลาหมึก 9 ต้น 2. ฮอร์โมนออกซิน 3. ขวดฟ็อกกี้ 3 ขวด 4. หลอดตวงสาหรับวัดปริมาณฮอร์โมน 2.ขั้นตอนการทาโครงงาน 1. ประชุมวางแผนคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ ซึ่งคือการศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อส่วนสูง ของลาต้นของต้นหนวดปลาหมึก 2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานดังนี้ 2.1. ลักษณะของต้นหนวดปลาหมึก 2.2. ฮอร์โมนออกซิน 2.3. ผลของออกซินต่อการเจริญเติบโต 3. วางแผนรายละเอียดการทดลองและหาซื้ออุปกรณ์ 4. ติดต่อสถานที่ที่ใช้ในการทาทดลอง 5. จัดทาเค้าโครงโครงงาน เพื่อนาเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อนาไปปรับปรุงและแก้ไข 6. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทาการทดลอง 7. ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง 7.1 เตรียมฮอร์โมน
  • 12. 11 7.2 ฉีดฮอร์โมนชุดต่างๆชุดละ3ต้น และบันทึกผลทุกอาทิตย์ 8. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เป็นระยะ 9. จัดทาเอกสารเป็นรูปเล่มโครงงานให้สมบูรณ์ 10. จัดทาสื่ออภิปรายแสดงผลการทดลอง 11. นาเสนอโครงงาน
  • 13. 12 บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง 1.ตารางบันทึกผลการทดลอง ส่วนสูง con1 con2 con3 Low4 Low5 Low6 High7 High8 High9 อาทิตย์ที่ 1 42 cm 43 cm 49 cm 43 cm 45 cm 47 cm 42 cm 44 cm 46 cm 2 44 cm 45 cm 50 cm 45 cm 48 cm 49 cm 48 cm 48 cm 49 cm 3 46 cm 45 cm 50 cm 47 cm 49 cm 51 cm 50 cm 51 cm 53 cm 4 47 cm 46 cm 50 cm 49 cm 51 cm 53 cm 53 cm 54 cm 57 cm 5 48 cm 48 cm 51 cm 52 cm 52 cm 55 cm 55 cm 56 cm 60 cm 6 48 cm 49 cm 52 cm 54 cm 53 cm 58 cm 59 cm 60 cm 62 cm ความสูงเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้น 1.ชุดควบคุม สูงเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 5 2.ชุด Low dose สูงเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 10 3.ชุดHigh dose สูงเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 15.33 2.กราฟแท่งแสดงผลการทดลอง 0 10 20 30 40 50 60 70 ความสูงเฉลี่ยของชุดควบคุม ความสูงเฉลี่ยของชุดlow-dose ความสูงเฉลี่ยของชุดhigh-dose
  • 15. 14 บทที่ 5สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 1.สรุปผลการทดลอง › จากผลการทดลองจะเห็นได้ว่าต้นหนวดปลาหมึกที่ได้รับฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้นสูงสุดจะมี อัตราการเจริญเติบโตของลาต้นสูงสุด › รองลงมาจึงเป็นต้นที่ได้รับความเข้มข้นน้อยและต้นชุดควบคุมตามลาดับ › จึงสรุปได้ว่าฮอร์โมนออกซินมีส่วนช่วยให้ต้นหนวดปลาหมึกด่างเจริญเติบโตได้ดีและเร็วยิ่งขึ้น 2.ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม -ปัญหาที่พบคือมีแมลงมากัดกินใบไม้เสมอ ควรหาทางรักษาโดยการฉีดยาฆ่าแมลงที่มีพิษต่อสิ่งแวดล้อม -ควรซื้อต้นไม้ไว้ทาการทดลองหลายๆต้นเพื่อป้องกันการคลาดเคลื่อนและป้องการการผิดพลาดหากต้นไม้ ตาย