SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
1
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีต่อจานวนใบใหม่ของต้นหนุมานประสานกาย
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. น.ส. พรรณชนก ลีลาสวัสดิ์ เลขที่ 10
2. น.ส. พัชรญา ปานย้อย เลขที่ 13
3. นาย ณัฐชนน ธีระรัตนนุกูลชัย เลขที่ 27
4. นาย ภานุวัฒน์ ดุพงษ์ เลขที่ 34
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 77
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
2
บทคัดย่อ
ในปัจจุบัน เกษตรกรทั่วไปนิยมใช้ฮอร์โมนในการเร่งการเจริญเติบโตของต้นไม้หรือผลผลิตทาง
การเกษตรของตนเอง ซึ่งหนึ่งในฮอร์โมนที่ใช้อย่างแพร่หลายคือฮอร์โมนไซโตไคนิน จากการศึกษาข้อมูล
ของฮอร์โมนไซโตไคนิน คณะผู้จัดทาโครงงานจึงเกิดความสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับ ผลของฮอร์โมน ไซโต-
ไคนินต่อจานวนใบที่เกิดใหม่ของต้นหนุมานประสานกาย และ เพื่อเปรียบเทียบผลของความเข้มข้นที่
แตกต่างกันต่อการเกิดใบใหม่ของต้นหนุมานประสานกาย จึงเกิดเป็นโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชครั้งนี้
จากการศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไคนินต่อต้นหนุมานประสานกายโดยมีตัวแปรต้นคือฮอร์โมนไซโต
ไคนินซึ่งมีความเข้มข้นต่างกัน ประกอบด้วยชุดควบคุม และชุดทดลอง 3 ชุด คือ ชุดที่ฮอร์โมนมีความ
เข้มข้นต่า(low dose) ชุดที่ฮอร์โมนมีความเข้มข้นสูง(high dose ) และชุดควบคุม(control) จากผลการ
ทดลองพบว่าฮอร์โมนไซโตไคนินมีผลต่อการเกิดใบใหม่ของต้นหนุมานประสานกาย โดยชุดที่มีฮอร์โมน
ความเข้มข้นสูง (high dose ) มีจานวนใบแตกใหม่มากที่สุด
3
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานการทดลองฮอร์โมนเรื่องการศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีต่อจานวนใบใหม่ของ
ต้นหนุมานประสานกายจะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจากครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ครู คศ.1
สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ครูประจารายวิชาชีววิทยา (ว 30245) ที่ช่วยให้คาปรึกษา
ช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ และให้คาแนะนาเกี่ยวกับโครงงาน
คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
4
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ
กิตติกรรมประกาศ
บทที่ 1 บทนา 5
- ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 5
- สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 5
- ที่มาและความสาคัญ 5
- ปัญหาการทาโครงงาน 5
- สมมติฐานการทดลอง 5
- วัตถุประสงค์ของโครงงาน 5
- ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 6
- ขอบเขตการทดลอง 6
- ตัวแปรการทดลอง 6
- ระยะเวลาในการทดลอง 6
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 7
- ต้นหนุมานประสานกาย 7
- ฮอร์โมนพืช 9
- ฮอร์โมนไซโตไคนิน 10
บทที่ 3 การดาเนินงาน 16
- วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 16
- ขั้นตอนการทาโครงงาน 17
- วิธีการเก็บข้อมูล 19
บทที่ 4 ผลการทดลอง 20
- ตารางบันทึกผลการทดลอง 20
- กราฟแท่งแสดงผลการทดลอง 21
- กราฟเส้นแสดงผลการทดลอง 22
บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง 23
- ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 23
บรรณานุกรม 24
ภาคผนวก 25
5
บทที่ 1
บทนา
ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีผลต่อการเกิดใบของต้นหนุมานประสานกาย
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. น.ส. พรรณชนก ลีลาสวัสดิ์ เลขที่ 10
2. น.ส. พัชรญา ปานย้อย เลขที่ 13
3. นาย ณัฐชนน ธีระรัตนนุกูลชัย เลขที่ 27
4. นาย ภานุวัฒน์ ดุพงษ์ เลขที่ 34
อาจารย์ผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ที่มาและความสาคัญ
ในปัจจุบัน เกษตรกรทั่วไปนิยมใช้ฮอร์โมนในการเร่งการเจริญเติบโตของต้นไม้หรือผลผลิตทาง
การเกษตรของตนเอง ซึ่งหนึ่งในฮอร์โมนที่ใช้อย่างแพร่หลายคือฮอร์โมนไซโตไคนิน ฮอร์โมนไซโตไคนิน
จากการศึกษาข้อมูลของฮอร์โมน พบว่าฮอร์โมนไซโตไคนินนั้นเป็นฮอร์โมนที่ช่วยกระตุ้นการแตกตาและ
การแตกใบใหม่ได้ดี คณะผู้จัดทาโครงงานเกิดความสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับผลของฮอร์โมนไซโตไคนินต่อ
จานวนใบที่เกิดใหม่ของต้นหนุมานประสานกาย และ เพื่อเปรียบเทียบผลของความเข้มข้นที่แตกต่างกันต่อ
การเกิดใบใหม่ของต้นหนุมานประสานกายจึงเกิดเป็นโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชครั้งนี้ คณะผู้จัดทา
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมีประโยชน์ต่อผู้ทาการเกษตรและผู้
ที่สนใจในการศึกษาในอนาคตต่อไป
คาถามการทาโครงงาน
สารละลายฮอร์โมนไซโตไคนินมีผลต่อการเกิดใบใหม่ของต้นหนุมานประสานกายหรือไม่และความเข้มข้น
ของฮอร์โมนมีความสัมพันธ์ต่อการเกิดใบอย่างไร
สมมติฐานการทดลอง
1.ถ้าฮอร์โมนไซโตไคนินมีผลต่อการแตกใบใหม่ของต้นหนุมานประสานกาย ดังนั้นต้นหนุมานประสาน
กายที่ได้รับฮอร์โมน จะมีจานวนใบแตกใหม่ มากกว่า ชุดที่ไม่ได้รับฮอร์โมน
2.ถ้าฮอร์โมนไซโตไคนินที่ความเข้มข้น 0.01% v/v มีผลต่อการแตกใบใหม่ของพืชมากที่สุด ดังนั้น
สารละลายฮอร์โมนไซโตไคนิน ที่ความเข้มข้น 0.01% v/v จะทาให้ต้นหนุมานประสานกายมีจานวนใบใหม่
มากที่สุด
6
วัตถุประสงค์ของการทดลอง
1. เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไคนินต่อจานวนใบใหม่ของต้นหนุมานประสานกาย
2. เพื่อเปรียบเทียบผลของความเข้มข้นที่แตกต่างกันต่อการเกิดใบใหม่ของต้นหนุมานประสานกาย
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้รับความรู้เกี่ยวกับผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีต่อการเกิดใบใหม่ของต้นหนุมาน
ประสานกาย
2. สามารถเปรียบเทียบผลของความเข้มข้นที่แตกต่างกันต่อการเกิดใบใหม่ของต้นหนุมาน
ประสานกาย
ขอบเขตการทดลอง
การทาโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะจานวนใบใหม่ของต้นหนุมานประสาน
กายโดยศึกษาจากกลุ่มการทดลอง 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม High Dose (0.01% v/v) , กลุ่ม Low Dose (0.005%
v/v)และกลุ่มควบคุม (0% v/v) กลุ่มละ 3 ต้น รวม 9 ต้น
ตัวแปรการทดลอง
ตัวแปรต้น คือ ฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีความเข้มข้นต่างกัน
ตัวแปรตาม คือ จานวนใบใหม่ของต้นหนุมานประสานกาย
ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณดิน การได้รับแสง อุณหภูมิ ปริมาณการให้ฮอร์โมนและการรดน้า
ระยะเวลาในการทาโครงงาน
26 พฤษภาคม2560 ถึง 28 กรกฎาคม2560
7
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ในการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ครั้งนี้ ผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสารและจากเว็บไซต์ต่างๆที่
เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้
2.1. ต้นหนุมานประสานกาย
2.2. ฮอร์โมนพืช
2.3.ฮอร์โมนไซโตไคนิน
2.1. ต้นหนุมานประสานกาย
ชื่อสมุนไพร : หนุมานประสานกาย
ชื่อเรียกอื่นๆ : ว่านอ้อยช้าง และ ชิดฮะลั้ง (จีน)
ชื่อวิทยาศาสตร์ :Schefflera leucantha R. Vig.
ชื่อสามัญ :Edible-stemed Vine
วงศ์ :ARALIACEAE
ลักษณะสมุนไพร : หนุมานประสานกายเป็นไม้พุ่มที่ไม่สูงมาก สูงเพียง 1-2 เมตร แตกกิ่งก้านต่า
ใกล้พื้นดิน ผิวลาต้นค่อนข้างเรียบเกลี้ยงเป็นสีน้าตาล ใบเป็นใบประกอบสีเขียวออกเรียงสลับแบบนิ้วมือ มี
8
ใบย่อย 7-8 ใบ ลักษณะรูปยาวรี กว้าง 1.5-3 ซม. ยาว 5-8 ซม. โคนใบแหลมมีหูใบซึ่งจะติดอยู่กับก้านใบ
พอดี ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบและแผ่นใบเรียบ แผ่นใบเป็นมัน ก้านใบย่อยยาว 8 – 25 มม. ดอกมีสีขาว
นวลออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ยาวประมาณ 3 – 5 นิ้ว ลักษณะของดอกย่อย เป็นดอกสีเขียว มีขนาดเล็ก ก้านช่อ
ดอกยาวประมาณ 3 – 7 มม. ผลมีลักษณะรูปทรงกลมคล้ายรูปไข่ มีเนื้อ อวบน้า ขนาดเล็ก ความยาวประมาณ
5 – 6 มม. กว้างประมาณ 4 – 5 มม. ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อแก่หรือสุกเต็มที่จะเปลี่ยนเป็นสีแดงสดเหมือนสี
เหล้าองุ่น
ส่วนที่นามาใช้ประโยชน์ : ราก, ใบ, ยอดอ่อน และ ทั้งต้น
สรรพคุณทางยา
- รากรักษาแผลสด
- ใบ รักษาโรคมะเร็ง ขับเสมหะ รักษาวัณโรค แก้ไอ แก้อาเจียนเป็นเลือด ห้ามเลือด สมานแผล
แก้อักเสบบวม แก้คออักเสบ แก้โรคปอด
- ยอดอ่อน รักษาโรคหอบหืด โรคแพ้อากาศ รักษาโรคหลอดลมอักเสบแก้ช้าใน แก้เส้นเลือด
ฝอยในสมองแตก กระจายเลือดลมที่จับกันเป็นก้อนหรือคั่งภายใน
- ทั้งต้น รักษาโรคกระเพาะอาหารและลาไส้
วิธีการใช้
- รักษาแผลสด นายางมาใช้ใส่แผลสด ทาให้แผลแห้งเร็วขึ้น
- รักษาโรคหอบหืด โรคแพ้อากาศ รักษาโรคหลอดลมอักเสบแก้ช้าใน แก้เส้นเลือดฝอยแตกใน
สมอง กระจายเลือดลม นายอดอ่อนประมาณ 5-10 ช่อ ต้มกับน้า 2 แก้วให้เหลือ 1 แก้ว ดื่มเช้า
เย็นก่อนอาหาร
- รักษาวัณโรค แก้โรคปอด นาใบสดเล็กๆ 9 ใบ ต้มกับน้า 3 ถ้วยแก้ว เคี่ยวให้เหลือ 1 ถ้วยแก้ว
รับประทานวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า-เย็น เป็นเวลา 60 วัน แล้ว x-ray ตรวจสอบอีกครั้ง
หากพบว่าปอดมีอาการดีขึ้นแล้วให้รับประทานต่อเนื่องอีกระยะหนึ่ง
- ยาแก้ไอ ขับเสมหะ แก้คออักเสบ นาใบสดประมาณ 10 ช่อมาตาให้ละเอียด คั้นเอาแต่น้าผสม
กับเหล้าขาว ดื่มรับประทาน
- แก้อาเจียนเป็นเลือด นาใบสด 12 ใบย่อย ตาคั้นน้า 2 ถ้วยตะไล รับประทานครั้งละ 1 ถ้วยตะไล
ติดต่อกัน 5-7 วัน
- ห้ามเลือด สมานแผลแก้อักเสบบวม นาใบสดมาตาพอกแผลสด
- รักษาโรคกระเพาะอาหารและลาไส้ นาทั้งต้นมาต้ม ดื่มรับประทานทาให้เลือดลมเดินสะดวก
9
2.2. ฮอร์โมนพืช
ฮอร์โมนพืชเป็นสารเคมีภายในพืชซึ่งเกี่ยวข้องกับการเจริญของพืชไม่เพียงแต่การเจริญของพืชทั้ง
ต้นเท่านั้น หากแต่ยังเกี่ยวข้องกับการเจริญของพืชแต่ละส่วนด้วย ในปัจจุบันทราบกันดีแล้วว่าฮอร์โมนพืชมี
ทั้งชนิดที่กระตุ้นการเจริญเติบโต และระงับการเจริญเติบโต ฮอร์โมนพืชที่พบในปัจจุบันคือออกซิน
(Auxin) จิบเบอเรลลิน (Gibberellins) ไซโตไคนิน(Cytokinins) กรดแอบซิสิค (Abscisic Acid) หรือ
ABA และ เอทธิลีน (Ethylene) ซึ่งมีสถานะเป็นก๊าซ
ฮอร์โมนพืชสามารถเคลื่อนย้ายภายในต้นพืชได้และมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต การ
เปลี่ยนแปลงทางคุณภาพและการพัฒนาของเนื้อเยื่อ และอวัยวะของพืชซึ่งได้รับฮอร์โมนนั้น ๆ คาว่า
ฮอร์โมน นั้นเริ่มใช้โดยนักสรีรวิทยาของสัตว์ ซึ่งต่อมานักสรีรวิทยาของพืชได้นามาใช้กับสารประกอบ
อินทรีย์ ซึ่งสามารถมีผลกระทบในปริมาณที่น้อยมาก โดยพืชจะสังเคราะห์ที่ส่วนหนึ่งแล้วเคลื่อนย้ายไปยัง
อีกส่วนหนึ่ง และมีผลต่อกระบวนการทางสรีรวิทยาที่ค่อนข้างเฉพาะเจาะจง ดังนั้นในการศึกษาทางด้าน
ฮอร์โมนจึงมักศึกษาในแง่ของแหล่งและกระบวนการสังเคราะห์ การเคลื่อนที่และเคลื่อนย้าย และปฏิกิริยา
ของฮอร์โมนที่มีต่อพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโต (Plant Growth Regulator) เป็นสารเคมีที่สาคัญในการเกษตร เป็น
สารอินทรีย์ซึ่งมนุษย์สังเคราะห์ขึ้นมาได้ ซึ่งบางชนิดมีคุณสมบัติเหมือนฮอร์โมนพืช มนุษย์รู้จักการใช้สาร
ควบคุมการเจริญเติบโตมานานแล้ว เช่น กระตุ้นให้มะม่วงหรือสับปะรดออกดอกโดยการจุดไฟข้างสวน
เพื่อให้เกิดควันซึ่งมีเอทธิลีนปนอยู่ สามารถกระตุ้นให้เกิดการออกดอกได้ ถึงแม้ว่าในขณะนั้นจะยังไม่
ทราบสาเหตุที่แท้จริงก็ตาม
การแสดงออกถึงลักษณะต่าง ๆ ของพืชจะเกิดจากพันธุกรรมและสภาพแวดล้อม ซึ่งรวมกับ
ฮอร์โมนด้วย เช่น การปลูกผักกาดขาวปลีบางพันธุ์ในฤดูร้อน ผักกาดขาวปลีจะไม่เข้าหัว ฮอร์โมนบางชนิด
สามารถกระตุ้นให้ผักกาดขาวปลีเข้าหัวได้ ซึ่งในกรณีนี้ฮอร์โมนจะทดแทนสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมได้
ในประเทศไทยการใช้ฮอร์โมนพืชมีวัตถุประสงค์ในทางการเกษตรเพื่อให้มีผลผลิต เพื่อเพิ่มผลผลิต
และคุณภาพ และเพื่อความสะดวกในการจัดการฟาร์ม
10
2.3. ไซโตไคนิน
การค้นพบฮอร์โมนในกลุ่มนี้เริ่มจากการศึกษาการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โดยในปี ค.ศ. 1920
Haberlandt ได้แสดงให้เห็นว่ามีสารชนิดหนึ่งเกิดอยู่ในเนื้อเยื่อพืชและกระตุ้นให้เนื้อเยื่อพาเรนไคมาใน
หัวมันฝรั่งกลับกลายเป็นเนื้อเยื่อเจริญได้ ซึ่งแสดงว่าสารชนิดนี้สามารถกระตุ้นให้มีการแบ่งเซลล์ ต่อมามี
การพบว่าน้ามะพร้าวและเนื้อเยื่อของหัวแครอทมีคุณสมบัติในการกระตุ้นการแบ่งเซลล์เช่นกัน
นักวิทยาศาสตร์หลายท่าน เช่น Skoog และ Steward ทาการทดลองในสหรัฐอเมริกา โดยศึกษา
ความต้องการสิ่งที่ใช้ในการเจริญเติบโตของกลุ่มก้อนของเซลล์ (Callus) ซึ่งเป็นเซลล์ที่แบ่งตัวอย่างรวดเร็ว
แต่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพเกิดขึ้นของ pith จากยาสูบและรากของแครอท จากผลการทดลองนี้ทา
ให้รู้จักไซโตไคนินในระยะปี ค.ศ. 1950 ซึ่งเป็ นฮอร์โมนพืชที่จาเป็ นต่อการแบ่งเซลล์และการ
เปลี่ยนแปลงทางคุณภาพของเนื้อเยื่อ ในปัจจุบันพบว่าไซโตไคนิน ยังเกี่ยวข้องกับการเสื่อมสภาพ
(Senescence) และการควบคุมการเจริญของตาข้างโดยตายอด (Apical Dominance)และการเกิดใบ
จากการศึกษาของ Skoog โดยเลี้ยงเนื้อเยื่อ pith ของยาสูบ พบว่าการที่เนื้อเยื่อจะเจริญต่อไปได้นั้น
จะต้องมีอาหารและฮอร์โมน เช่น ออกซิน โดยถ้าให้ออกซินในอาหารจะมีการเจริญของเนื้อเยื่อนั้นน้อยมาก
เซลล์ขนาดใหญ่เกิดขึ้นโดยไม่แบ่งเซลล์ นอกจากนั้นจะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพ อย่างไรก็ตาม
หากเพิ่มพิวรีน เบส (Purine Base) ชนิดอะดีนีน (Adenine) ลงไปในอาหารรวมกับ IAA พบว่า เนื้อเยื่อจะ
กลายเป็นกลุ่มเซลล์ (Callus) ถ้าใส่อะดีนีนอย่างเดียวรวมกับอาหาร เนื้อเยื่อจะไม่สร้างกลุ่มเซลล์ขึ้นมา
ดังนั้นจึงมีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ระหว่าง อะดีนีน และ IAA ซึ่งกระตุ้นให้เกิดการแบ่งเซลล์ขึ้น อะดีนีน
เป็นพิวรีนเบสซึ่งมีสูตรเป็น 6-อะมิโนพิวรีน (6-aminopurine) และปรากฏอยู่ในสภาพธรรมชาติโดยเป็น
ส่วนประกอบของกรดนิวคลีอิค
ในปี 1955 Millerได้แยกสารอีกชนิดหนึ่งซึ่งมีคุณสมบัติคล้ายคลึงแต่มีประสิทธิภาพดีกว่าอะดีนีน
ซึ่งได้จากการสลายตัวของ DNA ของสเปิร์มจากปลาแฮร์ริง สารชนิดนี้ คือ 6-(furfuryl-amino) purine ซึ่งมี
สูตรโครงสร้างคล้ายอะดีนีน เนื่องจากสารชนิดนี้สามารถกระตุ้นให้เกิดการแบ่งเซลล์โดยร่วมกับออกซิน
จึงได้รับชื่อว่าไคเนติน (Kinetin)
ไคเนติน เป็นสารที่ไม่พบตามธรรมชาติในต้นพืช แต่เป็นสารสังเคราะห์ ต่อมาได้มีการค้นพบไซ
โตไคนินสังเคราะห์อีกหลายชนิด สารสังเคราะห์ที่มีกิจกรรมของไซโตไคนินสูงที่สุดคือ เบนซิลอะดีนีน
(Benzyladenine หรือ BA) และเตตระไฮโดรไพรานีลเบนซิลอะดีนีน (tetrahydropyranylbenzyladenine หรือ
PBA)
11
ไซโตไคนินที่พบในพืช
แม้ว่าไคเนติน BA และ PBA เป็นสารที่ไม่พบในต้นพืช แต่สารซึ่งพบในอวัยวะของพืชหลายชนิด
เช่น ในน้ามะพร้าว ในผลอ่อนของข้าวโพด ให้ผลทางสรีรวิทยาและสัณฐานวิทยาที่คล้ายคลึงกับสาร BA
และ PBA สารที่เกิดตามธรรมชาติและสารสังเคราะห์หลายชนิด ซึ่งมีคุณสมบัติเหมือนไคเนตินนั้น เรียกโดย
ทั่วๆ ไปว่า ไซโตไคนิน ซึ่งเป็นสารที่เมื่อมีผลร่วมกับออกซินแล้วจะเร่งให้เกิดการแบ่งเซลล์ในพืช
มีหลักฐานเด่นชัดชี้ว่าไซโตไคนินที่เกิดในธรรมชาติเป็นสารประกอบพิวรีน จากการทดลองในปี 1964
Letham ได้แยกไซโตไคนินจากเมล็ดข้าวโพดหวานและพบสาร 6-(4-hydroxy-3-methyl but-2-enyl)
aminopurine ซึ่ง Letham ได้ตั้งชื่อว่า ซีเอติน (Zeatin)
นับตั้งแต่มีการแยกไซโตไคนินชนิดแรกคือซีเอตินแล้วก็มีการค้นพบไซโตไคนิน อีกหลายชนิดซึ่งทุก
ชนิดเป็นอนุพันธ์ของอะดีนีน คือ เป็น 6-substituted amino purines ซีเอตินเป็นไซโตไคนินธรรมชาติซึ่งมี
ประสิทธิภาพสูงที่สุด
การสังเคราะห์ไซโตไคนิน
การสังเคราะห์ไซโตไคนินในต้นพืชเกิดโดยการ substitution ของ side chain บนคาร์บอนอะตอมที่ 6
ของอะดีนีน ซึ่ง side chain ของไซโตไคนินในสภาพธรรมชาติ ประกอบด้วยคาร์บอน 5 อะตอม จึงเป็น
การชี้ให้เห็นว่าเกิดมาจากวิถีการสังเคราะห์ ไอโซพรีนอยด์ (Isoprenoid) ต่อมาพบว่า กลุ่มของไซโตไคนิน
เกิดขึ้นบน t-RNA ได้ และเมื่อใช้เมวาโลเนต (Mavalonate หรือ MVA) ที่มีสารกัมมันตรังสี จะสามารถไป
รวมกับกลุ่ม อะดีนีนของ t-RNA เกิดเป็นไดเมทธิลอัลลิล (Dimethylallyl side chain) เกาะด้านข้าง ในเชื้อ
รา Rhizopus นั้น Dimethylallyl adenine สามารถเปลี่ยนไปเป็น Zeatin ได้ จึงคาดกันว่า Zeatin อาจจะเกิด
จากการออกซิไดซ์ Dimethylallyl adenine
การเกิดกลุ่มของไซโตไคนินใน t-RNA นี้ หมายความว่า ไซโตไคนิน อาจจะเกิดขึ้นมาจากการ
สลายตัวของ t-RNA ซึ่งความเป็นจริงก็พบเหตุการณ์ดังกล่าวบ้าง อย่างไรก็ตามยังมีข้อสงสัยอีกมากที่
เกี่ยวข้องกับการเกิดไซโตไคนินจาก t-RNA อาจจะมีวิถีเฉพาะที่ก่อให้เกิดการสังเคราะห์ไซโตไคนิน ดัง
แสดงในรูปที่ 12.4 ซึ่งเป็นวิถีที่แยกอย่างเด็ดขาดจากการเกิดไซโตไคนินโดยการสลายตัวของ t-RNA
พบไซโตไคนินมากในผลอ่อนและเมล็ด ในใบอ่อนและปลายรากซึ่งไซโตไคนิน อาจจะ
สังเคราะห์ที่บริเวณดังกล่าวหรืออาจจะเคลื่อนย้ายมาจากส่วนอื่น ๆ ในรากนั้นมีหลักฐานที่ชี้ให้เห็นว่าไซ
โตไคนินสังเคราะห์ที่บริเวณนี้ได้เพราะเมื่อมีการตัดรากหรือลาต้น พบว่าของเหลวที่ไหลออกมาจากท่อน้า
จะปรากฏไซโตไคนินจากส่วนล่างขึ้นมา ติดต่อกันถึง 4 วัน ซึ่งอาจจะเป็นไปได้ว่าไซโตไคนินสังเคราะห์
12
ที่รากแล้วส่งไปยังส่วนอื่น ๆ โดยทางท่อ xylemหลักฐานที่แสดงว่าสังเคราะห์ที่ส่วนอื่นยังไม่พบและการ
เคลื่อนย้ายของไซโตไคนินจากส่วนอ่อน เช่น ใบ เมล็ด ผล ยังเกิดไม่ดีและไม่มาก
การสลายตัวของไซโตไคนิน
ไซโตไคนินสามารถถูกทาลายโดยการออกซิเดชั่น ทาให้ side chain หลุดจากกลุ่มอะดีนีน ติดตามด้วย
การทางานของเอนไซม์ แซนทีนออกซิเดส (Xanthine Oxidase) ซึ่งสามารถออกซิไดซ์ พิวรีนเกิดเป็นกรด
ยูริค (Uric Acid) และกลายเป็นยูเรียไปในที่สุด อย่างไรก็ตามในใบพืชไซโตไคนินอาจจะถูกเปลี่ยนไปเป็น
กลูโคไซด์โดยน้าตาลกลูโคสจะไปเกาะกับตาแหน่งที่ 7 ของอะดีนีนเกิดเป็น7-กลูโคซีลไซโตไคนิน (7-
glucosylcyto- kinins) หน้าที่ของไซโตไคนิน กลูโคไซด์ ยังไม่ทราบแน่ชัดนัก อาจจะเป็น "detoxification"
ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทาง metabolism หรืออาจจะเป็นรูปที่ไซโตไคนินอาจจะถูกปลดปล่อยออกมาใน
บางสภาวะได้ จากการศึกษาโดยใช้ Radioactive BA พบว่าสามารถสลายตัวกลายเป็นกรดยูริกแล้วอาจจะ
รวมกับ RNA ได้
การเคลื่อนที่ของไซโตไคนิน
ยังไม่มีหลักฐานว่าเคลื่อนที่อย่างไรแน่ จากการทดลองพบว่าระบบรากเป็นส่วนสาคัญในการส่งไซโต
ไคนินไปยังใบ และป้ องกันการเสื่อมสลายของใบก่อนระยะอันสมควร เป็นหลักฐานที่สาคัญที่ชี้ให้เห็นว่า
ไซโตไคนินมีการเคลื่อนที่ขึ้นสู่ยอด ยิ่งไปกว่านั้นยังพบไซโตไคนินในท่อน้า ซึ่งมาจากระบบรากด้วย
ในทางตรงกันข้ามไซโตไคนินซึ่งพบที่ผลซึ่งกาลังเจริญเติบโตไม่เคลื่อนที่ไปส่วนอื่นเลย ในทานองเดียวกัน
จากการศึกษากับการให้ไซโตไคนินจากภายนอก เช่นให้ไคเนติน พบว่าจะไม่เคลื่อนย้ายเป็นเวลานาน แม้ว่า
สารอื่น ๆ จะเคลื่อนย้ายออกจากจุดนี้ก็ตาม มีหลักฐานจานวนมากชี้ให้เห็นว่าไซโตไคนินอาจจะเคลื่อนย้าย
ในรูปที่รวมกับสารอื่น ๆ เช่น น้าตาล (Ribosides หรือ glucosides) ซึ่งไซโตไคนินในรูปที่รวมกับน้าตาลนั้น
พบเสมอในท่อน้าท่ออาหาร
ในการให้ไฃโตไคนินกับตาข้างเพื่อกาจัด Apical dominance นั้น พบว่าไซโตไคนินจะไม่เคลื่อนที่
เลยเป็นระยะเวลานานมาก ในการทดลองกับ BA พบว่า BA สามารถเคลื่อนที่ผ่านก้านใบและมีลักษณะแบบ
Polar เหมือนกับออกซิน ในทุกการศึกษาพบว่า ไซโตไคนินในใบจะไม่เคลื่อนที่รวมทั้งในผลอ่อนด้วย
ส่วนผลของรากในการควบคุมการเจริญเติบโตของส่วนเหนือดินอาจจะอธิบายได้ถึงไซโตไคนินที่เคลื่อนที่
ในท่อน้า ซึ่งพบเสมอในการทดลองว่าไซโตไคนินสามารถเคลื่อนที่จากส่วนรากไปสู่ยอด แต่การเคลื่อนที่
แบบ Polar ยังไม่เป็นที่ยืนยันการเคลื่อนที่ของไซโตไคนินในพืชยังมีความขัดแย้งกันอยู่บ้าง
13
การหาปริมาณของไซโตไคนิน
1. ใช้ Tobacco callus test โดยให้ไซโตไคนินกระตุ้นการเจริญของ tobacco pith cell โดยการชั่ง
น้าหนักเนื้อเยื่อพืชที่เพิ่มขึ้น แต่เป็นวิธีที่ใช้เวลานาน
2. Leaf senescence test ไซโตไคนินทาให้คลอโรฟิลล์ไม่สลายตัวในแผ่นใบที่ลอยอยู่ในสารละลาย
ไซโตไคนินในที่มืด แล้วหาจานวนของคลอโรฟิลล์ที่เหลืออยู่ หลังจากลอยไว้3-4 วัน วิธีนี้ให้ผลไม่ดีเท่าวิธี
แรก
กลไกการทางานของไซโตไคนิน
ไซโตไคนินมีบทบาทสาคัญคือควบคุมการแบ่งเซลล์ และไซโตไคนินที่เกิดในสภาพธรรมชาตินั้น
เป็นอนุพันธ์ของอะดีนีนทั้งสิ้น ดังนั้นงานวิจัยเกี่ยวกับกลไกการทางานจึงมีแนวโน้มในความสัมพันธ์กับ
กรดนิวคลีอิค กลไกการทางานของไซโตไคนินยังไม่เด่นชัดเหมือนกับออกซิน และจิบเบอเรลลิน แต่ไซ
โตไคนินมีผลให้เกิดการสังเคราะห์ RNA และโปรตีนมากขึ้นในเซลล์พืช ผลการทดลองบางรายงานกล่าว
ว่า หลังจากให้ไซโตไคนินกับเซลล์พืชแล้วจะเพิ่มปริมาณของ m-RNA, t-RNA และ r-RNA
การศึกษากลไกการทางานของไซโตไคนิน ในช่วงทศวรรษ 1960 ได้เน้นไปในแง่ที่ว่าไซโตไคนิน
อาจจะส่งผลของฮอร์โมนผ่าน t-RNA บางชนิด เนื่องจากมีการค้นพบว่ามีกลุ่มไซโตไคนินปรากฏอยู่ร่วมกับ
t-RNA หลายชนิด ทั้ง t-RNA ของซีรีน (Serine) และไธโรซีน (Thyrosine) มีอะดีนีนเบสซึ่งมี side chain
และมีคุณสมบัติเป็นไซโตไคนินซึ่งมีประสิทธิภาพสูง ยิ่งไปกว่านั้นในกรณี อะดีนีนซึ่งมีคุณสมบัติของ
ไซโตไคนินจะอยู่ถัดจากแอนติโคดอน (Anticodon) ของ t-RNA จึงเป็นที่เชื่อกันว่าการปรากฏของไซโตไค
นินบน t-RNA อาจจะจาเป็นต่อการเกาะกันของโคดอน (Codon) และแอนติโคดอนระหว่าง m-RNA และt-
RNA บนไรโบโซม ซึ่งสมมุติฐานที่ว่าไซโตไคนินควบคุมกระบวนการ Translation ผ่านทาง t-RNA จึง
ได้รับความเชื่อกันมากในขณะนั้น
อย่างไรก็ตามสมมุติฐานนี้ ในเวลาต่อมาได้รับการวิจารณ์อย่างรุนแรง เช่นในการสังเคราะห์ t-RNA
ตามปกตินั้น อาจจะเกิดการเปลี่ยนรูปของเบส หลังจากที่มีโพลีนิวคลีโอไทด์ (Polynucleotide) แล้วซึ่ง
หมายความว่า side chain บนตาแหน่งที่ 6 ของอะดีนีนนั้นเกิดขึ้นหลังจากที่อะดีนีนได้อยู่บน t-RNA
เรียบร้อยแล้ว ซึ่งเป็นไปไม่ได้ที่ไคเนตินและซีเอตินหรือไซโตไคนินอื่นๆ จะเข้าร่วมกับ t-RNA ในรูปที่
เป็นโมเลกุลที่สมบูรณ์ หลักฐานอีกข้อที่ไม่สนับสนุนสมมุติฐานนี้คือ การพบว่า t-RNA ของเมล็ดข้าวโพด
ซึ่งมีซีส-ซีเอติน (Cis-Zeatin) ในขณะที่ไซโตไคนินที่เกิดในธรรมชาติในเมล็ดเดียวกันเป็นทรานส์-ซีเอติน
(trans-Zeatin) ดังนั้นจึงเป็นการยากที่จะเชื่อว่าไซโตไคนินเป็นสารเริ่มต้นของการสังเคราะห์ t-RNA
14
แม้ว่างานทดลองจะยังสับสนและขัดแย้งกัน แต่โดยทั่วไปการรวมของไซโตไคนินเข้าไปใน t-RNA นั้น
เกิดในอัตราที่ต่ามากจนไม่น่าเชื่อสมมุติฐานดังกล่าว
งานวิจัยได้เปลี่ยนแนวและสนับสนุนว่าไซโตไคนินอาจจะทางานโดยควบคุมกิจกรรมของเอนไซม์
โดยตรงมากกว่าที่จะเกี่ยวกับการสังเคราะห์เอนไซม์ ไซโตไคนินมีอิทธิพลต่อเอนไซม์หลายชนิด เช่น
ไคเนส (Kinases) ที่ใช้ในกระบวนการหายใจ นอกจากนั้นกิจกรรมของเอนไซม์ที่ใช้ในกระบวนการ
สังเคราะห์แสงก็เพิ่มขึ้น
ผลของไซโตไคนิน
1. กระตุ้นให้เกิดการแบ่งเซลล์และการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพใน tissue culture โดยต้องใช้
ร่วมกับ Auxin ในการเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชนั้นหากให้ฮอร์โมน ไซโตไคนินมากกว่าออกซิน จะทาให้
เนื้อเยื่อนั้นเจริญเป็น ตา ใบ และลาต้น แต่ถ้าหากสัดส่วนของออกซินมากขึ้นกว่าไซโตไคนินจะทาให้
เนื้อเยื่อนั้นสร้างรากขึ้นมา การ differentiate ของตาในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจาก Callus จากส่วนของลาต้น
นั้น auxin จะระงับ และไซโตไคนินนั้นจะกระตุ้นการเกิด และต้องมีความสมดุลระหว่างไซโตไคนินและอ
อกซินชิ้นเนื้อเยื่อจึงจะสร้างตาได้
2. ชะลอกระบวนการเสื่อมสลาย เช่น กรณีของใบที่เจริญเต็มที่แล้วถูกตัดออกจากต้น คลอโรฟิลล์
RNA และโปรตีนจะเริ่มสลายตัวเร็วกว่าใบที่ติดอยู่กับต้น แม้จะมีการให้อาหารกับใบเหล่านี้ก็ตาม ถ้า
หากเก็บใบเหล่านี้ไว้ในที่มืดการเสื่อมสลายยิ่งเกิดเร็วขึ้น อย่างไรก็ตามหากใบเหล่านี้เกิดรากขึ้นที่โคนใบ
หรือก้านใบ จะทาให้การเสื่อมสลายเกิดช้าลง เพราะไซโตไคนินผ่านขึ้นมาจากรากทางท่อน้า อย่างไรก็ตาม
การให้ไซโตไคนินกับใบพืชเหล่านี้จะชะลอการเสื่อมสลายได้เหมือนกับรากเช่นกัน นอกจากนั้นไซโตไค
นินยังทาให้มีการเคลื่อนย้ายอาหารจากส่วนอื่นมายังส่วนที่ได้รับไซโตไคนินได้ เช่น กรณีของใบอ่อนซึ่งมี
ไซโตไคนินมากกว่าใบแก่จะสามารถดึงอาหารจากใบแก่ได้
ในกรณีเชื้อราที่ทาให้เกิดโรคราสนิม ซึ่งทาให้เกิดการตายของเนื้อเยื่อแล้วบริเวณเนื้อเยื่อที่ตายจะ
เกิดสีเขียวล้อมรอบขึ้นมาซึ่งบริเวณสีเขียวนี้มีแป้ งสะสมมากแม้กระทั่งส่วนอื่นๆ ของใบตายไปแล้ว
ส่วนสีเขียวอาจจะยังคงอยู่ ลักษณะนี้เรียกว่า Green Island ซึ่งบริเวณนี้จะมีไซโตไคนินสูง คาดว่าเชื้อรา
สร้างขึ้นมาเพื่อดึงอาหารมาจากส่วนอื่น
3. ทาให้ตาข้างแตกออกมาหรือกาจัดลักษณะ Apical Dominance ได้ การเพิ่มไซโตไคนินให้กับตา
ข้างจะทาให้แตกออกมาเป็นใบได้ ทั้งนี้เพราะตาข้างจะดึงอาหารมาจากส่วนอื่นทาให้ตาข้างเจริญได้
15
เชื้อจุลินทรีย์บางชนิดสามารถสร้างไซโตไคนินกระตุ้นให้พืชเกิดการแตกตาจานวนมากมีลักษณะผิดปกติ
เช่น โรค Fascination นอกจากนั้นยังเร่งการแตกหน่อของพืช เช่น บอน และโกสน
4. ทาให้ใบเลี้ยงคลี่ขยายตัว กรณีเมล็ดของพืชใบเลี้ยงคู่งอกในความมืด ใบเลี้ยงจะเหลืองและเล็ก
เมื่อได้รับแสงจึงจะขยายตัวขึ้นมา ซึ่งเป็นการควบคุมของไฟโตโครม แต่ถ้าหากให้ไซโตโคนินโดยการตัด
ใบเลี้ยงมาแช่ในไซโตไคนิน ใบเลี้ยงจะคลี่ขยายได้เช่นกัน ลักษณะดังกล่าวพบกับ แรดิช ผักสลัด และ
แตงกวา ออกซินและจิบเบอเรลลินจะไม่ให้ผลดังกล่าว
5. ทาให้เกิดการสร้างคลอโรพลาสต์มากขึ้น ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพอย่างหนึ่ง เช่น
เมื่อ Callus ได้รับแสงและไซโตไคนิน Callus จะกลายเป็นสีเขียว เพราะพลาสติคเปลี่ยนเป็นคลอโรพ
ลาสต์ได้ โดยการเกิดกรานาจะถูกกระตุ้นโดยไซโตไคนิน
6. ทาให้พืชทั้งต้นเจริญเติบโต
7. กระตุ้นการงอกของเมล็ดพืชบางชนิด
16
บทที่ 3
วิธีการดาเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. กระถางต้นไม้พร้อมดิน
2. ช้อนปลูก
3. ต้นหนุมานประสานกาย 9 ต้น
4. ฮอร์โมนไซโตไคนิน
5. ขวดน้าขนาด 1 ลิตร 2 ขวด
6. ฟ้อกกี้ 3 อัน
7. กระบอกฉีดยา
8. สมุดจดบันทึก
9. ปากกาถาวร (Permanent Pen)
10. กาบมะพร้าว
กระถางต้นไม้พร้อมดิน ช้อนปลูก ต้นหนุมานประสานกาย
ฮอร์โมนไซโตไคนิน ขวดน้าขนาด 1 ลิตร กระบอกฉีดยา
ฟ้อกกี้ สมุดจดบันทึก กาบมะพร้าว ปากกาถาวร
17
ขั้นตอนการทาโครงงาน
1. ประชุมวางแผนคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ ซึ่งคือ การศึกษาการทางานของฮอร์โมนไซโตไคนินที่
มีผลต่อต้นหนุมานประสานกาย
2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานดังนี้
2.1. ลักษณะโดยทั่วไปของต้นหนุมานประสานกาย
2.2. การทางานของฮอร์โมนไซโตไคนิน
2.3. ผลของฮอร์โมนไซโตไคนินต่อพืช
2.4. ลักษณะทั่วไปของฮอร์โมนพืช
2.5. สรรพคุณของต้นหนุมานประสานกาย
3. เลือกร้านต้นไม้ที่มีต้นไม้ให้เราเลือกได้เพื่อที่จะได้เลือกต้นหนุมานประสานกายให้มีความสูงที่
พอเหมาะเท่ากันทุกต้น เพื่อมาทาการทดลอง
4. วางแผนรายละเอียดการทดลองว่าควรทาอย่างไรบ้างเป็นขั้นตอน
5. หาสถานที่ที่มีแสงที่เหมาะสมและมีที่กาบังพอเผื่อวันฝนตกหนัก เพื่อที่จะเป็นสถานที่ในการวาง
กระถางต้นไม้เพื่อทาการทดลอง
6. จัดทาเค้าโครงโครงงาน เพื่อนาเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อนาไปปรับปรุงและแก้ไข
7. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทาการทดลองผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีผลต่อต้นหนุมานประสาน
กาย
7.1.1.ต้นหนุมานประสานกาย 9 ต้น
7.1.2. สมุดจดบันทึก
7.1.3.กระถางพร้อมดิน 9 กระถาง
7.1.4. ช้อนปลูก
7.1.5. เข็มฉีดยา
7.1.6. ฮอร์โมนไซโตไคนิน
7.1.7. ขวดน้าขนาด 1 ลิตร 2 ขวด
7.1.8. ฟ้อกกี้ 3 อัน
7.1.9. ปากกาถาวร (Permanent Pen)
7.1.10. กาบมะพร้าว
8. ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง
8.1 นาต้นหนุมานประสานกายมาใส่ในกระถางอย่างละต้นโดยที่มีดินอยู่พอสมควรและมีกาบมะพร้าว
รองอยู่ที่ก้นกระถาง เพื่อทาให้เวลารดน้าจะได้ไม่ไหลออก
18
8.2 นาดินกลบให้พอเหมาะกับต้นไม้โดยใช้ช้อนปลูก
8.3 แยกต้นไม้เป็นสามกลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม High dose Low dose และ Control แบ่งเป็นกลุ่มละสามต้น
8.4 ใช้เข็มฉีดยาดูดฮอร์โมนขึ้นมา 10 ml ผสมกับน้า 1 L ได้สารละลายฮอร์โมนกลุ่ม high Dose
8.5 ใช้เข็มฉีดยาดูดฮอร์โมนขึ้นมา 5 ml ผสมกับน้า 1 L ได้สารละลายฮอร์โมน กลุ่ม Low Dose
8.6 เทน้าแต่ละขวดที่ผสมฮอร์โมนเรียบร้อยแล้วลงในฟ้ อกกี้ทั้งสองขวดที่ติดป้ายความเข้มข้น
8.7 ฟ้อกกี้อันสุดท้ายใส่น้าเปล่า หรือ ฮอร์โมน 0% เป็นชุด control
8.8 รดน้าต้นไม้และฉีดฮอร์โมนทุกวัน
8.9 คอยสังเกตผลทุกๆ 7 วัน และใช้ปากกาถาวรขีดใบนับใบใหม่ที่เกิดขึ้น
9. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เป็นระยะเวลาตามที่กาหนด
10. จัดทาเอกสารเป็นรูปเล่มโครงงานให้สมบูรณ์
11. จัดทาสื่ออภิปรายแสดงผลการทดลอง
12. นาเสนอโครงงาน
ภาพที่ 1 แสดงการจัดกระถางต้นไม้ ภาพที่ 2 แสดงการฉีดฮอร์โมน
ภาพที่ 3 แสดงการนับจานวนใบที่เกิดใหม่ ภาพที่ 4 อ.ที่ปรึกษาโครงงานตรวจสอบงาน
19
วิธีการเก็บข้อมูล
• เก็บข้อมูลจานวนใบที่เพิ่มขึ้นในรูปแบบตารางทุกๆ 7 วัน โดยเริ่มเก็บข้อมูลวันที่ 26 พ.ค. 2560
• เมื่อมีการแตกใบเกิดขึ้นใช้ปากกา permanent ขีดทาเครื่องหมายที่ใบใหม่เพื่อเป็นการนับจานวนว่า
ในแต่ละครั้งมีจานวนเพิ่มขึ้นเท่าไหร่ ครั้งต่อไปที่มานับจะได้ไม่ทาการนับซ้าใบเดิมที่มีอยู่แล้ว โดย
ตารางเก็บผลการทดลอง
20
บทที่ 4
ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง
วันที่บันทึก
ผล
จานวนใบใหม่ (ใบ) หมายเหตุ
Low Dose
(0.005% v/v) ค่า
เฉลี่ย
High Dose
(0.01% v/v) ค่า
เฉลี่ย
Control
(0% v/v) ค่า
เฉลี่ย1 2 3 1 2 3 1 2 3
26 พ.ค 60 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0
2 มิ.ย. 60 4 7 4 5 6 6 16 9.3 5 4 4 4.3
8 มิ.ย. 60 12 15 10 12.3 18 20 24 20.6 7 11 12 10
16 มิ.ย. 60 14 22 14 16.6 26 25 33 28 7 9 16 10.6
23 มิ.ย. 60 15 23 15 17.6 29 28 36 31 9 11 16 12
30 มิ.ย. 60 16 24 16 18.6 20 29 38 29 9 14 10 11 กลุ่ม control ต้นที่ 3
และ กลุ่ม high dose ต้น
ที่ 2 มีการหักของกิ่ง
7 ก.ค. 60 19 25 19 21 26 30 40 32 9 16 15 13.3
14 ก.ค. 60 20 27 19 22 27 30 46 34.3 9 18 17 14.6
28 ก.ค. 60 22 29 21 24 32 31 55 39.3 9 23 19 17
เฉลี่ย
จานวนใบ
แต่ละต้นที่
เพิ่มขึ้นใน
แต่ละครั้ง
2.4 3.2 2.3 2.6 3.5 3.4 6.1 4.3 1 2.5 2.1 1.8
21
กราฟแท่งแสดงผลการทดลอง
กราฟเส้นแสดงผลการทดลอง
0
5
10
15
20
25
30
35
40
45
ครั้งที่ 1 26/5 ครั้งที่ 2 2/6 ครั้งที่ 3 8/6 ครั้งที่ 4 16/6 ครั้งที่ 5 23/6 ครั้งที่ 6 30/6 ครั้งที่ 7 7/7 ครั้งที่ 8 14/7 ครั้งที่ 9 28/7
ชื่อแผนภูมิ
Low Dose High Dose Control
0
10
20
30
40
50
60
26-พ.ค. 2-มิ.ย. 9-มิ.ย. 16-มิ.ย. 23-มิ.ย. 30-มิ.ย. 7-ก.ค. 14-ก.ค. 21-ก.ค. 28-ก.ค.
ชื่อแผนภูมิ
high ต้นที่ 1 high ต้นที่ 2 high ต้นที่ 3 low ต้น 1 low ต้น 2
low ต้น 3 control 1 control 2 control 3
22
วิเคราะห์ผลการทดลอง
จากการทดลอง จะสังเกตเห็นได้ว่า ต้นหนุมานประสานกายที่ได้รับการรดน้าด้วยน้าที่มีฮอร์โมนไซโต
ไคนินอยู่นั้น จะมีจานวนใบที่แตกอ่อนเพิ่มขึ้นมากกว่าต้นที่ไม่ได้ทาการรดด้วยน้าผสมฮอร์โมน โดยต้นที่
ได้รับการรดน้าด้วยน้าที่ผสมกับฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีความเข้มข้น 0.01%v/v นั้น มีจานวนใบที่แตก
ออกมามากกว่าต้นที่ได้รับการรดน้าด้วยน้าที่ผสมกับฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีความเข้มข้น 0.05%v/v จาก
การทดลอง สามารถวิเคราะห์ได้ว่า ฮอร์โมนไซโตไคนินนั้นมีผลต่อการแตกใบใหม่ของต้นหนุมานประสาน
กาย โดยที่ถ้ารดด้วยน้าที่ผสมด้วยฮอร์โมนไซโตไคนินมาก ก็จะทาให้ยิ่งมีจานวนใบใหม่ที่แตกออกมาเพิ่ม
มากขึ้น
23
บทที่ 5
สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
สรุปผลการทดลอง
จากการศึกษาการทดลองของ Skoog และ Steward ในปี1950ซึ่งได้ทาการทดลองในสหรัฐอเมริกาโดย
ศึกษาความต้องการของสิ่งที่ใช้ในการเจริญเติบโตของกลุ่มก้อนเซลล์ซึ่งเป็นเซลล์ที่แบ่งตัวอย่างรวดเร็วแต่
ไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพเกิดขึ้นโดยได้ทาการทดลองกับ pitch จากยาสูบและรากแครอท ผลการ
ทดลองนี้ทาให้ทราบว่า ฮอร์โมนไซโตไคนินเป็นฮอร์โมนที่มีผลต่อการแบ่งเซลล์ของพืช อีกทั้งฮอร์โมนไซ
โตไคนิยังควบคุมการเจริญเติบโตของตาข้างและการเกิดใบ คณะผู้วิจัยจึงได้ทาการทดลองเพื่อศึกษาผลของ
ฮอร์โมนไซโตไคนินต่อการแตกใบของต้นหนุมานประสานกาย โดยเริ่มจากการ นาต้นหนุมานประสานกาย
อายุ 7 เดือน จานวน 9 ต้นซึ่งมีลักษณะทางกายภาพที่เหมือนกัน ฉีดฮอร์โมนไซโตไคนินในความเข้มข้น
ต่างกัน คือ 0.01 %v/v ( high dose) , 0.005%v/v ( low dose) และ 0%v/v ( control) แล้วปล่อยให้เจริญเติบโต
ในสภาพแวดล้อมที่จัดไว้ ทาการนับจานวนใบที่แตกเพิ่มทุกๆ 7 วัน และบันทึกผล จากผลการทดลอง
สามารถสรุปได้ว่า สัดส่วนของฮอร์โมนไซโตไคนินมีผลต่อการแตกใบของต้นหนุมานประสานกายในทาง
ที่ positive กล่าวคือ สัดส่วนของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มากขึ้น จะมีผลให้การแตกใบของต้นหนุมาน
ประสานกายมากยิ่งขึ้นด้วย ซึ่งเป็นผลมาจาก การถูกกระตุ้นการแบ่งเซลล์และแตกตาของพืชหลังจากได้รับ
ฮอร์โมนชนิดนี้
ข้อเสนอแนะ
มีปัญหาเรื่องสภาพภูมิอากาศและในเรื่องของเวลาในการดูแลพืช โดยในขณะทาการทดลองนั้นเป็นช่วงที่
สภาพอากาศค่อนข้างแปรปรวน ฝนตกหนัก จึงมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช อีกทั้ง ยังทาให้ต้นพืช
เสียหาย เช่น โค่นล้ม กิ่งพืชหัก ซึ่งเป็ นอุปสรรคต่อการสังเกตผลการทดลอง ทางคณะผู้วิจัยจึงมี
ข้อเสนอแนะให้ควรมีการเปลี่ยนแปลงเวลาในการทาการทดลอง หรือ ศึกษาสภาพอากาศก่อนทาการทดลอง
ในส่วนของสิ่งที่ควรศึกษาเพิ่มเติมคือ ผลของฮอร์โมนพืช กลุ่ม overdose ว่ามีผลต่อพืชอย่างไร เนื่องจาก
ผลการวิจัยส่วนใหญ่จะกล่าวถึง สัดส่วนที่มากขึ้นขอฮอร์โมนพืช ส่งผลให้พืชเจริญเติบโตได้ดีขึ้น แต่ยังไม่มี
การวิจัยที่ชี้ชัดว่า ฮอร์โมนของพืชที่มากเกินไป มีผลต่อพืชอย่างไรในทางการเจริญเติบโต คณะผู้วิจัยมีคาม
เห็นว่าเป็นสิ่งที่น่าสนใจและควรศึกษา จึงควรมีการเพิ่มเติมในการทาการทดลองในครั้งต่อไป
24
บรรณานุกรม
แหล่งเรียนรู้ข้อมูลสมุนไพร.2560.หนุมานประสานกาย.(ออนไลน์).แหล่งที่มา http://thaiherbal.org/888/888
30 กรกฎาคม 2560
รศ.ดร.ดนัย บุณยเกียรติ 2560 .ไซโตไคนิน.(ออนไลน์)แหล่งที่มา
http://web.agri.cmu.ac.th/hort/course/359311/PPHY10_hormone.htm . 30กรกฎาคม 2560
25
ภาคผนวก
ภาพที่ 1 แสดงขั้นตอนการฉีดฮอร์โมนพืช
ภาพที่ 2 อ.ที่ปรึกษาโครงงาน ตรวจสอบความก้าวหน้าของโครงงาน
26
ภาพที่ 3 อ.ที่ปรึกษาโครงงานตรวจสอบความก้าวหน้าของงาน
ภาพที่ 4 แสดงใบที่แตกใหม่ของต้นหนุมานประสานกาย

More Related Content

What's hot

ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองWan Ngamwongwan
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าChok Ke
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....Z-class Puttichon
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กBenz Paengpipat
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์K.s. Mam
 
โครงงานคอม เรื่อง ผลไม้แปรรูปจังหวัดระยอง
โครงงานคอม เรื่อง ผลไม้แปรรูปจังหวัดระยองโครงงานคอม เรื่อง ผลไม้แปรรูปจังหวัดระยอง
โครงงานคอม เรื่อง ผลไม้แปรรูปจังหวัดระยองPeerawat Prasanphanich
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57Chok Ke
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนพัน พัน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFWichitchai Buathong
 
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพรสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพรminmint
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่Thunrada Sukkaseam
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด O-SOT Kanesuna POTATO
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยFreesia Gardenia
 
แบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋ว
แบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋วแบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋ว
แบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋วWongsathorn Kanyaengpan
 

What's hot (20)

ระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลืองระบบน้ำเหลือง
ระบบน้ำเหลือง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่าโครงงานวิทยาศาสตร์  ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
โครงงานวิทยาศาสตร์ ประดิษฐ์ของใช้จากเมล็ดมะค่า
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
 
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้กจานรองแก้วกระป๋องโค้ก
จานรองแก้วกระป๋องโค้ก
 
ราก (Root)
ราก (Root)ราก (Root)
ราก (Root)
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์
ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีของผลิตภัณฑ์พอลิเมอร์
 
โครงงานคอม เรื่อง ผลไม้แปรรูปจังหวัดระยอง
โครงงานคอม เรื่อง ผลไม้แปรรูปจังหวัดระยองโครงงานคอม เรื่อง ผลไม้แปรรูปจังหวัดระยอง
โครงงานคอม เรื่อง ผลไม้แปรรูปจังหวัดระยอง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย  57
โครงงานวิทยาศาสตร์ กระติบข้าวเก็บความร้อน 17 ก.ย 57
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
 
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียนโครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
โครงงานเรื่อง การศึกษาต้นไม้ในโรงเรียน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDFโครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร PDF
 
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพรสเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
สเปรย์สมุนไพรปรับอากาศจากสมุนไพร
 
คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่คำนำไอเอสใหม่
คำนำไอเอสใหม่
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด เรื่อง  เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
เรื่อง เปลือกผลไม้พื้นบ้านกับน้ำยาลบคำผิด
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
 
แบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋ว
แบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋วแบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋ว
แบบเสนอโครงงานร่างโครงงานต้นกระบองเพชรจิ๋ว
 

Similar to Plant hor 3_77_60 (20)

Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
M6 78 60_9
M6 78 60_9M6 78 60_9
M6 78 60_9
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
 
M6 126 60_6
M6 126 60_6M6 126 60_6
M6 126 60_6
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
Herbarium g2 332
Herbarium g2 332Herbarium g2 332
Herbarium g2 332
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
 
M6 78 60_6
M6 78 60_6M6 78 60_6
M6 78 60_6
 
M6 78 60_2
M6 78 60_2M6 78 60_2
M6 78 60_2
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
932 pre6
932 pre6932 pre6
932 pre6
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815
 
M6 125 60_5
M6 125 60_5M6 125 60_5
M6 125 60_5
 
Chongkho
ChongkhoChongkho
Chongkho
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant hor 3_77_60

  • 1. 1 โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีต่อจานวนใบใหม่ของต้นหนุมานประสานกาย สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. น.ส. พรรณชนก ลีลาสวัสดิ์ เลขที่ 10 2. น.ส. พัชรญา ปานย้อย เลขที่ 13 3. นาย ณัฐชนน ธีระรัตนนุกูลชัย เลขที่ 27 4. นาย ภานุวัฒน์ ดุพงษ์ เลขที่ 34 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 77 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
  • 2. 2 บทคัดย่อ ในปัจจุบัน เกษตรกรทั่วไปนิยมใช้ฮอร์โมนในการเร่งการเจริญเติบโตของต้นไม้หรือผลผลิตทาง การเกษตรของตนเอง ซึ่งหนึ่งในฮอร์โมนที่ใช้อย่างแพร่หลายคือฮอร์โมนไซโตไคนิน จากการศึกษาข้อมูล ของฮอร์โมนไซโตไคนิน คณะผู้จัดทาโครงงานจึงเกิดความสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับ ผลของฮอร์โมน ไซโต- ไคนินต่อจานวนใบที่เกิดใหม่ของต้นหนุมานประสานกาย และ เพื่อเปรียบเทียบผลของความเข้มข้นที่ แตกต่างกันต่อการเกิดใบใหม่ของต้นหนุมานประสานกาย จึงเกิดเป็นโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชครั้งนี้ จากการศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไคนินต่อต้นหนุมานประสานกายโดยมีตัวแปรต้นคือฮอร์โมนไซโต ไคนินซึ่งมีความเข้มข้นต่างกัน ประกอบด้วยชุดควบคุม และชุดทดลอง 3 ชุด คือ ชุดที่ฮอร์โมนมีความ เข้มข้นต่า(low dose) ชุดที่ฮอร์โมนมีความเข้มข้นสูง(high dose ) และชุดควบคุม(control) จากผลการ ทดลองพบว่าฮอร์โมนไซโตไคนินมีผลต่อการเกิดใบใหม่ของต้นหนุมานประสานกาย โดยชุดที่มีฮอร์โมน ความเข้มข้นสูง (high dose ) มีจานวนใบแตกใหม่มากที่สุด
  • 3. 3 กิตติกรรมประกาศ โครงงานการทดลองฮอร์โมนเรื่องการศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีต่อจานวนใบใหม่ของ ต้นหนุมานประสานกายจะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจากครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ครูประจารายวิชาชีววิทยา (ว 30245) ที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่างๆ และให้คาแนะนาเกี่ยวกับโครงงาน คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา
  • 4. 4 สารบัญ หน้า บทคัดย่อ กิตติกรรมประกาศ บทที่ 1 บทนา 5 - ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 5 - สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 5 - ที่มาและความสาคัญ 5 - ปัญหาการทาโครงงาน 5 - สมมติฐานการทดลอง 5 - วัตถุประสงค์ของโครงงาน 5 - ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 6 - ขอบเขตการทดลอง 6 - ตัวแปรการทดลอง 6 - ระยะเวลาในการทดลอง 6 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 7 - ต้นหนุมานประสานกาย 7 - ฮอร์โมนพืช 9 - ฮอร์โมนไซโตไคนิน 10 บทที่ 3 การดาเนินงาน 16 - วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 16 - ขั้นตอนการทาโครงงาน 17 - วิธีการเก็บข้อมูล 19 บทที่ 4 ผลการทดลอง 20 - ตารางบันทึกผลการทดลอง 20 - กราฟแท่งแสดงผลการทดลอง 21 - กราฟเส้นแสดงผลการทดลอง 22 บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง 23 - ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 23 บรรณานุกรม 24 ภาคผนวก 25
  • 5. 5 บทที่ 1 บทนา ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีผลต่อการเกิดใบของต้นหนุมานประสานกาย สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. น.ส. พรรณชนก ลีลาสวัสดิ์ เลขที่ 10 2. น.ส. พัชรญา ปานย้อย เลขที่ 13 3. นาย ณัฐชนน ธีระรัตนนุกูลชัย เลขที่ 27 4. นาย ภานุวัฒน์ ดุพงษ์ เลขที่ 34 อาจารย์ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่มาและความสาคัญ ในปัจจุบัน เกษตรกรทั่วไปนิยมใช้ฮอร์โมนในการเร่งการเจริญเติบโตของต้นไม้หรือผลผลิตทาง การเกษตรของตนเอง ซึ่งหนึ่งในฮอร์โมนที่ใช้อย่างแพร่หลายคือฮอร์โมนไซโตไคนิน ฮอร์โมนไซโตไคนิน จากการศึกษาข้อมูลของฮอร์โมน พบว่าฮอร์โมนไซโตไคนินนั้นเป็นฮอร์โมนที่ช่วยกระตุ้นการแตกตาและ การแตกใบใหม่ได้ดี คณะผู้จัดทาโครงงานเกิดความสนใจที่จะศึกษาเกี่ยวกับผลของฮอร์โมนไซโตไคนินต่อ จานวนใบที่เกิดใหม่ของต้นหนุมานประสานกาย และ เพื่อเปรียบเทียบผลของความเข้มข้นที่แตกต่างกันต่อ การเกิดใบใหม่ของต้นหนุมานประสานกายจึงเกิดเป็นโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชครั้งนี้ คณะผู้จัดทา โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมีประโยชน์ต่อผู้ทาการเกษตรและผู้ ที่สนใจในการศึกษาในอนาคตต่อไป คาถามการทาโครงงาน สารละลายฮอร์โมนไซโตไคนินมีผลต่อการเกิดใบใหม่ของต้นหนุมานประสานกายหรือไม่และความเข้มข้น ของฮอร์โมนมีความสัมพันธ์ต่อการเกิดใบอย่างไร สมมติฐานการทดลอง 1.ถ้าฮอร์โมนไซโตไคนินมีผลต่อการแตกใบใหม่ของต้นหนุมานประสานกาย ดังนั้นต้นหนุมานประสาน กายที่ได้รับฮอร์โมน จะมีจานวนใบแตกใหม่ มากกว่า ชุดที่ไม่ได้รับฮอร์โมน 2.ถ้าฮอร์โมนไซโตไคนินที่ความเข้มข้น 0.01% v/v มีผลต่อการแตกใบใหม่ของพืชมากที่สุด ดังนั้น สารละลายฮอร์โมนไซโตไคนิน ที่ความเข้มข้น 0.01% v/v จะทาให้ต้นหนุมานประสานกายมีจานวนใบใหม่ มากที่สุด
  • 6. 6 วัตถุประสงค์ของการทดลอง 1. เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนไซโตไคนินต่อจานวนใบใหม่ของต้นหนุมานประสานกาย 2. เพื่อเปรียบเทียบผลของความเข้มข้นที่แตกต่างกันต่อการเกิดใบใหม่ของต้นหนุมานประสานกาย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับความรู้เกี่ยวกับผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีต่อการเกิดใบใหม่ของต้นหนุมาน ประสานกาย 2. สามารถเปรียบเทียบผลของความเข้มข้นที่แตกต่างกันต่อการเกิดใบใหม่ของต้นหนุมาน ประสานกาย ขอบเขตการทดลอง การทาโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะจานวนใบใหม่ของต้นหนุมานประสาน กายโดยศึกษาจากกลุ่มการทดลอง 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม High Dose (0.01% v/v) , กลุ่ม Low Dose (0.005% v/v)และกลุ่มควบคุม (0% v/v) กลุ่มละ 3 ต้น รวม 9 ต้น ตัวแปรการทดลอง ตัวแปรต้น คือ ฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีความเข้มข้นต่างกัน ตัวแปรตาม คือ จานวนใบใหม่ของต้นหนุมานประสานกาย ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณดิน การได้รับแสง อุณหภูมิ ปริมาณการให้ฮอร์โมนและการรดน้า ระยะเวลาในการทาโครงงาน 26 พฤษภาคม2560 ถึง 28 กรกฎาคม2560
  • 7. 7 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ในการจัดทาโครงงานวิทยาศาสตร์ครั้งนี้ ผู้จัดทาโครงงานได้ศึกษาเอกสารและจากเว็บไซต์ต่างๆที่ เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้ 2.1. ต้นหนุมานประสานกาย 2.2. ฮอร์โมนพืช 2.3.ฮอร์โมนไซโตไคนิน 2.1. ต้นหนุมานประสานกาย ชื่อสมุนไพร : หนุมานประสานกาย ชื่อเรียกอื่นๆ : ว่านอ้อยช้าง และ ชิดฮะลั้ง (จีน) ชื่อวิทยาศาสตร์ :Schefflera leucantha R. Vig. ชื่อสามัญ :Edible-stemed Vine วงศ์ :ARALIACEAE ลักษณะสมุนไพร : หนุมานประสานกายเป็นไม้พุ่มที่ไม่สูงมาก สูงเพียง 1-2 เมตร แตกกิ่งก้านต่า ใกล้พื้นดิน ผิวลาต้นค่อนข้างเรียบเกลี้ยงเป็นสีน้าตาล ใบเป็นใบประกอบสีเขียวออกเรียงสลับแบบนิ้วมือ มี
  • 8. 8 ใบย่อย 7-8 ใบ ลักษณะรูปยาวรี กว้าง 1.5-3 ซม. ยาว 5-8 ซม. โคนใบแหลมมีหูใบซึ่งจะติดอยู่กับก้านใบ พอดี ปลายใบเรียวแหลม ขอบใบและแผ่นใบเรียบ แผ่นใบเป็นมัน ก้านใบย่อยยาว 8 – 25 มม. ดอกมีสีขาว นวลออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ยาวประมาณ 3 – 5 นิ้ว ลักษณะของดอกย่อย เป็นดอกสีเขียว มีขนาดเล็ก ก้านช่อ ดอกยาวประมาณ 3 – 7 มม. ผลมีลักษณะรูปทรงกลมคล้ายรูปไข่ มีเนื้อ อวบน้า ขนาดเล็ก ความยาวประมาณ 5 – 6 มม. กว้างประมาณ 4 – 5 มม. ผลอ่อนมีสีเขียว เมื่อแก่หรือสุกเต็มที่จะเปลี่ยนเป็นสีแดงสดเหมือนสี เหล้าองุ่น ส่วนที่นามาใช้ประโยชน์ : ราก, ใบ, ยอดอ่อน และ ทั้งต้น สรรพคุณทางยา - รากรักษาแผลสด - ใบ รักษาโรคมะเร็ง ขับเสมหะ รักษาวัณโรค แก้ไอ แก้อาเจียนเป็นเลือด ห้ามเลือด สมานแผล แก้อักเสบบวม แก้คออักเสบ แก้โรคปอด - ยอดอ่อน รักษาโรคหอบหืด โรคแพ้อากาศ รักษาโรคหลอดลมอักเสบแก้ช้าใน แก้เส้นเลือด ฝอยในสมองแตก กระจายเลือดลมที่จับกันเป็นก้อนหรือคั่งภายใน - ทั้งต้น รักษาโรคกระเพาะอาหารและลาไส้ วิธีการใช้ - รักษาแผลสด นายางมาใช้ใส่แผลสด ทาให้แผลแห้งเร็วขึ้น - รักษาโรคหอบหืด โรคแพ้อากาศ รักษาโรคหลอดลมอักเสบแก้ช้าใน แก้เส้นเลือดฝอยแตกใน สมอง กระจายเลือดลม นายอดอ่อนประมาณ 5-10 ช่อ ต้มกับน้า 2 แก้วให้เหลือ 1 แก้ว ดื่มเช้า เย็นก่อนอาหาร - รักษาวัณโรค แก้โรคปอด นาใบสดเล็กๆ 9 ใบ ต้มกับน้า 3 ถ้วยแก้ว เคี่ยวให้เหลือ 1 ถ้วยแก้ว รับประทานวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า-เย็น เป็นเวลา 60 วัน แล้ว x-ray ตรวจสอบอีกครั้ง หากพบว่าปอดมีอาการดีขึ้นแล้วให้รับประทานต่อเนื่องอีกระยะหนึ่ง - ยาแก้ไอ ขับเสมหะ แก้คออักเสบ นาใบสดประมาณ 10 ช่อมาตาให้ละเอียด คั้นเอาแต่น้าผสม กับเหล้าขาว ดื่มรับประทาน - แก้อาเจียนเป็นเลือด นาใบสด 12 ใบย่อย ตาคั้นน้า 2 ถ้วยตะไล รับประทานครั้งละ 1 ถ้วยตะไล ติดต่อกัน 5-7 วัน - ห้ามเลือด สมานแผลแก้อักเสบบวม นาใบสดมาตาพอกแผลสด - รักษาโรคกระเพาะอาหารและลาไส้ นาทั้งต้นมาต้ม ดื่มรับประทานทาให้เลือดลมเดินสะดวก
  • 9. 9 2.2. ฮอร์โมนพืช ฮอร์โมนพืชเป็นสารเคมีภายในพืชซึ่งเกี่ยวข้องกับการเจริญของพืชไม่เพียงแต่การเจริญของพืชทั้ง ต้นเท่านั้น หากแต่ยังเกี่ยวข้องกับการเจริญของพืชแต่ละส่วนด้วย ในปัจจุบันทราบกันดีแล้วว่าฮอร์โมนพืชมี ทั้งชนิดที่กระตุ้นการเจริญเติบโต และระงับการเจริญเติบโต ฮอร์โมนพืชที่พบในปัจจุบันคือออกซิน (Auxin) จิบเบอเรลลิน (Gibberellins) ไซโตไคนิน(Cytokinins) กรดแอบซิสิค (Abscisic Acid) หรือ ABA และ เอทธิลีน (Ethylene) ซึ่งมีสถานะเป็นก๊าซ ฮอร์โมนพืชสามารถเคลื่อนย้ายภายในต้นพืชได้และมีผลกระทบต่อการเจริญเติบโต การ เปลี่ยนแปลงทางคุณภาพและการพัฒนาของเนื้อเยื่อ และอวัยวะของพืชซึ่งได้รับฮอร์โมนนั้น ๆ คาว่า ฮอร์โมน นั้นเริ่มใช้โดยนักสรีรวิทยาของสัตว์ ซึ่งต่อมานักสรีรวิทยาของพืชได้นามาใช้กับสารประกอบ อินทรีย์ ซึ่งสามารถมีผลกระทบในปริมาณที่น้อยมาก โดยพืชจะสังเคราะห์ที่ส่วนหนึ่งแล้วเคลื่อนย้ายไปยัง อีกส่วนหนึ่ง และมีผลต่อกระบวนการทางสรีรวิทยาที่ค่อนข้างเฉพาะเจาะจง ดังนั้นในการศึกษาทางด้าน ฮอร์โมนจึงมักศึกษาในแง่ของแหล่งและกระบวนการสังเคราะห์ การเคลื่อนที่และเคลื่อนย้าย และปฏิกิริยา ของฮอร์โมนที่มีต่อพืช สารควบคุมการเจริญเติบโต (Plant Growth Regulator) เป็นสารเคมีที่สาคัญในการเกษตร เป็น สารอินทรีย์ซึ่งมนุษย์สังเคราะห์ขึ้นมาได้ ซึ่งบางชนิดมีคุณสมบัติเหมือนฮอร์โมนพืช มนุษย์รู้จักการใช้สาร ควบคุมการเจริญเติบโตมานานแล้ว เช่น กระตุ้นให้มะม่วงหรือสับปะรดออกดอกโดยการจุดไฟข้างสวน เพื่อให้เกิดควันซึ่งมีเอทธิลีนปนอยู่ สามารถกระตุ้นให้เกิดการออกดอกได้ ถึงแม้ว่าในขณะนั้นจะยังไม่ ทราบสาเหตุที่แท้จริงก็ตาม การแสดงออกถึงลักษณะต่าง ๆ ของพืชจะเกิดจากพันธุกรรมและสภาพแวดล้อม ซึ่งรวมกับ ฮอร์โมนด้วย เช่น การปลูกผักกาดขาวปลีบางพันธุ์ในฤดูร้อน ผักกาดขาวปลีจะไม่เข้าหัว ฮอร์โมนบางชนิด สามารถกระตุ้นให้ผักกาดขาวปลีเข้าหัวได้ ซึ่งในกรณีนี้ฮอร์โมนจะทดแทนสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมได้ ในประเทศไทยการใช้ฮอร์โมนพืชมีวัตถุประสงค์ในทางการเกษตรเพื่อให้มีผลผลิต เพื่อเพิ่มผลผลิต และคุณภาพ และเพื่อความสะดวกในการจัดการฟาร์ม
  • 10. 10 2.3. ไซโตไคนิน การค้นพบฮอร์โมนในกลุ่มนี้เริ่มจากการศึกษาการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อ โดยในปี ค.ศ. 1920 Haberlandt ได้แสดงให้เห็นว่ามีสารชนิดหนึ่งเกิดอยู่ในเนื้อเยื่อพืชและกระตุ้นให้เนื้อเยื่อพาเรนไคมาใน หัวมันฝรั่งกลับกลายเป็นเนื้อเยื่อเจริญได้ ซึ่งแสดงว่าสารชนิดนี้สามารถกระตุ้นให้มีการแบ่งเซลล์ ต่อมามี การพบว่าน้ามะพร้าวและเนื้อเยื่อของหัวแครอทมีคุณสมบัติในการกระตุ้นการแบ่งเซลล์เช่นกัน นักวิทยาศาสตร์หลายท่าน เช่น Skoog และ Steward ทาการทดลองในสหรัฐอเมริกา โดยศึกษา ความต้องการสิ่งที่ใช้ในการเจริญเติบโตของกลุ่มก้อนของเซลล์ (Callus) ซึ่งเป็นเซลล์ที่แบ่งตัวอย่างรวดเร็ว แต่ไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพเกิดขึ้นของ pith จากยาสูบและรากของแครอท จากผลการทดลองนี้ทา ให้รู้จักไซโตไคนินในระยะปี ค.ศ. 1950 ซึ่งเป็ นฮอร์โมนพืชที่จาเป็ นต่อการแบ่งเซลล์และการ เปลี่ยนแปลงทางคุณภาพของเนื้อเยื่อ ในปัจจุบันพบว่าไซโตไคนิน ยังเกี่ยวข้องกับการเสื่อมสภาพ (Senescence) และการควบคุมการเจริญของตาข้างโดยตายอด (Apical Dominance)และการเกิดใบ จากการศึกษาของ Skoog โดยเลี้ยงเนื้อเยื่อ pith ของยาสูบ พบว่าการที่เนื้อเยื่อจะเจริญต่อไปได้นั้น จะต้องมีอาหารและฮอร์โมน เช่น ออกซิน โดยถ้าให้ออกซินในอาหารจะมีการเจริญของเนื้อเยื่อนั้นน้อยมาก เซลล์ขนาดใหญ่เกิดขึ้นโดยไม่แบ่งเซลล์ นอกจากนั้นจะไม่เกิดการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพ อย่างไรก็ตาม หากเพิ่มพิวรีน เบส (Purine Base) ชนิดอะดีนีน (Adenine) ลงไปในอาหารรวมกับ IAA พบว่า เนื้อเยื่อจะ กลายเป็นกลุ่มเซลล์ (Callus) ถ้าใส่อะดีนีนอย่างเดียวรวมกับอาหาร เนื้อเยื่อจะไม่สร้างกลุ่มเซลล์ขึ้นมา ดังนั้นจึงมีปฏิสัมพันธ์ (Interaction) ระหว่าง อะดีนีน และ IAA ซึ่งกระตุ้นให้เกิดการแบ่งเซลล์ขึ้น อะดีนีน เป็นพิวรีนเบสซึ่งมีสูตรเป็น 6-อะมิโนพิวรีน (6-aminopurine) และปรากฏอยู่ในสภาพธรรมชาติโดยเป็น ส่วนประกอบของกรดนิวคลีอิค ในปี 1955 Millerได้แยกสารอีกชนิดหนึ่งซึ่งมีคุณสมบัติคล้ายคลึงแต่มีประสิทธิภาพดีกว่าอะดีนีน ซึ่งได้จากการสลายตัวของ DNA ของสเปิร์มจากปลาแฮร์ริง สารชนิดนี้ คือ 6-(furfuryl-amino) purine ซึ่งมี สูตรโครงสร้างคล้ายอะดีนีน เนื่องจากสารชนิดนี้สามารถกระตุ้นให้เกิดการแบ่งเซลล์โดยร่วมกับออกซิน จึงได้รับชื่อว่าไคเนติน (Kinetin) ไคเนติน เป็นสารที่ไม่พบตามธรรมชาติในต้นพืช แต่เป็นสารสังเคราะห์ ต่อมาได้มีการค้นพบไซ โตไคนินสังเคราะห์อีกหลายชนิด สารสังเคราะห์ที่มีกิจกรรมของไซโตไคนินสูงที่สุดคือ เบนซิลอะดีนีน (Benzyladenine หรือ BA) และเตตระไฮโดรไพรานีลเบนซิลอะดีนีน (tetrahydropyranylbenzyladenine หรือ PBA)
  • 11. 11 ไซโตไคนินที่พบในพืช แม้ว่าไคเนติน BA และ PBA เป็นสารที่ไม่พบในต้นพืช แต่สารซึ่งพบในอวัยวะของพืชหลายชนิด เช่น ในน้ามะพร้าว ในผลอ่อนของข้าวโพด ให้ผลทางสรีรวิทยาและสัณฐานวิทยาที่คล้ายคลึงกับสาร BA และ PBA สารที่เกิดตามธรรมชาติและสารสังเคราะห์หลายชนิด ซึ่งมีคุณสมบัติเหมือนไคเนตินนั้น เรียกโดย ทั่วๆ ไปว่า ไซโตไคนิน ซึ่งเป็นสารที่เมื่อมีผลร่วมกับออกซินแล้วจะเร่งให้เกิดการแบ่งเซลล์ในพืช มีหลักฐานเด่นชัดชี้ว่าไซโตไคนินที่เกิดในธรรมชาติเป็นสารประกอบพิวรีน จากการทดลองในปี 1964 Letham ได้แยกไซโตไคนินจากเมล็ดข้าวโพดหวานและพบสาร 6-(4-hydroxy-3-methyl but-2-enyl) aminopurine ซึ่ง Letham ได้ตั้งชื่อว่า ซีเอติน (Zeatin) นับตั้งแต่มีการแยกไซโตไคนินชนิดแรกคือซีเอตินแล้วก็มีการค้นพบไซโตไคนิน อีกหลายชนิดซึ่งทุก ชนิดเป็นอนุพันธ์ของอะดีนีน คือ เป็น 6-substituted amino purines ซีเอตินเป็นไซโตไคนินธรรมชาติซึ่งมี ประสิทธิภาพสูงที่สุด การสังเคราะห์ไซโตไคนิน การสังเคราะห์ไซโตไคนินในต้นพืชเกิดโดยการ substitution ของ side chain บนคาร์บอนอะตอมที่ 6 ของอะดีนีน ซึ่ง side chain ของไซโตไคนินในสภาพธรรมชาติ ประกอบด้วยคาร์บอน 5 อะตอม จึงเป็น การชี้ให้เห็นว่าเกิดมาจากวิถีการสังเคราะห์ ไอโซพรีนอยด์ (Isoprenoid) ต่อมาพบว่า กลุ่มของไซโตไคนิน เกิดขึ้นบน t-RNA ได้ และเมื่อใช้เมวาโลเนต (Mavalonate หรือ MVA) ที่มีสารกัมมันตรังสี จะสามารถไป รวมกับกลุ่ม อะดีนีนของ t-RNA เกิดเป็นไดเมทธิลอัลลิล (Dimethylallyl side chain) เกาะด้านข้าง ในเชื้อ รา Rhizopus นั้น Dimethylallyl adenine สามารถเปลี่ยนไปเป็น Zeatin ได้ จึงคาดกันว่า Zeatin อาจจะเกิด จากการออกซิไดซ์ Dimethylallyl adenine การเกิดกลุ่มของไซโตไคนินใน t-RNA นี้ หมายความว่า ไซโตไคนิน อาจจะเกิดขึ้นมาจากการ สลายตัวของ t-RNA ซึ่งความเป็นจริงก็พบเหตุการณ์ดังกล่าวบ้าง อย่างไรก็ตามยังมีข้อสงสัยอีกมากที่ เกี่ยวข้องกับการเกิดไซโตไคนินจาก t-RNA อาจจะมีวิถีเฉพาะที่ก่อให้เกิดการสังเคราะห์ไซโตไคนิน ดัง แสดงในรูปที่ 12.4 ซึ่งเป็นวิถีที่แยกอย่างเด็ดขาดจากการเกิดไซโตไคนินโดยการสลายตัวของ t-RNA พบไซโตไคนินมากในผลอ่อนและเมล็ด ในใบอ่อนและปลายรากซึ่งไซโตไคนิน อาจจะ สังเคราะห์ที่บริเวณดังกล่าวหรืออาจจะเคลื่อนย้ายมาจากส่วนอื่น ๆ ในรากนั้นมีหลักฐานที่ชี้ให้เห็นว่าไซ โตไคนินสังเคราะห์ที่บริเวณนี้ได้เพราะเมื่อมีการตัดรากหรือลาต้น พบว่าของเหลวที่ไหลออกมาจากท่อน้า จะปรากฏไซโตไคนินจากส่วนล่างขึ้นมา ติดต่อกันถึง 4 วัน ซึ่งอาจจะเป็นไปได้ว่าไซโตไคนินสังเคราะห์
  • 12. 12 ที่รากแล้วส่งไปยังส่วนอื่น ๆ โดยทางท่อ xylemหลักฐานที่แสดงว่าสังเคราะห์ที่ส่วนอื่นยังไม่พบและการ เคลื่อนย้ายของไซโตไคนินจากส่วนอ่อน เช่น ใบ เมล็ด ผล ยังเกิดไม่ดีและไม่มาก การสลายตัวของไซโตไคนิน ไซโตไคนินสามารถถูกทาลายโดยการออกซิเดชั่น ทาให้ side chain หลุดจากกลุ่มอะดีนีน ติดตามด้วย การทางานของเอนไซม์ แซนทีนออกซิเดส (Xanthine Oxidase) ซึ่งสามารถออกซิไดซ์ พิวรีนเกิดเป็นกรด ยูริค (Uric Acid) และกลายเป็นยูเรียไปในที่สุด อย่างไรก็ตามในใบพืชไซโตไคนินอาจจะถูกเปลี่ยนไปเป็น กลูโคไซด์โดยน้าตาลกลูโคสจะไปเกาะกับตาแหน่งที่ 7 ของอะดีนีนเกิดเป็น7-กลูโคซีลไซโตไคนิน (7- glucosylcyto- kinins) หน้าที่ของไซโตไคนิน กลูโคไซด์ ยังไม่ทราบแน่ชัดนัก อาจจะเป็น "detoxification" ซึ่งไม่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมทาง metabolism หรืออาจจะเป็นรูปที่ไซโตไคนินอาจจะถูกปลดปล่อยออกมาใน บางสภาวะได้ จากการศึกษาโดยใช้ Radioactive BA พบว่าสามารถสลายตัวกลายเป็นกรดยูริกแล้วอาจจะ รวมกับ RNA ได้ การเคลื่อนที่ของไซโตไคนิน ยังไม่มีหลักฐานว่าเคลื่อนที่อย่างไรแน่ จากการทดลองพบว่าระบบรากเป็นส่วนสาคัญในการส่งไซโต ไคนินไปยังใบ และป้ องกันการเสื่อมสลายของใบก่อนระยะอันสมควร เป็นหลักฐานที่สาคัญที่ชี้ให้เห็นว่า ไซโตไคนินมีการเคลื่อนที่ขึ้นสู่ยอด ยิ่งไปกว่านั้นยังพบไซโตไคนินในท่อน้า ซึ่งมาจากระบบรากด้วย ในทางตรงกันข้ามไซโตไคนินซึ่งพบที่ผลซึ่งกาลังเจริญเติบโตไม่เคลื่อนที่ไปส่วนอื่นเลย ในทานองเดียวกัน จากการศึกษากับการให้ไซโตไคนินจากภายนอก เช่นให้ไคเนติน พบว่าจะไม่เคลื่อนย้ายเป็นเวลานาน แม้ว่า สารอื่น ๆ จะเคลื่อนย้ายออกจากจุดนี้ก็ตาม มีหลักฐานจานวนมากชี้ให้เห็นว่าไซโตไคนินอาจจะเคลื่อนย้าย ในรูปที่รวมกับสารอื่น ๆ เช่น น้าตาล (Ribosides หรือ glucosides) ซึ่งไซโตไคนินในรูปที่รวมกับน้าตาลนั้น พบเสมอในท่อน้าท่ออาหาร ในการให้ไฃโตไคนินกับตาข้างเพื่อกาจัด Apical dominance นั้น พบว่าไซโตไคนินจะไม่เคลื่อนที่ เลยเป็นระยะเวลานานมาก ในการทดลองกับ BA พบว่า BA สามารถเคลื่อนที่ผ่านก้านใบและมีลักษณะแบบ Polar เหมือนกับออกซิน ในทุกการศึกษาพบว่า ไซโตไคนินในใบจะไม่เคลื่อนที่รวมทั้งในผลอ่อนด้วย ส่วนผลของรากในการควบคุมการเจริญเติบโตของส่วนเหนือดินอาจจะอธิบายได้ถึงไซโตไคนินที่เคลื่อนที่ ในท่อน้า ซึ่งพบเสมอในการทดลองว่าไซโตไคนินสามารถเคลื่อนที่จากส่วนรากไปสู่ยอด แต่การเคลื่อนที่ แบบ Polar ยังไม่เป็นที่ยืนยันการเคลื่อนที่ของไซโตไคนินในพืชยังมีความขัดแย้งกันอยู่บ้าง
  • 13. 13 การหาปริมาณของไซโตไคนิน 1. ใช้ Tobacco callus test โดยให้ไซโตไคนินกระตุ้นการเจริญของ tobacco pith cell โดยการชั่ง น้าหนักเนื้อเยื่อพืชที่เพิ่มขึ้น แต่เป็นวิธีที่ใช้เวลานาน 2. Leaf senescence test ไซโตไคนินทาให้คลอโรฟิลล์ไม่สลายตัวในแผ่นใบที่ลอยอยู่ในสารละลาย ไซโตไคนินในที่มืด แล้วหาจานวนของคลอโรฟิลล์ที่เหลืออยู่ หลังจากลอยไว้3-4 วัน วิธีนี้ให้ผลไม่ดีเท่าวิธี แรก กลไกการทางานของไซโตไคนิน ไซโตไคนินมีบทบาทสาคัญคือควบคุมการแบ่งเซลล์ และไซโตไคนินที่เกิดในสภาพธรรมชาตินั้น เป็นอนุพันธ์ของอะดีนีนทั้งสิ้น ดังนั้นงานวิจัยเกี่ยวกับกลไกการทางานจึงมีแนวโน้มในความสัมพันธ์กับ กรดนิวคลีอิค กลไกการทางานของไซโตไคนินยังไม่เด่นชัดเหมือนกับออกซิน และจิบเบอเรลลิน แต่ไซ โตไคนินมีผลให้เกิดการสังเคราะห์ RNA และโปรตีนมากขึ้นในเซลล์พืช ผลการทดลองบางรายงานกล่าว ว่า หลังจากให้ไซโตไคนินกับเซลล์พืชแล้วจะเพิ่มปริมาณของ m-RNA, t-RNA และ r-RNA การศึกษากลไกการทางานของไซโตไคนิน ในช่วงทศวรรษ 1960 ได้เน้นไปในแง่ที่ว่าไซโตไคนิน อาจจะส่งผลของฮอร์โมนผ่าน t-RNA บางชนิด เนื่องจากมีการค้นพบว่ามีกลุ่มไซโตไคนินปรากฏอยู่ร่วมกับ t-RNA หลายชนิด ทั้ง t-RNA ของซีรีน (Serine) และไธโรซีน (Thyrosine) มีอะดีนีนเบสซึ่งมี side chain และมีคุณสมบัติเป็นไซโตไคนินซึ่งมีประสิทธิภาพสูง ยิ่งไปกว่านั้นในกรณี อะดีนีนซึ่งมีคุณสมบัติของ ไซโตไคนินจะอยู่ถัดจากแอนติโคดอน (Anticodon) ของ t-RNA จึงเป็นที่เชื่อกันว่าการปรากฏของไซโตไค นินบน t-RNA อาจจะจาเป็นต่อการเกาะกันของโคดอน (Codon) และแอนติโคดอนระหว่าง m-RNA และt- RNA บนไรโบโซม ซึ่งสมมุติฐานที่ว่าไซโตไคนินควบคุมกระบวนการ Translation ผ่านทาง t-RNA จึง ได้รับความเชื่อกันมากในขณะนั้น อย่างไรก็ตามสมมุติฐานนี้ ในเวลาต่อมาได้รับการวิจารณ์อย่างรุนแรง เช่นในการสังเคราะห์ t-RNA ตามปกตินั้น อาจจะเกิดการเปลี่ยนรูปของเบส หลังจากที่มีโพลีนิวคลีโอไทด์ (Polynucleotide) แล้วซึ่ง หมายความว่า side chain บนตาแหน่งที่ 6 ของอะดีนีนนั้นเกิดขึ้นหลังจากที่อะดีนีนได้อยู่บน t-RNA เรียบร้อยแล้ว ซึ่งเป็นไปไม่ได้ที่ไคเนตินและซีเอตินหรือไซโตไคนินอื่นๆ จะเข้าร่วมกับ t-RNA ในรูปที่ เป็นโมเลกุลที่สมบูรณ์ หลักฐานอีกข้อที่ไม่สนับสนุนสมมุติฐานนี้คือ การพบว่า t-RNA ของเมล็ดข้าวโพด ซึ่งมีซีส-ซีเอติน (Cis-Zeatin) ในขณะที่ไซโตไคนินที่เกิดในธรรมชาติในเมล็ดเดียวกันเป็นทรานส์-ซีเอติน (trans-Zeatin) ดังนั้นจึงเป็นการยากที่จะเชื่อว่าไซโตไคนินเป็นสารเริ่มต้นของการสังเคราะห์ t-RNA
  • 14. 14 แม้ว่างานทดลองจะยังสับสนและขัดแย้งกัน แต่โดยทั่วไปการรวมของไซโตไคนินเข้าไปใน t-RNA นั้น เกิดในอัตราที่ต่ามากจนไม่น่าเชื่อสมมุติฐานดังกล่าว งานวิจัยได้เปลี่ยนแนวและสนับสนุนว่าไซโตไคนินอาจจะทางานโดยควบคุมกิจกรรมของเอนไซม์ โดยตรงมากกว่าที่จะเกี่ยวกับการสังเคราะห์เอนไซม์ ไซโตไคนินมีอิทธิพลต่อเอนไซม์หลายชนิด เช่น ไคเนส (Kinases) ที่ใช้ในกระบวนการหายใจ นอกจากนั้นกิจกรรมของเอนไซม์ที่ใช้ในกระบวนการ สังเคราะห์แสงก็เพิ่มขึ้น ผลของไซโตไคนิน 1. กระตุ้นให้เกิดการแบ่งเซลล์และการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพใน tissue culture โดยต้องใช้ ร่วมกับ Auxin ในการเลี้ยงเนื้อเยื่อพืชนั้นหากให้ฮอร์โมน ไซโตไคนินมากกว่าออกซิน จะทาให้ เนื้อเยื่อนั้นเจริญเป็น ตา ใบ และลาต้น แต่ถ้าหากสัดส่วนของออกซินมากขึ้นกว่าไซโตไคนินจะทาให้ เนื้อเยื่อนั้นสร้างรากขึ้นมา การ differentiate ของตาในการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อจาก Callus จากส่วนของลาต้น นั้น auxin จะระงับ และไซโตไคนินนั้นจะกระตุ้นการเกิด และต้องมีความสมดุลระหว่างไซโตไคนินและอ อกซินชิ้นเนื้อเยื่อจึงจะสร้างตาได้ 2. ชะลอกระบวนการเสื่อมสลาย เช่น กรณีของใบที่เจริญเต็มที่แล้วถูกตัดออกจากต้น คลอโรฟิลล์ RNA และโปรตีนจะเริ่มสลายตัวเร็วกว่าใบที่ติดอยู่กับต้น แม้จะมีการให้อาหารกับใบเหล่านี้ก็ตาม ถ้า หากเก็บใบเหล่านี้ไว้ในที่มืดการเสื่อมสลายยิ่งเกิดเร็วขึ้น อย่างไรก็ตามหากใบเหล่านี้เกิดรากขึ้นที่โคนใบ หรือก้านใบ จะทาให้การเสื่อมสลายเกิดช้าลง เพราะไซโตไคนินผ่านขึ้นมาจากรากทางท่อน้า อย่างไรก็ตาม การให้ไซโตไคนินกับใบพืชเหล่านี้จะชะลอการเสื่อมสลายได้เหมือนกับรากเช่นกัน นอกจากนั้นไซโตไค นินยังทาให้มีการเคลื่อนย้ายอาหารจากส่วนอื่นมายังส่วนที่ได้รับไซโตไคนินได้ เช่น กรณีของใบอ่อนซึ่งมี ไซโตไคนินมากกว่าใบแก่จะสามารถดึงอาหารจากใบแก่ได้ ในกรณีเชื้อราที่ทาให้เกิดโรคราสนิม ซึ่งทาให้เกิดการตายของเนื้อเยื่อแล้วบริเวณเนื้อเยื่อที่ตายจะ เกิดสีเขียวล้อมรอบขึ้นมาซึ่งบริเวณสีเขียวนี้มีแป้ งสะสมมากแม้กระทั่งส่วนอื่นๆ ของใบตายไปแล้ว ส่วนสีเขียวอาจจะยังคงอยู่ ลักษณะนี้เรียกว่า Green Island ซึ่งบริเวณนี้จะมีไซโตไคนินสูง คาดว่าเชื้อรา สร้างขึ้นมาเพื่อดึงอาหารมาจากส่วนอื่น 3. ทาให้ตาข้างแตกออกมาหรือกาจัดลักษณะ Apical Dominance ได้ การเพิ่มไซโตไคนินให้กับตา ข้างจะทาให้แตกออกมาเป็นใบได้ ทั้งนี้เพราะตาข้างจะดึงอาหารมาจากส่วนอื่นทาให้ตาข้างเจริญได้
  • 15. 15 เชื้อจุลินทรีย์บางชนิดสามารถสร้างไซโตไคนินกระตุ้นให้พืชเกิดการแตกตาจานวนมากมีลักษณะผิดปกติ เช่น โรค Fascination นอกจากนั้นยังเร่งการแตกหน่อของพืช เช่น บอน และโกสน 4. ทาให้ใบเลี้ยงคลี่ขยายตัว กรณีเมล็ดของพืชใบเลี้ยงคู่งอกในความมืด ใบเลี้ยงจะเหลืองและเล็ก เมื่อได้รับแสงจึงจะขยายตัวขึ้นมา ซึ่งเป็นการควบคุมของไฟโตโครม แต่ถ้าหากให้ไซโตโคนินโดยการตัด ใบเลี้ยงมาแช่ในไซโตไคนิน ใบเลี้ยงจะคลี่ขยายได้เช่นกัน ลักษณะดังกล่าวพบกับ แรดิช ผักสลัด และ แตงกวา ออกซินและจิบเบอเรลลินจะไม่ให้ผลดังกล่าว 5. ทาให้เกิดการสร้างคลอโรพลาสต์มากขึ้น ซึ่งเป็นการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพอย่างหนึ่ง เช่น เมื่อ Callus ได้รับแสงและไซโตไคนิน Callus จะกลายเป็นสีเขียว เพราะพลาสติคเปลี่ยนเป็นคลอโรพ ลาสต์ได้ โดยการเกิดกรานาจะถูกกระตุ้นโดยไซโตไคนิน 6. ทาให้พืชทั้งต้นเจริญเติบโต 7. กระตุ้นการงอกของเมล็ดพืชบางชนิด
  • 16. 16 บทที่ 3 วิธีการดาเนินงาน วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 1. กระถางต้นไม้พร้อมดิน 2. ช้อนปลูก 3. ต้นหนุมานประสานกาย 9 ต้น 4. ฮอร์โมนไซโตไคนิน 5. ขวดน้าขนาด 1 ลิตร 2 ขวด 6. ฟ้อกกี้ 3 อัน 7. กระบอกฉีดยา 8. สมุดจดบันทึก 9. ปากกาถาวร (Permanent Pen) 10. กาบมะพร้าว กระถางต้นไม้พร้อมดิน ช้อนปลูก ต้นหนุมานประสานกาย ฮอร์โมนไซโตไคนิน ขวดน้าขนาด 1 ลิตร กระบอกฉีดยา ฟ้อกกี้ สมุดจดบันทึก กาบมะพร้าว ปากกาถาวร
  • 17. 17 ขั้นตอนการทาโครงงาน 1. ประชุมวางแผนคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ ซึ่งคือ การศึกษาการทางานของฮอร์โมนไซโตไคนินที่ มีผลต่อต้นหนุมานประสานกาย 2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานดังนี้ 2.1. ลักษณะโดยทั่วไปของต้นหนุมานประสานกาย 2.2. การทางานของฮอร์โมนไซโตไคนิน 2.3. ผลของฮอร์โมนไซโตไคนินต่อพืช 2.4. ลักษณะทั่วไปของฮอร์โมนพืช 2.5. สรรพคุณของต้นหนุมานประสานกาย 3. เลือกร้านต้นไม้ที่มีต้นไม้ให้เราเลือกได้เพื่อที่จะได้เลือกต้นหนุมานประสานกายให้มีความสูงที่ พอเหมาะเท่ากันทุกต้น เพื่อมาทาการทดลอง 4. วางแผนรายละเอียดการทดลองว่าควรทาอย่างไรบ้างเป็นขั้นตอน 5. หาสถานที่ที่มีแสงที่เหมาะสมและมีที่กาบังพอเผื่อวันฝนตกหนัก เพื่อที่จะเป็นสถานที่ในการวาง กระถางต้นไม้เพื่อทาการทดลอง 6. จัดทาเค้าโครงโครงงาน เพื่อนาเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เพื่อนาไปปรับปรุงและแก้ไข 7. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทาการทดลองผลของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีผลต่อต้นหนุมานประสาน กาย 7.1.1.ต้นหนุมานประสานกาย 9 ต้น 7.1.2. สมุดจดบันทึก 7.1.3.กระถางพร้อมดิน 9 กระถาง 7.1.4. ช้อนปลูก 7.1.5. เข็มฉีดยา 7.1.6. ฮอร์โมนไซโตไคนิน 7.1.7. ขวดน้าขนาด 1 ลิตร 2 ขวด 7.1.8. ฟ้อกกี้ 3 อัน 7.1.9. ปากกาถาวร (Permanent Pen) 7.1.10. กาบมะพร้าว 8. ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง 8.1 นาต้นหนุมานประสานกายมาใส่ในกระถางอย่างละต้นโดยที่มีดินอยู่พอสมควรและมีกาบมะพร้าว รองอยู่ที่ก้นกระถาง เพื่อทาให้เวลารดน้าจะได้ไม่ไหลออก
  • 18. 18 8.2 นาดินกลบให้พอเหมาะกับต้นไม้โดยใช้ช้อนปลูก 8.3 แยกต้นไม้เป็นสามกลุ่ม ได้แก่ กลุ่ม High dose Low dose และ Control แบ่งเป็นกลุ่มละสามต้น 8.4 ใช้เข็มฉีดยาดูดฮอร์โมนขึ้นมา 10 ml ผสมกับน้า 1 L ได้สารละลายฮอร์โมนกลุ่ม high Dose 8.5 ใช้เข็มฉีดยาดูดฮอร์โมนขึ้นมา 5 ml ผสมกับน้า 1 L ได้สารละลายฮอร์โมน กลุ่ม Low Dose 8.6 เทน้าแต่ละขวดที่ผสมฮอร์โมนเรียบร้อยแล้วลงในฟ้ อกกี้ทั้งสองขวดที่ติดป้ายความเข้มข้น 8.7 ฟ้อกกี้อันสุดท้ายใส่น้าเปล่า หรือ ฮอร์โมน 0% เป็นชุด control 8.8 รดน้าต้นไม้และฉีดฮอร์โมนทุกวัน 8.9 คอยสังเกตผลทุกๆ 7 วัน และใช้ปากกาถาวรขีดใบนับใบใหม่ที่เกิดขึ้น 9. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เป็นระยะเวลาตามที่กาหนด 10. จัดทาเอกสารเป็นรูปเล่มโครงงานให้สมบูรณ์ 11. จัดทาสื่ออภิปรายแสดงผลการทดลอง 12. นาเสนอโครงงาน ภาพที่ 1 แสดงการจัดกระถางต้นไม้ ภาพที่ 2 แสดงการฉีดฮอร์โมน ภาพที่ 3 แสดงการนับจานวนใบที่เกิดใหม่ ภาพที่ 4 อ.ที่ปรึกษาโครงงานตรวจสอบงาน
  • 19. 19 วิธีการเก็บข้อมูล • เก็บข้อมูลจานวนใบที่เพิ่มขึ้นในรูปแบบตารางทุกๆ 7 วัน โดยเริ่มเก็บข้อมูลวันที่ 26 พ.ค. 2560 • เมื่อมีการแตกใบเกิดขึ้นใช้ปากกา permanent ขีดทาเครื่องหมายที่ใบใหม่เพื่อเป็นการนับจานวนว่า ในแต่ละครั้งมีจานวนเพิ่มขึ้นเท่าไหร่ ครั้งต่อไปที่มานับจะได้ไม่ทาการนับซ้าใบเดิมที่มีอยู่แล้ว โดย ตารางเก็บผลการทดลอง
  • 20. 20 บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง วันที่บันทึก ผล จานวนใบใหม่ (ใบ) หมายเหตุ Low Dose (0.005% v/v) ค่า เฉลี่ย High Dose (0.01% v/v) ค่า เฉลี่ย Control (0% v/v) ค่า เฉลี่ย1 2 3 1 2 3 1 2 3 26 พ.ค 60 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 0 2 มิ.ย. 60 4 7 4 5 6 6 16 9.3 5 4 4 4.3 8 มิ.ย. 60 12 15 10 12.3 18 20 24 20.6 7 11 12 10 16 มิ.ย. 60 14 22 14 16.6 26 25 33 28 7 9 16 10.6 23 มิ.ย. 60 15 23 15 17.6 29 28 36 31 9 11 16 12 30 มิ.ย. 60 16 24 16 18.6 20 29 38 29 9 14 10 11 กลุ่ม control ต้นที่ 3 และ กลุ่ม high dose ต้น ที่ 2 มีการหักของกิ่ง 7 ก.ค. 60 19 25 19 21 26 30 40 32 9 16 15 13.3 14 ก.ค. 60 20 27 19 22 27 30 46 34.3 9 18 17 14.6 28 ก.ค. 60 22 29 21 24 32 31 55 39.3 9 23 19 17 เฉลี่ย จานวนใบ แต่ละต้นที่ เพิ่มขึ้นใน แต่ละครั้ง 2.4 3.2 2.3 2.6 3.5 3.4 6.1 4.3 1 2.5 2.1 1.8
  • 21. 21 กราฟแท่งแสดงผลการทดลอง กราฟเส้นแสดงผลการทดลอง 0 5 10 15 20 25 30 35 40 45 ครั้งที่ 1 26/5 ครั้งที่ 2 2/6 ครั้งที่ 3 8/6 ครั้งที่ 4 16/6 ครั้งที่ 5 23/6 ครั้งที่ 6 30/6 ครั้งที่ 7 7/7 ครั้งที่ 8 14/7 ครั้งที่ 9 28/7 ชื่อแผนภูมิ Low Dose High Dose Control 0 10 20 30 40 50 60 26-พ.ค. 2-มิ.ย. 9-มิ.ย. 16-มิ.ย. 23-มิ.ย. 30-มิ.ย. 7-ก.ค. 14-ก.ค. 21-ก.ค. 28-ก.ค. ชื่อแผนภูมิ high ต้นที่ 1 high ต้นที่ 2 high ต้นที่ 3 low ต้น 1 low ต้น 2 low ต้น 3 control 1 control 2 control 3
  • 22. 22 วิเคราะห์ผลการทดลอง จากการทดลอง จะสังเกตเห็นได้ว่า ต้นหนุมานประสานกายที่ได้รับการรดน้าด้วยน้าที่มีฮอร์โมนไซโต ไคนินอยู่นั้น จะมีจานวนใบที่แตกอ่อนเพิ่มขึ้นมากกว่าต้นที่ไม่ได้ทาการรดด้วยน้าผสมฮอร์โมน โดยต้นที่ ได้รับการรดน้าด้วยน้าที่ผสมกับฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีความเข้มข้น 0.01%v/v นั้น มีจานวนใบที่แตก ออกมามากกว่าต้นที่ได้รับการรดน้าด้วยน้าที่ผสมกับฮอร์โมนไซโตไคนินที่มีความเข้มข้น 0.05%v/v จาก การทดลอง สามารถวิเคราะห์ได้ว่า ฮอร์โมนไซโตไคนินนั้นมีผลต่อการแตกใบใหม่ของต้นหนุมานประสาน กาย โดยที่ถ้ารดด้วยน้าที่ผสมด้วยฮอร์โมนไซโตไคนินมาก ก็จะทาให้ยิ่งมีจานวนใบใหม่ที่แตกออกมาเพิ่ม มากขึ้น
  • 23. 23 บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม สรุปผลการทดลอง จากการศึกษาการทดลองของ Skoog และ Steward ในปี1950ซึ่งได้ทาการทดลองในสหรัฐอเมริกาโดย ศึกษาความต้องการของสิ่งที่ใช้ในการเจริญเติบโตของกลุ่มก้อนเซลล์ซึ่งเป็นเซลล์ที่แบ่งตัวอย่างรวดเร็วแต่ ไม่มีการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพเกิดขึ้นโดยได้ทาการทดลองกับ pitch จากยาสูบและรากแครอท ผลการ ทดลองนี้ทาให้ทราบว่า ฮอร์โมนไซโตไคนินเป็นฮอร์โมนที่มีผลต่อการแบ่งเซลล์ของพืช อีกทั้งฮอร์โมนไซ โตไคนิยังควบคุมการเจริญเติบโตของตาข้างและการเกิดใบ คณะผู้วิจัยจึงได้ทาการทดลองเพื่อศึกษาผลของ ฮอร์โมนไซโตไคนินต่อการแตกใบของต้นหนุมานประสานกาย โดยเริ่มจากการ นาต้นหนุมานประสานกาย อายุ 7 เดือน จานวน 9 ต้นซึ่งมีลักษณะทางกายภาพที่เหมือนกัน ฉีดฮอร์โมนไซโตไคนินในความเข้มข้น ต่างกัน คือ 0.01 %v/v ( high dose) , 0.005%v/v ( low dose) และ 0%v/v ( control) แล้วปล่อยให้เจริญเติบโต ในสภาพแวดล้อมที่จัดไว้ ทาการนับจานวนใบที่แตกเพิ่มทุกๆ 7 วัน และบันทึกผล จากผลการทดลอง สามารถสรุปได้ว่า สัดส่วนของฮอร์โมนไซโตไคนินมีผลต่อการแตกใบของต้นหนุมานประสานกายในทาง ที่ positive กล่าวคือ สัดส่วนของฮอร์โมนไซโตไคนินที่มากขึ้น จะมีผลให้การแตกใบของต้นหนุมาน ประสานกายมากยิ่งขึ้นด้วย ซึ่งเป็นผลมาจาก การถูกกระตุ้นการแบ่งเซลล์และแตกตาของพืชหลังจากได้รับ ฮอร์โมนชนิดนี้ ข้อเสนอแนะ มีปัญหาเรื่องสภาพภูมิอากาศและในเรื่องของเวลาในการดูแลพืช โดยในขณะทาการทดลองนั้นเป็นช่วงที่ สภาพอากาศค่อนข้างแปรปรวน ฝนตกหนัก จึงมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืช อีกทั้ง ยังทาให้ต้นพืช เสียหาย เช่น โค่นล้ม กิ่งพืชหัก ซึ่งเป็ นอุปสรรคต่อการสังเกตผลการทดลอง ทางคณะผู้วิจัยจึงมี ข้อเสนอแนะให้ควรมีการเปลี่ยนแปลงเวลาในการทาการทดลอง หรือ ศึกษาสภาพอากาศก่อนทาการทดลอง ในส่วนของสิ่งที่ควรศึกษาเพิ่มเติมคือ ผลของฮอร์โมนพืช กลุ่ม overdose ว่ามีผลต่อพืชอย่างไร เนื่องจาก ผลการวิจัยส่วนใหญ่จะกล่าวถึง สัดส่วนที่มากขึ้นขอฮอร์โมนพืช ส่งผลให้พืชเจริญเติบโตได้ดีขึ้น แต่ยังไม่มี การวิจัยที่ชี้ชัดว่า ฮอร์โมนของพืชที่มากเกินไป มีผลต่อพืชอย่างไรในทางการเจริญเติบโต คณะผู้วิจัยมีคาม เห็นว่าเป็นสิ่งที่น่าสนใจและควรศึกษา จึงควรมีการเพิ่มเติมในการทาการทดลองในครั้งต่อไป
  • 24. 24 บรรณานุกรม แหล่งเรียนรู้ข้อมูลสมุนไพร.2560.หนุมานประสานกาย.(ออนไลน์).แหล่งที่มา http://thaiherbal.org/888/888 30 กรกฎาคม 2560 รศ.ดร.ดนัย บุณยเกียรติ 2560 .ไซโตไคนิน.(ออนไลน์)แหล่งที่มา http://web.agri.cmu.ac.th/hort/course/359311/PPHY10_hormone.htm . 30กรกฎาคม 2560
  • 25. 25 ภาคผนวก ภาพที่ 1 แสดงขั้นตอนการฉีดฮอร์โมนพืช ภาพที่ 2 อ.ที่ปรึกษาโครงงาน ตรวจสอบความก้าวหน้าของโครงงาน
  • 26. 26 ภาพที่ 3 อ.ที่ปรึกษาโครงงานตรวจสอบความก้าวหน้าของงาน ภาพที่ 4 แสดงใบที่แตกใหม่ของต้นหนุมานประสานกาย