SlideShare a Scribd company logo
โครงงาน
เรื่อง ผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อความสูงของต้นมะกรูด
เสนอ
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา
สมาชิก
1. นางสาวพรธีรา มณฑา เลขที่ 10
2. นางสาวพรรณภัทร ปิยภากรวุฒิกุล เลขที่11
3. นางสาวพรรษมน อิ้งจะนิล เลขที่ 12
4.นางสาวมนัสวี กิจสมมารถ เลขที่ 14
โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ว 30245 ชีววิทยา 5
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจากอาจารย์วิชัย อาจารย์ที่ปรึกษา
โครงงานที่ได้ให้คาเสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆมาโดยตลอดจนโครงงานเล่มนี้เสร็จ
สมบูรณ์ ผู้ศึกษาจึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง
ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ และผู้ปกครองที่ให้คาปรึกษาให้เรื่องต่างๆ รวมทั้งเป็น
กาลังใจที่ดีเสมอมา
สุดท้ายขอบคุณเพื่อนๆในกลุ่มที่ช่วยไปเลือกซื้อต้นไม้ฮอร์โมนพืชและอุปกรณ์ต่างๆตลอดจนโครงงานนี้
สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี
คณะผู้จัดทา กลุ่ม 3 ห้อง 143
คานา
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ว30245 ชีววิทยา5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 โดยมีจุดประสงค์ เพื่อ
การศึกษาความสัมพันธ์ของฮอร์โมนที่มีอิทธิพลต่อพืช ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับรายละเอียดของการทา
โครงงาน ขั้นตอนการเตรียมอุปกรณ์ เตรียมสารเคมี ตารางบันทึกผล รวมไปถึงสรุปผลของการทดลอง
โครงงาน
ผู้จัดทาได้เลือก หัวข้อนี้ในการทารายงาน เนื่องมาจากเป็นเรื่องที่น่าสนใจ โดยจะต้องขอขอบคุณ
อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ผู้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานที่ให้ความช่วยเหลือ ให้ความรู้ คาแนะนามาโดยตลอด
ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้ และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุก ๆ ท่านไม่มากก็น้อย เพื่อเป็น
แนวทางในการศึกษาต่อไป
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
เรื่อง
หน้า
ที่มาและความสาคัญ 1-4
ปัญหา
สมมติฐาน
จุดประสงค์การทดลอง
ตัวแปร
รายละเอียดอุปกรณ์การทดลอง
ระยะเวลาในการทดลอง
รายละเอียดของพืชและฮอร์โมนที่เกี่ยวข้อง
วิธีการเก็บข้อมูล 5
ขั้นตอนการทดลอง 5
ผลการทดลอง 6
สรุปผลการทดลอง และข้อเสนอแนะ 7
ภาคผนวก 8-11
บรรณานุกรม 12
1
โครงงาน : ผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินต่อความสูงของต้นมะกรูด
1. ที่มา และความสาคัญ
เนื่องจาก ต้นมะกรูดเป็นพืชท้องถิ่นที่คนไทยนิยมนามาใช้ประโยชน์มากมายไม่ว่าจะเป็นในด้าน
การประกอบอาหารหรือการผลิตภัณฑ์แปรรูปต่างๆ และเป็นพืชที่สามารถหาได้ทั่วไป ดังนั้นจึงไม่
แปลกที่ต้นไม้ชนิดนี้จะติดอยู่ในความต้องการในตลาดต้นไม้อยู่ตลอด ซึ่ง นอกจากนี้คณะผู้จัดทายัง
ทราบมาว่า ฮอร์โมนพืชบางชนิด เช่น ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโต
ของต้นไม้ได้ทั้งการทาให้เกิดดอก ทาให้ลาต้นยืด หรืออาจจะสามารถกดการเจริญเติบโตของพืช
ได้
คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนจิบ
เบอเรลลินที่มีต่อการยืดเซลล์ลาต้นของต้นมะกรูดโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผล
ของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อต้นมะกรูดในความเข้มข้นต่างๆคณะผู้รับผิดชอบโครงงานการ
ทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมีประโยชน์ต่อสาธารณชนโดยรวมใน
อนาคตต่อไป
2. ปัญหา : ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นมะกรูดหรือไม่ อย่างไร
3. สมมติฐาน : ต้นมะกรูดที่ได้รับฮอร์โมนจิบเบอเรลลินจะมีความสูงมากกว่าต้นที่ไม่ได้รับฮอร์โมน
4. จุดประสงค์การทดลอง
4.1 เพื่อให้ทราบผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินต่อการเจริญเติบโตของต้นมะกรูด
4.2 เพื่อฝึกพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
5. ตัวแปร
5.1 ตัวแปรต้น : ปริมาณความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ให้แก่ต้นมะกรูด
5.2 ตัวแปรตาม : ความสูงที่เพิ่มขึ้นของต้นมะกรูดแต่ละต้น
2
5.3 ตัวแปรควบคุม : ชนิดพันธุ์ของต้นมะกรูด
ปริมาณดิน
ความถี่ของการรดน้า
ความถี่ของการให้ฮอร์โมน
6. รายละเอียดอุปกรณ์การทดลอง
6.1 ต้นมะกรูด 9 ต้น พร้อมดิน และกระถาง
6.2 ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 25 มิลลิลิตร
6.3 น้า 1 ลิตร
6.4 ขวดสเปรย์ปริมาตร 500 มิลลิลิตร 2 ขวด
6.5 ไซริงค์ 1 หลอด
7. ระยะเวลาในการทดลอง : ตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2560 จนถึงวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ.2560
8. ข้อมูลรายละเอียดของพืชและฮอร์โมนที่นามาทดลอง
รายละเอียดของต้นมะกรูด
มะกรูด เป็นพืชในสกุลส้ม (Citrus) เป็นไม้ยืนต้นขนาด
เล็ก เป็นไม้เนื้อแข็ง ลาต้นและกิ่งมีหนามยาวเล็กน้อยใบเป็นใบ
ประกอบชนิดลดรูป มีใบย่อย 1 ใบ เรียงสลับ รูปไข่ คือมีลักษณะ
คล้ายกับใบไม้2 ใบ ต่อกันอยู่ คอดกิ่วที่กลางใบเป็นตอนๆ มีก้าน
แผ่ออกใหญ่เท่ากับแผ่นใบ ทาให้เห็นใบเป็น 2 ตอน กว้าง 2.5-4
เซนติเมตร ยาว 4-7 เซนติเมตร ใบสีเขียวแก่พื้นผิวใบเรียบเกลี้ยง เป็นมัน ค่อนข้างหนามีกลิ่นหอมมากเพราะ
มีต่อมน้ามันอยู่ ใบด้านบนสีเข้ม ใต้ใบสีอ่อน ดอกออกเป็นกระจุก 3 – 5 ดอก กลีบดอกสีขาว เกสรสีเหลือง
ร่วงง่ายมีกลิ่นหอม มีผลสีเขียวเข้มคล้ายมะนาวผิวเปลือกนอกขรุขระ ขั้วหัวท้ายของผลเป็นจุก ผลอ่อนมีเป็น
3
สีเขียวแก่ เมื่อผลสุกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองสด พันธุ์ที่มีผลเล็ก ผิวจะขรุขระน้อยกว่าและไม่มีจุกที่ขั้ว ภายใน
มีเมล็ดจานวนมาก ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นิยมใช้ใบมะกรูดและผิวมะกรูดเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องปรุง
อาหารหลายชนิด นอกจากในประเทศไทยและลาวแล้วยังมีความนิยมในกัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และ
อินโดนีเซีย (โดยเฉพาะบาหลี)
ชื่อสามัญ : Porcupine Orange, Kiffir Lime, Leech Lime
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Citrus hystrix DC. วงศ์ : Rutaceae
ลักษณะทั่วไป
ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 2-8 เมตร เปลือกต้นเรียบ สีน้าตาล มีหนามแหลมตามกิ่งก้าน ใบ เป็นใบ
ประกอบที่มีใบย่อยใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ปลายใบและโคนใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบเป็นมันสีเขียว
เข้ม มีต่อมน้ามันอยู่ตามผิวใบ มีกลิ่นหอมเฉพาะ ก้านใบมีปีกดูคล้ายใบ ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบที่ปลาย
กิ่ง ดอกสีขาว กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ กลีบดอกมี 5 แฉก โคนกลีบดอกติดกัน ผล เป็นรูปทรงกลมหรือรูปไข่
โคนผลเรียวเป็นจุก ผิวขรุขระ มีต่อมน้ามัน ผลอ่อนสีเขียวแก่ สุกเป็นสีเหลือง มีรสเปรี้ยว เมล็ดกลมรี สีขาว
มีหลายเมล็ด
สารสาคัญ
ในใบและผลมะกรูด เมื่อนามากลั่นด้วยไอน้าจะให้น้ามันหอม ระเหยในปริมาณ 0.08 % และ4 %
ตามลาดับ น้ามันหอมระเหยจากผิวมะกรูดมักประกอบด้วยเบต้า-ไพนีน, ไลโมนีนและซาบินีน เป็นสารหลัก
ส่วนน้ามันหอมระเหยจากใบจะประกอบด้วย ซีโทรเนลลาล,ไอโซพูลิโกล และไลนาลูออล เป็นสารหลัก
ส่วนในน้ามะกรูดมีกรดซิตริก ไวตามินซี และกรดอินทรีย์ชนิดอื่น ๆ เป็นส่วนประกอบ
คุณสมบัติ
1.ใช้เป็นยาหรือส่วนผสมของยาต่าง ๆ คือ น้าในผลแก้อาการท้องอืด ช่วยให้เจริญอาหาร น้ามะกรูดใช้ดอง
ยา เพื่อใช้ฟอกเลือด และบารุงโลหิตสตรี เป็นต้น
2.ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องหอมและเครื่องสาอางค์ต่าง ๆ
3.กรด Citric ช่วยขจัดคราบสบู่ (ด่าง) ที่หลงเหลืออยู่ ทาให้ผมหวีง่าย น้ามันจากผิวมะกรูดช่วยให้ผมดกเป็น
เงางาม
4
4.ใช้ปรุงแต่งกลิ่นรสอาหาร ในดับกลิ่นคาวของอาหาร ใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องแกงต่าง ๆ
รายละเอียดของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
บทบาทของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินต่อพืช
1. กระตุ้นการขยายตัวของเซลล์โดยการเพิ่มความยืดหยุ่นของผนังเซลล์ ทาให้เซลล์มีรูปร่างยืดยาวขึ้น
2. กระตุ้นการเจริญของรากโดยเฉพาะการเจริญของรากแรกเกิด (Radicle) รากต้องการจิบเบอเรลลินใน
ปริมาณที่น้อยกว่าลาต้น เช่นรากต้องการ GA3 ในระดับนาโนโมลาร์ แต่ยอดต้องการในระดับไมโครโมลาร์
3. จิบเบอเรลลินมีผลต่อพัฒนาการของดอกโดยเฉพาะพัฒนาการของก้านชูเกสรตัวผู้และกลีบดอก
4. กระตุ้นการติดผล ในพืชหลายชนิด เช่น ส้ม มะเขือเทศ องุ่น การได้รับจิบเบอเรลลินช่วยให้เกิดการติดผล
โดยไม่ต้องผสมเกสรได้
5. กระตุ้นการงอกของเมล็ด แสงสีแดงกระตุ้นการงอกของเมล็ดได้โดยกระตุ้นให้มีการสร้างจิบเบอ
เรลลินมากขึ้น
6. การเปลี่ยนเพศดอก จิบเบอเรลลินช่วยทาให้พืชตระกูลแตงหรือพืชที่แยกดอกตัวผู้และดอกตัวเมีย เกิด
ดอกตัวผู้มากขึ้นได้ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงพันธุ์พืช
7. จิบเบอเรลลินช่วยทาลายระยะพักตัวของพืชทั้งการพักตัวของตาและเมล็ด โดยข่มฤทธิ์ของ ABA ซึ่งทาให้
เกิดระยะพักตัว
8. หลังการงอก จิบเบอเรลลินสนับสนุนการยืดตัวของข้อและการแผ่ขยายของใบ
9. ควบคุมให้พืชอยู่ในสภาวะอ่อนวัย เช่นการทาให้ใบของ Hedera helix คงอยู่ในสภาพของใบในระยะอ่อน
วัยซึ่งมีความสวยงามกว่าใบในระยะเต็มวัยพร้อมสืบพันธุ์ได้
10. กระตุ้นการออกดอก การได้รับจิบเบอเรลลินสามารถทดแทนความต้องการช่วงแสงยาวในช่วงกลางวัน
ของพืช วันยาว และความต้องการความหนาวเย็นก่อนออกดอกของพืชได้
5
9. วิธีการเก็บข้อมูล
เก็บข้อมูลโดยการวัดส่วนสูงของต้นมะกรูด โดยใช้ไม้บรรทัดวัดจากขอบกระถางมาจนถึงยอดสูงสุดของต้น
มะกรูด นับแต่เริ่มทาการทดลอง จนกระทั่งสิ้นสุดการทดลอง ในทุกๆอาทิตย์เป็นเวลา 7 สัปดาห์
10. ขั้นตอนการทดลอง
10.1 เตรียมสารละลายจิบเบอเรลลิน ในขวดสเปรย์ทั้งสองขวด ขวดที่ 1 ความเข้มข้น 0.5 % โดย
ปริมาตร และขวดที่ 2 ความเข้มข้น 2 % โดยปริมาตร
10.2 แบ่งต้นมะกรูดทั้ง 9 ต้นออกเป็น 3 ชุด ชุดละ 3 ต้น
สาหรับต้นมะกรูดชุดที่ 1 ใช้เป็นชุดเปรียบเทียบ ไม่ต้องฉีดพ่นสารละลายจิบเบอเรลลิน
ฉีดพ่นต้นมะกรูดชุดที่ 2 (high dose) ด้วยสารละลายจิบเบอเรลลิน ความเข้มข้น 2 % สัปดาห์ละ 2 ครั้ง
ฉีดพ่นต้นมะกรูดชุดที่ 3 (low dose) ด้วยสารละลายจิบเบอเรลลิน ความเข้มข้น 0.5 % สัปดาห์ละ 2 ครั้ง
10.3 วัดความสูงต้นมะกรูดทั้ง 9 ต้น สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 7 สัปดาห์
จดบันทึกความสูงของต้นมะกรูด แล้วนามาเปรียบเทียบ
6
11. ผลการทดลอง
ตารางบันทึกความสูงของต้นมะกรูด (cm.)
วันที่
ความสูงของต้นมะกรูด (ซม.)
ชุด High dose ชุด Low dose ชุดควบคุม
ต้นที่
1
ต้นที่
2
ต้นที่
3 เฉลี่ย
ต้นที่
1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3 เฉลี่ย
ต้นที่
1
ต้นที่
2
ต้นที่
3 เฉลี่ย
8-มิ.ย.-60 69 79 105 84.333 68 68 82 72.67 85 83 76.5 81.5
13-มิ.ย.-
60 73 81 109 87.667 70 71 84 75 88 85 77 83.333
25-มิ.ย.-
60 76 85 112 91 72 74 87 77.67 90 86 78 84.667
14-ก.ค.-
60 78.5 88 114 93.5 74 77 90 80.33 92 89 80 87
2-ส.ค.-60 79 88 116 94.333 75 77 91 81 92 89 81 87.333
กราฟของผลการทดลอง
0
10
20
30
40
50
60
70
80
90
100
8-มิ.ย.-60
15-มิ.ย.-60
22-มิ.ย.-60
29-มิ.ย.-60
6-ก.ค.-60
13-ก.ค.-60
20-ก.ค.-60
27-ก.ค.-60
ความสูงของต้นมะกรูด (ซม.) ชุด
High dose เฉลี่ย
ความสูงของต้นมะกรูด (ซม.) ชุด
Low dose เฉลี่ย
ความสูงของต้นมะกรูด (ซม.) ชุด
ควบคุม เฉลี่ย
7
12. สรุปผลและข้อเสนอแนะ
จากตารางบันทึกผลการทดลอง พบว่า กลุ่มตัวอย่างต้นมะกรูดที่ได้รับฮอร์โมนจิบเบอ
เรลลิน มีความสูงเพิ่มขึ้นเร็วกว่ากลุ่มตัวอย่างที่ไม่ได้รับฮอร์โมนและกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับฮอร์โมน
จิบเบอเรลลินมากมีความสูงเพิ่มขึ้นเร็วกว่ากลุ่มตัวอย่างที่ได้รับฮอร์โมนที่น้อยกว่า
ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่า ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลต่อความสูงของพืช และแปรผัน
ตามความเข้มข้นของปริมาณฮอร์โมนที่พืชรับ และที่ความเข้มข้น 2% โดยปริมาตร ต้นมะกรูดจะ
เจริญได้ดีที่สุด
ข้อเสนอแนะ
1. ต้นที่ 1 ของกลุ่ม High dose มีใบที่ใหญ่ผิดปกติ ดังนั้น จิบเบอเรลลินน่าจะมีผลต่อ
ขนาดของใบด้วยเช่นกัน
ภาพใบของต้นที่ 1 กลุ่ม high dose ภาพใบของต้นกลุ่มควบคุม
2. ต้นที่ 1 ของกลุ่มชุดควบคุม มีผลมะกรูด ดังนั้น
จิบเบอเรลลินไม่มีผลต่อการเกิดดอกหรือออก
ผลของมะกรูด
ภาพผลมะกรูดของต้นที่
1ชุดควบคุม
8
ภาคผนวก
ภาคผนวกที่ 1 รูปแสดงวัสดุอุปกรณ์
ต้นมะกรูด Syringe
ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน และ ฟ็อกกี้ กระถางต้นไม้
ป้ายชื่อ
9
ภาคผนวกที่ 2 รูปแสดงการนาต้นไม้ที่ซื้อมาวางที่โรงเรียน
ภาคผนวกที่ 3 รูปแสดงการจัดเตรียมฮอร์โมนโดยนาฮอร์โมนไปละลายน้าโดยมีความเข้มข้นที่ต่างกัน 3
ระดับคือ high-dose low-dose และชุดควบคุม (น้าเปล่า)
10
ภาคผนวกที่ 4 รูปแสดงการฉีดฮอร์โมนที่ผสมไว้ลงบนต้นมะกรูด
ภาคผนวกที่ 5 รูปแสดงการวัดความสูงของงต้นมะกรูด
ภาคผนวกที่ 6 รูปแสดงการติดป้ายชื่อบนต้นมะกรูด
11
ภาคผนวกที่ 7 รูปแสดงการสังเกตุและการประเมินผล
12
บรรณานุกรม
http://www.the-than.com/samonpai/sa_16.html
http://www.plantmediashop.com/store/article/view/อิทธิพลและประโยชน์ของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินในการผลิตพืช-
51977-th.html
http://www.student.chula.ac.th/~56370053/gibberellins.html
http://web.agri.cmu.ac.th/hort/course/359311/PPHY10_hormone.htm
http://www.the-than.com/samonpai/sa_16.html
อ้างอิง เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้สานักวิชาการป่าไม้กรมป่าไม้,
กรุงเทพฯ.
สมพร ภูติยานันต์, 2551. สมุนไพรใกล้ตัว เล่ม 13 : สมุนไพรแต่งสี กลิ่น รส. วิทยาศาสตร์เภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ตุลย์การพิมพ์, เชียงใหม่.

More Related Content

What's hot

Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
Wichai Likitponrak
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
chanon leedee
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
Wichai Likitponrak
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
ธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_6
M6 144 60_6M6 144 60_6
M6 144 60_6
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_7
M6 144 60_7M6 144 60_7
M6 144 60_7
Wichai Likitponrak
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โรงเรียนบ้านหนองคูโนนแก้วหนองอีย่า .
 
M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_9
M6 78 60_9M6 78 60_9
M6 78 60_9
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
Wichai Likitponrak
 
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
pink2543
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_3
M6 144 60_3M6 144 60_3
M6 144 60_3
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
 
M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
M6 144 60_6
M6 144 60_6M6 144 60_6
M6 144 60_6
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 
M6 144 60_7
M6 144 60_7M6 144 60_7
M6 144 60_7
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
 
M6 78 60_9
M6 78 60_9M6 78 60_9
M6 78 60_9
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
ชอล์กกำจัดมดจากเปลือกไข่
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
M6 144 60_3
M6 144 60_3M6 144 60_3
M6 144 60_3
 

Similar to M6 143 60_3

M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
Wichai Likitponrak
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korTheyok Tanya
 
M6 125 60_7
M6 125 60_7M6 125 60_7
M6 125 60_7
Wichai Likitponrak
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อWisan Butsaman
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
Wichai Likitponrak
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้Tayicha Phunpowngam
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
เวทมนตร์แห่งความสะอาด(607,6,9)
เวทมนตร์แห่งความสะอาด(607,6,9)เวทมนตร์แห่งความสะอาด(607,6,9)
เวทมนตร์แห่งความสะอาด(607,6,9)
adthakron09
 
M6 125 60_4
M6 125 60_4M6 125 60_4
M6 125 60_4
Wichai Likitponrak
 
M6 126 60_10
M6 126 60_10M6 126 60_10
M6 126 60_10
Wichai Likitponrak
 
แผนการเรียนรู้เกษตร4
แผนการเรียนรู้เกษตร4แผนการเรียนรู้เกษตร4
แผนการเรียนรู้เกษตร4juckit009
 
Projectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom'sProjectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom'sTheyok Tanya
 
โครงงาน607
โครงงาน607โครงงาน607
โครงงาน607
adthakron09
 
โครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spitโครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spitsledped39
 
2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอม2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอม
Jaturaphun
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมKaka619
 

Similar to M6 143 60_3 (20)

M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 kor
 
M6 125 60_7
M6 125 60_7M6 125 60_7
M6 125 60_7
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้งานคอมพราวเอ้
งานคอมพราวเอ้
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
เวทมนตร์แห่งความสะอาด(607,6,9)
เวทมนตร์แห่งความสะอาด(607,6,9)เวทมนตร์แห่งความสะอาด(607,6,9)
เวทมนตร์แห่งความสะอาด(607,6,9)
 
M6 125 60_4
M6 125 60_4M6 125 60_4
M6 125 60_4
 
M6 126 60_10
M6 126 60_10M6 126 60_10
M6 126 60_10
 
แผนการเรียนรู้เกษตร4
แผนการเรียนรู้เกษตร4แผนการเรียนรู้เกษตร4
แผนการเรียนรู้เกษตร4
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
Projectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom'sProjectm6 2-2554 tom's
Projectm6 2-2554 tom's
 
184 bb10
184 bb10184 bb10
184 bb10
 
โครงงาน607
โครงงาน607โครงงาน607
โครงงาน607
 
โครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spitโครงงาน Banana spit
โครงงาน Banana spit
 
2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอม2557 โครงงาน คอม
2557 โครงงาน คอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
Wichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
Wichai Likitponrak
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
Wichai Likitponrak
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
Wichai Likitponrak
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

M6 143 60_3

  • 1. โครงงาน เรื่อง ผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อความสูงของต้นมะกรูด เสนอ นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา สมาชิก 1. นางสาวพรธีรา มณฑา เลขที่ 10 2. นางสาวพรรณภัทร ปิยภากรวุฒิกุล เลขที่11 3. นางสาวพรรษมน อิ้งจะนิล เลขที่ 12 4.นางสาวมนัสวี กิจสมมารถ เลขที่ 14 โครงงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ว 30245 ชีววิทยา 5 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 2. กิตติกรรมประกาศ โครงงานนี้สาเร็จลุล่วงได้ด้วยความกรุณาจากอาจารย์วิชัย อาจารย์ที่ปรึกษา โครงงานที่ได้ให้คาเสนอแนะ แนวคิด ตลอดจนแก้ไขข้อบกพร่องต่างๆมาโดยตลอดจนโครงงานเล่มนี้เสร็จ สมบูรณ์ ผู้ศึกษาจึงขอกราบขอบพระคุณเป็นอย่างสูง ขอกราบขอบพระคุณ คุณพ่อ คุณแม่ และผู้ปกครองที่ให้คาปรึกษาให้เรื่องต่างๆ รวมทั้งเป็น กาลังใจที่ดีเสมอมา สุดท้ายขอบคุณเพื่อนๆในกลุ่มที่ช่วยไปเลือกซื้อต้นไม้ฮอร์โมนพืชและอุปกรณ์ต่างๆตลอดจนโครงงานนี้ สาเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี คณะผู้จัดทา กลุ่ม 3 ห้อง 143
  • 3. คานา รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชา ว30245 ชีววิทยา5 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่6 โดยมีจุดประสงค์ เพื่อ การศึกษาความสัมพันธ์ของฮอร์โมนที่มีอิทธิพลต่อพืช ซึ่งรายงานนี้มีเนื้อหาเกี่ยวกับรายละเอียดของการทา โครงงาน ขั้นตอนการเตรียมอุปกรณ์ เตรียมสารเคมี ตารางบันทึกผล รวมไปถึงสรุปผลของการทดลอง โครงงาน ผู้จัดทาได้เลือก หัวข้อนี้ในการทารายงาน เนื่องมาจากเป็นเรื่องที่น่าสนใจ โดยจะต้องขอขอบคุณ อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ผู้เป็นอาจารย์ที่ปรึกษาโครงงานที่ให้ความช่วยเหลือ ให้ความรู้ คาแนะนามาโดยตลอด ผู้จัดทาหวังว่ารายงานฉบับนี้จะให้ความรู้ และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุก ๆ ท่านไม่มากก็น้อย เพื่อเป็น แนวทางในการศึกษาต่อไป คณะผู้จัดทา
  • 5. 1 โครงงาน : ผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินต่อความสูงของต้นมะกรูด 1. ที่มา และความสาคัญ เนื่องจาก ต้นมะกรูดเป็นพืชท้องถิ่นที่คนไทยนิยมนามาใช้ประโยชน์มากมายไม่ว่าจะเป็นในด้าน การประกอบอาหารหรือการผลิตภัณฑ์แปรรูปต่างๆ และเป็นพืชที่สามารถหาได้ทั่วไป ดังนั้นจึงไม่ แปลกที่ต้นไม้ชนิดนี้จะติดอยู่ในความต้องการในตลาดต้นไม้อยู่ตลอด ซึ่ง นอกจากนี้คณะผู้จัดทายัง ทราบมาว่า ฮอร์โมนพืชบางชนิด เช่น ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน มีส่วนเกี่ยวข้องกับการเจริญเติบโต ของต้นไม้ได้ทั้งการทาให้เกิดดอก ทาให้ลาต้นยืด หรืออาจจะสามารถกดการเจริญเติบโตของพืช ได้ คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนจิบ เบอเรลลินที่มีต่อการยืดเซลล์ลาต้นของต้นมะกรูดโดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบผล ของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อต้นมะกรูดในความเข้มข้นต่างๆคณะผู้รับผิดชอบโครงงานการ ทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมีประโยชน์ต่อสาธารณชนโดยรวมใน อนาคตต่อไป 2. ปัญหา : ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นมะกรูดหรือไม่ อย่างไร 3. สมมติฐาน : ต้นมะกรูดที่ได้รับฮอร์โมนจิบเบอเรลลินจะมีความสูงมากกว่าต้นที่ไม่ได้รับฮอร์โมน 4. จุดประสงค์การทดลอง 4.1 เพื่อให้ทราบผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินต่อการเจริญเติบโตของต้นมะกรูด 4.2 เพื่อฝึกพัฒนาทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5. ตัวแปร 5.1 ตัวแปรต้น : ปริมาณความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ให้แก่ต้นมะกรูด 5.2 ตัวแปรตาม : ความสูงที่เพิ่มขึ้นของต้นมะกรูดแต่ละต้น
  • 6. 2 5.3 ตัวแปรควบคุม : ชนิดพันธุ์ของต้นมะกรูด ปริมาณดิน ความถี่ของการรดน้า ความถี่ของการให้ฮอร์โมน 6. รายละเอียดอุปกรณ์การทดลอง 6.1 ต้นมะกรูด 9 ต้น พร้อมดิน และกระถาง 6.2 ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 25 มิลลิลิตร 6.3 น้า 1 ลิตร 6.4 ขวดสเปรย์ปริมาตร 500 มิลลิลิตร 2 ขวด 6.5 ไซริงค์ 1 หลอด 7. ระยะเวลาในการทดลอง : ตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน พ.ศ.2560 จนถึงวันที่ 2 สิงหาคม พ.ศ.2560 8. ข้อมูลรายละเอียดของพืชและฮอร์โมนที่นามาทดลอง รายละเอียดของต้นมะกรูด มะกรูด เป็นพืชในสกุลส้ม (Citrus) เป็นไม้ยืนต้นขนาด เล็ก เป็นไม้เนื้อแข็ง ลาต้นและกิ่งมีหนามยาวเล็กน้อยใบเป็นใบ ประกอบชนิดลดรูป มีใบย่อย 1 ใบ เรียงสลับ รูปไข่ คือมีลักษณะ คล้ายกับใบไม้2 ใบ ต่อกันอยู่ คอดกิ่วที่กลางใบเป็นตอนๆ มีก้าน แผ่ออกใหญ่เท่ากับแผ่นใบ ทาให้เห็นใบเป็น 2 ตอน กว้าง 2.5-4 เซนติเมตร ยาว 4-7 เซนติเมตร ใบสีเขียวแก่พื้นผิวใบเรียบเกลี้ยง เป็นมัน ค่อนข้างหนามีกลิ่นหอมมากเพราะ มีต่อมน้ามันอยู่ ใบด้านบนสีเข้ม ใต้ใบสีอ่อน ดอกออกเป็นกระจุก 3 – 5 ดอก กลีบดอกสีขาว เกสรสีเหลือง ร่วงง่ายมีกลิ่นหอม มีผลสีเขียวเข้มคล้ายมะนาวผิวเปลือกนอกขรุขระ ขั้วหัวท้ายของผลเป็นจุก ผลอ่อนมีเป็น
  • 7. 3 สีเขียวแก่ เมื่อผลสุกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองสด พันธุ์ที่มีผลเล็ก ผิวจะขรุขระน้อยกว่าและไม่มีจุกที่ขั้ว ภายใน มีเมล็ดจานวนมาก ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้นิยมใช้ใบมะกรูดและผิวมะกรูดเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องปรุง อาหารหลายชนิด นอกจากในประเทศไทยและลาวแล้วยังมีความนิยมในกัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย และ อินโดนีเซีย (โดยเฉพาะบาหลี) ชื่อสามัญ : Porcupine Orange, Kiffir Lime, Leech Lime ชื่อวิทยาศาสตร์ : Citrus hystrix DC. วงศ์ : Rutaceae ลักษณะทั่วไป ไม้ต้นขนาดเล็ก สูง 2-8 เมตร เปลือกต้นเรียบ สีน้าตาล มีหนามแหลมตามกิ่งก้าน ใบ เป็นใบ ประกอบที่มีใบย่อยใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ ปลายใบและโคนใบมน ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบเป็นมันสีเขียว เข้ม มีต่อมน้ามันอยู่ตามผิวใบ มีกลิ่นหอมเฉพาะ ก้านใบมีปีกดูคล้ายใบ ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบที่ปลาย กิ่ง ดอกสีขาว กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ กลีบดอกมี 5 แฉก โคนกลีบดอกติดกัน ผล เป็นรูปทรงกลมหรือรูปไข่ โคนผลเรียวเป็นจุก ผิวขรุขระ มีต่อมน้ามัน ผลอ่อนสีเขียวแก่ สุกเป็นสีเหลือง มีรสเปรี้ยว เมล็ดกลมรี สีขาว มีหลายเมล็ด สารสาคัญ ในใบและผลมะกรูด เมื่อนามากลั่นด้วยไอน้าจะให้น้ามันหอม ระเหยในปริมาณ 0.08 % และ4 % ตามลาดับ น้ามันหอมระเหยจากผิวมะกรูดมักประกอบด้วยเบต้า-ไพนีน, ไลโมนีนและซาบินีน เป็นสารหลัก ส่วนน้ามันหอมระเหยจากใบจะประกอบด้วย ซีโทรเนลลาล,ไอโซพูลิโกล และไลนาลูออล เป็นสารหลัก ส่วนในน้ามะกรูดมีกรดซิตริก ไวตามินซี และกรดอินทรีย์ชนิดอื่น ๆ เป็นส่วนประกอบ คุณสมบัติ 1.ใช้เป็นยาหรือส่วนผสมของยาต่าง ๆ คือ น้าในผลแก้อาการท้องอืด ช่วยให้เจริญอาหาร น้ามะกรูดใช้ดอง ยา เพื่อใช้ฟอกเลือด และบารุงโลหิตสตรี เป็นต้น 2.ใช้ในอุตสาหกรรมเครื่องหอมและเครื่องสาอางค์ต่าง ๆ 3.กรด Citric ช่วยขจัดคราบสบู่ (ด่าง) ที่หลงเหลืออยู่ ทาให้ผมหวีง่าย น้ามันจากผิวมะกรูดช่วยให้ผมดกเป็น เงางาม
  • 8. 4 4.ใช้ปรุงแต่งกลิ่นรสอาหาร ในดับกลิ่นคาวของอาหาร ใช้เป็นส่วนผสมในเครื่องแกงต่าง ๆ รายละเอียดของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน บทบาทของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินต่อพืช 1. กระตุ้นการขยายตัวของเซลล์โดยการเพิ่มความยืดหยุ่นของผนังเซลล์ ทาให้เซลล์มีรูปร่างยืดยาวขึ้น 2. กระตุ้นการเจริญของรากโดยเฉพาะการเจริญของรากแรกเกิด (Radicle) รากต้องการจิบเบอเรลลินใน ปริมาณที่น้อยกว่าลาต้น เช่นรากต้องการ GA3 ในระดับนาโนโมลาร์ แต่ยอดต้องการในระดับไมโครโมลาร์ 3. จิบเบอเรลลินมีผลต่อพัฒนาการของดอกโดยเฉพาะพัฒนาการของก้านชูเกสรตัวผู้และกลีบดอก 4. กระตุ้นการติดผล ในพืชหลายชนิด เช่น ส้ม มะเขือเทศ องุ่น การได้รับจิบเบอเรลลินช่วยให้เกิดการติดผล โดยไม่ต้องผสมเกสรได้ 5. กระตุ้นการงอกของเมล็ด แสงสีแดงกระตุ้นการงอกของเมล็ดได้โดยกระตุ้นให้มีการสร้างจิบเบอ เรลลินมากขึ้น 6. การเปลี่ยนเพศดอก จิบเบอเรลลินช่วยทาให้พืชตระกูลแตงหรือพืชที่แยกดอกตัวผู้และดอกตัวเมีย เกิด ดอกตัวผู้มากขึ้นได้ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงพันธุ์พืช 7. จิบเบอเรลลินช่วยทาลายระยะพักตัวของพืชทั้งการพักตัวของตาและเมล็ด โดยข่มฤทธิ์ของ ABA ซึ่งทาให้ เกิดระยะพักตัว 8. หลังการงอก จิบเบอเรลลินสนับสนุนการยืดตัวของข้อและการแผ่ขยายของใบ 9. ควบคุมให้พืชอยู่ในสภาวะอ่อนวัย เช่นการทาให้ใบของ Hedera helix คงอยู่ในสภาพของใบในระยะอ่อน วัยซึ่งมีความสวยงามกว่าใบในระยะเต็มวัยพร้อมสืบพันธุ์ได้ 10. กระตุ้นการออกดอก การได้รับจิบเบอเรลลินสามารถทดแทนความต้องการช่วงแสงยาวในช่วงกลางวัน ของพืช วันยาว และความต้องการความหนาวเย็นก่อนออกดอกของพืชได้
  • 9. 5 9. วิธีการเก็บข้อมูล เก็บข้อมูลโดยการวัดส่วนสูงของต้นมะกรูด โดยใช้ไม้บรรทัดวัดจากขอบกระถางมาจนถึงยอดสูงสุดของต้น มะกรูด นับแต่เริ่มทาการทดลอง จนกระทั่งสิ้นสุดการทดลอง ในทุกๆอาทิตย์เป็นเวลา 7 สัปดาห์ 10. ขั้นตอนการทดลอง 10.1 เตรียมสารละลายจิบเบอเรลลิน ในขวดสเปรย์ทั้งสองขวด ขวดที่ 1 ความเข้มข้น 0.5 % โดย ปริมาตร และขวดที่ 2 ความเข้มข้น 2 % โดยปริมาตร 10.2 แบ่งต้นมะกรูดทั้ง 9 ต้นออกเป็น 3 ชุด ชุดละ 3 ต้น สาหรับต้นมะกรูดชุดที่ 1 ใช้เป็นชุดเปรียบเทียบ ไม่ต้องฉีดพ่นสารละลายจิบเบอเรลลิน ฉีดพ่นต้นมะกรูดชุดที่ 2 (high dose) ด้วยสารละลายจิบเบอเรลลิน ความเข้มข้น 2 % สัปดาห์ละ 2 ครั้ง ฉีดพ่นต้นมะกรูดชุดที่ 3 (low dose) ด้วยสารละลายจิบเบอเรลลิน ความเข้มข้น 0.5 % สัปดาห์ละ 2 ครั้ง 10.3 วัดความสูงต้นมะกรูดทั้ง 9 ต้น สัปดาห์ละ 1 ครั้ง เป็นเวลา 7 สัปดาห์ จดบันทึกความสูงของต้นมะกรูด แล้วนามาเปรียบเทียบ
  • 10. 6 11. ผลการทดลอง ตารางบันทึกความสูงของต้นมะกรูด (cm.) วันที่ ความสูงของต้นมะกรูด (ซม.) ชุด High dose ชุด Low dose ชุดควบคุม ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3 เฉลี่ย ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3 เฉลี่ย ต้นที่ 1 ต้นที่ 2 ต้นที่ 3 เฉลี่ย 8-มิ.ย.-60 69 79 105 84.333 68 68 82 72.67 85 83 76.5 81.5 13-มิ.ย.- 60 73 81 109 87.667 70 71 84 75 88 85 77 83.333 25-มิ.ย.- 60 76 85 112 91 72 74 87 77.67 90 86 78 84.667 14-ก.ค.- 60 78.5 88 114 93.5 74 77 90 80.33 92 89 80 87 2-ส.ค.-60 79 88 116 94.333 75 77 91 81 92 89 81 87.333 กราฟของผลการทดลอง 0 10 20 30 40 50 60 70 80 90 100 8-มิ.ย.-60 15-มิ.ย.-60 22-มิ.ย.-60 29-มิ.ย.-60 6-ก.ค.-60 13-ก.ค.-60 20-ก.ค.-60 27-ก.ค.-60 ความสูงของต้นมะกรูด (ซม.) ชุด High dose เฉลี่ย ความสูงของต้นมะกรูด (ซม.) ชุด Low dose เฉลี่ย ความสูงของต้นมะกรูด (ซม.) ชุด ควบคุม เฉลี่ย
  • 11. 7 12. สรุปผลและข้อเสนอแนะ จากตารางบันทึกผลการทดลอง พบว่า กลุ่มตัวอย่างต้นมะกรูดที่ได้รับฮอร์โมนจิบเบอ เรลลิน มีความสูงเพิ่มขึ้นเร็วกว่ากลุ่มตัวอย่างที่ไม่ได้รับฮอร์โมนและกลุ่มตัวอย่างที่ได้รับฮอร์โมน จิบเบอเรลลินมากมีความสูงเพิ่มขึ้นเร็วกว่ากลุ่มตัวอย่างที่ได้รับฮอร์โมนที่น้อยกว่า ดังนั้นจึงสามารถสรุปได้ว่า ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลต่อความสูงของพืช และแปรผัน ตามความเข้มข้นของปริมาณฮอร์โมนที่พืชรับ และที่ความเข้มข้น 2% โดยปริมาตร ต้นมะกรูดจะ เจริญได้ดีที่สุด ข้อเสนอแนะ 1. ต้นที่ 1 ของกลุ่ม High dose มีใบที่ใหญ่ผิดปกติ ดังนั้น จิบเบอเรลลินน่าจะมีผลต่อ ขนาดของใบด้วยเช่นกัน ภาพใบของต้นที่ 1 กลุ่ม high dose ภาพใบของต้นกลุ่มควบคุม 2. ต้นที่ 1 ของกลุ่มชุดควบคุม มีผลมะกรูด ดังนั้น จิบเบอเรลลินไม่มีผลต่อการเกิดดอกหรือออก ผลของมะกรูด ภาพผลมะกรูดของต้นที่ 1ชุดควบคุม
  • 12. 8 ภาคผนวก ภาคผนวกที่ 1 รูปแสดงวัสดุอุปกรณ์ ต้นมะกรูด Syringe ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน และ ฟ็อกกี้ กระถางต้นไม้ ป้ายชื่อ
  • 13. 9 ภาคผนวกที่ 2 รูปแสดงการนาต้นไม้ที่ซื้อมาวางที่โรงเรียน ภาคผนวกที่ 3 รูปแสดงการจัดเตรียมฮอร์โมนโดยนาฮอร์โมนไปละลายน้าโดยมีความเข้มข้นที่ต่างกัน 3 ระดับคือ high-dose low-dose และชุดควบคุม (น้าเปล่า)
  • 14. 10 ภาคผนวกที่ 4 รูปแสดงการฉีดฮอร์โมนที่ผสมไว้ลงบนต้นมะกรูด ภาคผนวกที่ 5 รูปแสดงการวัดความสูงของงต้นมะกรูด ภาคผนวกที่ 6 รูปแสดงการติดป้ายชื่อบนต้นมะกรูด
  • 16. 12 บรรณานุกรม http://www.the-than.com/samonpai/sa_16.html http://www.plantmediashop.com/store/article/view/อิทธิพลและประโยชน์ของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินในการผลิตพืช- 51977-th.html http://www.student.chula.ac.th/~56370053/gibberellins.html http://web.agri.cmu.ac.th/hort/course/359311/PPHY10_hormone.htm http://www.the-than.com/samonpai/sa_16.html อ้างอิง เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้สานักวิชาการป่าไม้กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ. สมพร ภูติยานันต์, 2551. สมุนไพรใกล้ตัว เล่ม 13 : สมุนไพรแต่งสี กลิ่น รส. วิทยาศาสตร์เภสัชกรรม คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่. ตุลย์การพิมพ์, เชียงใหม่.