SlideShare a Scribd company logo
1 of 18
Download to read offline
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อความสูงของต้นมะลิลา
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. น.ส.ชญาณิศ เจียสกุล เลขที่ 2
2. น.ส. ชนากานต์ ชนะสิทธิ์ เลขที่ 4
3. น.ส. อิสริยาภรณ์ ขาวงาม เลขที่ 20
4. น.ส. อิสรีย์ พฤกษ์สุนันท์ เลขที่ 21
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 78
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
บทคัดย่อ
ในปัจจุบัน เกษตรกรนิยมใช้ฮอร์โมนในการเร่งการเจริญเติบโตของต้นไม้ ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ
ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin) โดยฮอร์โมนจิบเบอเรลลินเป็นฮอร์โมนพืชที่สามารถควบคุมการ
เจริญเติบโต และมีอิทธิพลต่อกระบวนการพัฒนาการของพืช ทั้งด้านการยืดข้อ การงอ การพักตัว และการ
ออกดอก โดยการตอบสนองจะปรากฏเด่นชัดเมื่อให้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินกับพืชในปริมาณที่เหมาะสม
ซึ่งเกษตรกรมักจะใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินกับไม้ดอก ไม้ประดับ เพื่อการเจริญเติบโตของต้นและดอกอย่าง
รวดเร็ว เป็นต้น จากข้อมูลดังกล่าวทาให้คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชเกิดข้อสงสัยว่า
ปริมาณความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินเท่าไรที่เหมาะสมต่อความสูงของต้นมะลิลามากที่สุดจึงเกิด
เป็นโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชครั้งนี้
จากการศึกษาความสูงของต้นมะลิลาโดยมีตัวแปรคือระดับความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
ที่แตกต่างกันโดยมีชุดควบคุม และชุดทดลอง 2 ชุด คือ ชุดที่ฮอร์โมนมีความเข้มข้นต่า และชุดที่ฮอร์โมนมี
ความเข้มข้นสูง พบว่าชุดที่ฮอร์โมนมีความเข้มข้นสูงมีระดับความสูงที่มากที่สุด
ก
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่อง ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อความสูงของต้นมะลิลา จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้า
ไม่ได้รับการช่วยเหลือจากนายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้
วิทยาศาสตร์ครูประจาวิชา ที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงานตลอดการทางาน
ขอขอบคุณผู้ปกครอง และครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ที่ให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ ทั้ง
ความรู้ความเข้าใจและกาลังใจตลอดมา
คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
ข
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
บทที่ 1 บทนา
- ที่มาและความสาคัญ 1
- ปัญหา 1
- สมมติฐานการทดลอง 1
- วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1
- ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1
- ขอบเขตการวิจัย 1
- ระยะเวลาในการทดลอง 1
- ตัวแปร 2
- วิธีการเก็บข้อมูล 2
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
- ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 3
- ข้อมูลพรรณไม้มะลิลา 4
บทที่ 3 การดาเนินงาน
- วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 6
- ขั้นตอนการทาโครงงาน 6
บทที่ 4 ผลการทดลอง
- ตารางบันทึกผลการทดลอง 8
- กราฟเส้นแสดงผลการทดลอง 9
บทที่ 5 สรุป อภิปราย และ เสนอแนะ
- สรุปผลการทดลอง 10
- ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 10
บรรณานุกรม 11
ภาคผนวก 12
ค
1
บทที่ 1
บทนา
ที่มาและความสาคัญ
เนื่องจาก ต้นมะลิลาเป็นไม้ดอกที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในประเทศไทย ทั้งยังนิยมปลูก
เป็นพืชทางธุรกิจทั้งภายในประเทศและการส่งออก โดยสามารถนาผลผลิตจากต้นมะลิลามาแปรรูปได้อย่าง
หลากหลาย เช่น พวงมาลัย ดอกไม้แห้ง รวมถึงอุตสาหกรรมน้ามันหอมระเหย นอกจากนี้ ฮอร์โมนจิบเบอ
เรลลินนั้นก็เป็นฮอร์โมนที่เป็นที่นิยมกันในหมู่เกษตรกรซึ่งมีอิทธิผลต่อพืชในหลายๆอย่างซึ่งหนึ่งในนั้นคือ
ความสูงของพืชนั่นเอง
คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนจิบ
เบอเรลลินที่มีต่อความสูงของต้นมะลิลา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่าฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลต่อความ
สูงของต้นมะลิลาในลักษณะอย่างไรคณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็น
อย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมีประโยชน์ต่อผู้ทาการเกษตรและผู้ที่สนใจในการศึกษาในอนาคตต่อไป
ปัญหา
สารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้นใดจะส่งผลให้ต้นมะลิลามีความสูงมากที่สุด
สมมติฐานการทดลอง
ถ้าฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อความสูงเจริญดีที่สุด ดังนั้น สารละลายฮอร์โมน จิบเบอเรลลินที่
ความเข้มข้น 35%w/v จะทาให้ต้นมะลิลามีความสูงมากที่สุด
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินว่ามีผลต่อความสูงของต้นมะลิลาอย่างไร
2. เพื่อเปรียบเทียบฮอร์โมนจิบเบอเรลลินระหว่างความเข้มข้นต่าและสูงว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องฮอร์โมนที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต
2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบความเข้มข้นระหว่างความเข้มข้นต่าและความเข้มข้นสูงว่ามีผลต่างกันมาก
น้อยเพียงใด
3. เป็นการส่งเสริมการนาฮอร์โมนไปใช้ในการเกษตร
ขอบเขตการวิจัย
การทาโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะความสูงของต้นมะลิลา
ระยะเวลาในการทดลอง
7 มิถุนายน 2560 – 3 สิงหาคม 2560
2
ตัวแปร
ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
ตัวแปรตาม คือ ความสูงของต้นมะลิลา
ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณดิน อุณหภูมิ สภาพอากาศ ปริมาณการให้ฮอร์โมนและการรดน้า
วิธีการเก็บข้อมูล
ใช้ไม้บรรทัดวัดความสูงของต้นมะลิลาจากโคนต้นทุกๆสัปดาห์
3
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
จิบเบอเรลลิน (Gibberellin)
เป็นฮอร์โมนพืชที่มีโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ ควบคุมการเจริญเติบโตและมีอิทธิพลต่อ
กระบวนการทางพัฒนาการรวมทั้งการยืดของข้อ การงอก การพักตัว การออกดอก การแสดงเพศ การชักนา
การสร้างเอนไซม์รวมทั้งการชราของดอกและผล จิบเบอเรลลินถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2469 โดย
นักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่น Eiichi Kurosawa ผู้ศึกษาโรคบากาเนะในข้าว เริ่มจากการศึกษาต้นข้าวที่เป็นโรค
Bakanae ซึ่งมีลักษณะสูง ผอม เกิดจากเชื้อรา Gibberella fujikuroi และถูกสกัดออกมาเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.
2478 โดยTeijiro Yabuta จากเชื้อราG. fujikuroi เมื่อสกัดสารที่เชื้อรานี้สร้างขึ้นไปทดสอบกับพืชชนิดอื่น
พบว่าทาให้พืชนั้นๆมีอาการอย่างเดียวกันคือต้นผอม สูง จึงตั้งชื่อสารที่พบนี้ว่าจิบเบอเรลลิน สารที่พบชนิด
แรกตั้งชื่อว่าจิบเบอเรลลินต่อมามีการพบอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลินจากราอีกหลายชนิด รวมทั้งในพืช
ใน พ.ศ. 2546 พบจิบเบอเรลลินแล้ว 126 ชนิดทั้งที่แยกได้จากพืช รา และแบคทีเรีย
คุณลักษณะทางเคมีและการสังเคราะห์
จิบเบอเรลลินเป็นสารกลุ่มไดเทอร์พีนอยด์ที่สังเคราะหืโดยวิถึเทอร์พีนอยด์ในพลาสติดแล้วจึง
เปลี่ยนรูปในเอนโดพลาสมิก เรกติคิวลัมและไซโตซอลจนได้รูปที่ออกฤทธิ์ในสิ่งมีชีวิตได้จิบเบอเรลลิน
ทั้งหมดมีโครงสร้างหลักเป็น ent-gibberellane ที่สังเคราะห์มาจาก ent-kaurene การสังเคราะห์จิบเบอเรลลิน
ในพืชชั้นสูงเริ่มจากสร้าง Geranylgeranyl diphosphate (GGDP) ซึ่งเป็นสารตั้งต้นของสารกลุ่มดีเทอร์พี
นอยด์โดยทั่วไป จากนั้นจึงเปลี่ยน GGDP ไปเป็น ent-kaurene แล้วจึงเปลี่ยนเป็น GA12 แล้วจึงเปลี่ยนต่อไป
เป็นจิบเบอเรลลินตัวอื่นๆ [3]จิบเบอเรลลินเป็นอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิก (Gibberellic acid) จัดเป็นสาร
กลุ่มดีเทอร์พีนอยด์(Diterpenoid) ปัจจุบันพบแล้วมากกว่า80 ชนิด
โครงสร้างฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
4
ต้นมะลิลา
ข้อมูลพรรณไม้
มะลิลา มีชื่อวิทยาศาตร์ว่า Jasminum sambac มีถิ่นกาเนิดจากประเทศอินเดีย เป็นไม้กลางแจ้งชอบ
แสงแดดจัด เจริญเติบโตดีในที่ดินร่วนซุย ต้นมีลักษณะเป็นพุ่ม สูงประมาณ 1.50 เมตร แต่จัดเป็นไม้รอเลื้อย
เพราะมีกิ่งกึ่งอ่อนและกิ่งกึ่งแก่ ที่อาจจะยืดตัวพันกับสิ่งอื่นได้กิ่งอ่อนและกิ่งกึ่งอ่อนกึ่งแก่มีขน ใบเป็นใบ
เดี่ยว ใบออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน ใบเป็นรูปไข่ ขอบเรียบ สามารถออกดอกได้เกือบตลอดทั้งปี แต่จะออกดอก
มากในช่วงฤดูร้อนและฤดูฝน ออกดอกเป็นช่อๆ ละ 3 ดอก ดอกกลางบานก่อน กลีบดอกชั้นเดียว ปลายกลีบ
มน ดอกมีสีขาว กลิ่นหอม มักจะเริ่มขยายกลีบและส่งกลิ่นหอมในช่วงเวลาเย็นจนถึงวันรุ่งขึ้น ดอกบาน
เต็มที่ประมาณ 2 ซม.
ใบ ใบเรียงตรงข้าม ใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อยใบเดียว รูปไข่ รีหรือรีขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 6-
10 ซม. โคนใบมนหรือสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ผิวใบเรียบเป็นมัน ด้านท้องใบเห็นเส้นใบชัดเจน
เส้นใบขนาดใหญ่มี 4-6คู่ ก้านใบสั้นมากและมีขน
5
ดอก ดอกช่อออกตามซอกใบและปลายกิ่ง มีทั้งดอกลาและดอกซ้อน โคนกลีบดอกจะเชื่อมกันเป็นหลอด
ยาวประมาณ 1.5 ซม. ปลายแยกเป็น 5-8 กลีบ เมื่อดอกย่อยบานมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3ซม. ดอกที่อยู่ตรง
กลางจะบานก่อน มีกลิ่นหอมแรง แต่ละดอกมีกลีบเลี้ยงเป็นหลอดสีเขียวอมเหลืองอ่อน ส่วนปลายแยกเป็น
เส้น เกสรเพศผู้2 อันติดกับกลีบดอกในหลอดสีขาว มักไม่ติดผล
ผล เป็นผลสด สีดา
การขยายพันธุ์มะลิลา ใช้วิธีตอนกิ่ง ปักชา หรือทับกิ่ง
ประโยชน์ของมะลิลา
ดอกสดหรือดอกแห้ง ใบ ต้มกินแก้โรคบิด ปวดท้อง ดอกสดตาพอกแก้ปวดศีรษะ ผิวหนังผื่นคัน ดอกใช้ทา
พวงมาลัย ทาน้าหอม และบูชาพระ ดอกแห้งใช้เป็นยาแต่งกลิ่น ดอกมะลาลินี้ใช้เป็นดอกไม้ของวันแม่
แห่งชาติ
โรคแมลงและการป้องกันกาจัด
1. โรครากเน่า เกิดจากเชื้อรา เป็นโรคร้ายแรงชนิดหนึ่งซึ่งจะเกิดกับมะลิที่มีอายุมากกว่า 1 ปี อาการ มะลิจะ
เหลือง เหี่ยว และทิ้งใบ เมื่อขุดต้นดูพบว่ารากเน่าเปื่อยและที่โคนมีเส้นใยสีขาว การป้องกันกาจัด ต้นที่เป็น
โรคให้ถอนต้นและดินในหลุมไปเผาไฟ แล้วใช้ปูนขาวหรือสารเคมีพวกเทอราคลอผสมน้าราดลงดิน
2. โรคแอนแทรคโนส เกิดจากเชื้อรา อาการ จะพบจุดสีน้าตาลอ่อน บนใบขอบแผลเป็นสีน้าตาลแก่เห็น
เด่นชัด แผลจะขยายลุกลามออกไป และมีลักษณะเป็นวงซ้อนกัน เนื้อเยื่อของแผลแห้งกรอบตรงกลางแผล
เวลาอากาศชื้น ๆ จะพบสปอร์เกิดเป็นหยดสีส้มอ่อน ๆ ขนาดแผลขยายใหญ่ไม่มีขอบเขตจากัดจนดูเหมือน
โรคใบแห้ง การป้องกันกาจัด ใช้ยาป้องกันกาจัดเชื้อราฉีดพ่น เช่น ดาโคนิล เบนเลท
3. หนอนกินใบ จะระบาดมากในฤดูฝน โดยจะพับใบมะลิเข้าด้วยกัน แล้วซ่อนตัวอยู่ในนั้น และจะกัดกิน
ทาลายใบไปด้วย การป้องกันกาจัด ใช้สารเคมีประเภทโมโนโครโตฟอส เช่น อโซดริน อัตรา 20 ซีซี ต่อน้า
20 ลิตร ฉีดพ่นทุก 4-6 วัน เมื่อมีการระบาด
4. เพลี้ยไฟ ดูดกินน้าเลี้ยงจากใบและดอก ทาให้ส่วนที่ถูกทาลาย หงิกงอ แคระแกรน เสียรูปทรง การป้องกัน
กาจัด ใช้สารเคมีฉีดพ่น เช่น พอสซ์คูมูลัส
6
บทที่ 3
การดาเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. กระถางต้นไม้
2. แผ่นรองกระถาง
3. ขวดน้า(ใช้ในการรดน้า)
4. สเปรย์พลาสติกบรรจุสารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน high dose , low dose และน้าเปล่า
5. ต้นมะลิลา 9 ต้น
6. ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
ขั้นตอนการทาโครงงาน
1. ประชุมวางแผนคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ ซึ่งคือ การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อ
ความสูงของต้นมะลิลา
2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานดังนี้
2.1. การเพาะเลี้ยงต้นมะลิลา
2.2. ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
2.3. ลักษณะทางพฤกศาสตร์ของต้นมะลิลา
2.4. โรคติดต่อของพืช
3. วางแผนรายละเอียดการทดลอง
3.1. การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของจิบเบอเรลลินของแต่ละความเข้มข้นที่มีผลต่อความสูงของต้น
มะลิลา
4. ปรึกษากันในการใช้พื้นที่บริเวณหน้าตึกศิลปะในการทาการศึกษา
5. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทาการทดลองเปรียบเทียบประสิทธิภาพของจิบเบอเรลลินของแต่ละความ
เข้มข้นในที่มีผลต่อความสูงของต้นมะลิลา
5.1.1. ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 35%w/vและความเข้มข้น 30%w/v
5.1.2. ต้นมะลิลา 9 ต้น
5.1.3. ที่ฉีดสเปรย์ 3 อัน
5.1.4. สมุดบันทึก
7
6. ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง
6.1. การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินของแต่ละความเข้มข้นที่มีผลต่อความสูง
ของต้นมะลิลา
6.1.1. เตรียมต้นมะลิลาไว้9 ต้น วางไว้บริเวณเดียวกัน แบ่งการทดลองเป็น 3 ชุด ชุดละ 3 ต้น เป็น
ชุด control low dose และ high dose
6.1.2. ชุด controlฉีดน้ากลั่น ต้นละ 10 ครั้ง ชุด low dose ฉีดฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น
30%w/v ต้นละ 10 ครั้ง ชุด high dose ฉีดฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 35%w/v ต้นละ
10 ครั้ง
6.1.3. รดน้าทุกต้นใบปริมาณที่เท่ากัน
6.1.4. สารวจและบันทึกความสูงทุกๆสัปดาห์
7. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เป็นระยะ
8. จัดทาเอกสารเป็นรูปเล่มโครงงานให้สมบูรณ์
9. จัดทาสื่ออภิปรายแสดงผลการทดลอง
10. จัดทาการส่งโครงงานแก่อาจารย์ที่ปรึกษา
8
บทที่ 4
ผลการทดลอง
ตารางแสดงความสูงของต้นไม้ที่ได้รับฮอร์โมนความเข้มข้นต่างๆ
วัน/
เดือน/ปี
ชุดควบคุม ชุด Low Dose ชุด High Dose
ความสูง
กระถางที่
1 (cm)
ความสูง
กระถาง
ที่2 (cm)
ความสูง
กระถาง
ที่3 (cm)
ความสูง
กระถาง
ที่1 (cm)
ความสูง
กระถาง
ที่2 (cm)
ความสูง
กระถาง
ที่3 (cm)
ความสูง
กระถาง
ที่1 (cm)
ความสูง
กระถาง
ที่2 (cm)
ความสูง
กระถางที่
3 (cm)
07/06/60 15.00 13.00 12.50 11.00 13.50 6.00 15.00 12.50 15.00
14/06/60 15.18 13.10 12.50 11.00 13.70 6.10 15.30 12.75 15.00
20/06/60 15.25 13.29 12.60 11.20 14.15 6.20 15.50 12.90 15.10
28/06/60 15.30 13.40 12.60 11.30 14.50 6.50 15.80 13.00 15.25
05/07/60 15.49 13.47 12.80 11.50 14.50 6.56 15.90 13.00 15.25
12/07/60 15.70 13.55 12.95 11.75 14.50 6.70 16.00 13.26 15.30
31/07/60 16.00 13.70 13.20 11.90 14.50 6.92 16.70 13.50 15.50
ค่าเฉลี่ย 0.41 0.35 0.23 0.37 0.69 0.42 0.74 0.48 0.70
เฉลี่ยรวม 0.33 0.49 0.64
9
ความสูงที่เปลี่ยนแปลงของลาต้น(ซม.)
กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงความสูงของต้นมะลิลาเมื่อได้รับฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความ
เข้มข้นต่างๆ
หมายเหตุ
-High dose ใช้ความเข้มข้นฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 35%w/v
-Low dose ใช้ความเข้มข้นฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 30%w/v
-ควบคุม ใช้ความเข้มข้นฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 0%w/v
0
0.2
0.4
0.6
0.8
1
1.2
1.4
1.6
1.8
6/7/2017 6/14/2017 6/21/2017 6/28/2017 7/5/2017 7/12/2017 7/19/2017 7/26/2017
high dose ต้นที่1
high dose ต้นที่2
high dose ต้นที่3
low dose ต้นที่1
low dose ต้นที่2
low dose ต้นที่3
ควบคุมต้นที่1
ควบคุมต้นที่2
ควบคุมต้นที่3
วันที่บันทึกผลการทดลอง
10
บทที่ 5
สรุป อภิปราย และ เสนอแนะ
สรุปและอภิปรายผลการทดลอง
จากการทดลองพบว่า ชุดการทดลอง ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลต่อความสูงของต้นมะลิลา โดยที่
ความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินสูงจะส่งผลให้ความสูงของต้นมะลิลาเพิ่มมาก โดยสูงขึ้นเฉลี่ย 0.64
เซนติเมตร ถ้าความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินน้อย ความสูงของต้นมะลิลาจะเพิ่มน้อย โดยสูงขึ้น
เฉลี่ย 0.49 และชุดควบคุมสูงขึ้นเฉลี่ย 0.34 ผลการทดลองเป็นดังนี้เนื่องจากฮอร์โมนจิบเบอเรลลินกระตุ้น
ให้ลาต้นของต้นมะลิลามีการเจริญเติบโตเพิ่มมากขึ้น
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
มีปัญหาเรื่องสภาพภูมิอากาศและในเรื่องของเวลาในการดูแลโดยในขณะทาการทดลองนั้นเป็นช่วง
ที่สภาพอากาศค่อนข้างแปรป่วนจึงมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชอีกทั้งยังทาให้เกิดการติดต่อของโรคบาง
ชนิดและมีแมลงมาทาร้ายต้นพืชดังนั้นจึงต้องนาไปปรับในเรื่องของระยะเวลาที่เหมาะสมในการทา
โครงงานหน้าๆไป
11
บรรณานุกรม
ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://www.student.chula.ac.th/~56370053/gibberellins.html (วันที่เข้าถึงข้อมูล30 กรกฎาคม 2560)
ต้นมะลิลา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://panmainaiban.blogspot.com/2011/06/blog-post_11.html (วันที่เข้าถึงข้อมูล 30 กรกฎาคม 2560)
ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์มะลิลา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_03_9.htm (วันที่เข้าถึงข้อมูล 30 กรกฎาคม 2560)
โรคในต้นมะลิลา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก :
http://oknation.nationtv.tv/blog/horti-asia/2012/11/23/entry-4 (วันที่เข้าถึงข้อมูล30 กรกฎาคม 2560)
12
ภาคผนวก
13
14

More Related Content

What's hot (20)

M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 
M6 78 60_3
M6 78 60_3M6 78 60_3
M6 78 60_3
 
Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
 
Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60
 
Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60
 
M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
 
M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
 
M6 144 60_2
M6 144 60_2M6 144 60_2
M6 144 60_2
 
Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
 
M6 143 60_3
M6 143 60_3M6 143 60_3
M6 143 60_3
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
 

Similar to M6 78 60_6

Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652PattriyaTowanasutr
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931SasipaChaya
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20marknoppajron
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )lingkwankamon
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.nrraachadan
 

Similar to M6 78 60_6 (20)

M6 125 60_5
M6 125 60_5M6 125 60_5
M6 125 60_5
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
M6 143 60_7
M6 143 60_7M6 143 60_7
M6 143 60_7
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
 
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
 
Chongkho
ChongkhoChongkho
Chongkho
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 
Minibook 931 2
Minibook 931 2Minibook 931 2
Minibook 931 2
 
M6 126 60_6
M6 126 60_6M6 126 60_6
M6 126 60_6
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
Minibook 2.931
Minibook 2.931Minibook 2.931
Minibook 2.931
 
Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10
 
Bio 656 group4
Bio 656 group4Bio 656 group4
Bio 656 group4
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
Biomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirlsBiomapcontest2014 powergirls
Biomapcontest2014 powergirls
 
Handling and nama plant
Handling and nama plantHandling and nama plant
Handling and nama plant
 
Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

M6 78 60_6

  • 1. โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อความสูงของต้นมะลิลา สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. น.ส.ชญาณิศ เจียสกุล เลขที่ 2 2. น.ส. ชนากานต์ ชนะสิทธิ์ เลขที่ 4 3. น.ส. อิสริยาภรณ์ ขาวงาม เลขที่ 20 4. น.ส. อิสรีย์ พฤกษ์สุนันท์ เลขที่ 21 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 78 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
  • 2. บทคัดย่อ ในปัจจุบัน เกษตรกรนิยมใช้ฮอร์โมนในการเร่งการเจริญเติบโตของต้นไม้ ซึ่งหนึ่งในนั้นคือ ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin) โดยฮอร์โมนจิบเบอเรลลินเป็นฮอร์โมนพืชที่สามารถควบคุมการ เจริญเติบโต และมีอิทธิพลต่อกระบวนการพัฒนาการของพืช ทั้งด้านการยืดข้อ การงอ การพักตัว และการ ออกดอก โดยการตอบสนองจะปรากฏเด่นชัดเมื่อให้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินกับพืชในปริมาณที่เหมาะสม ซึ่งเกษตรกรมักจะใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินกับไม้ดอก ไม้ประดับ เพื่อการเจริญเติบโตของต้นและดอกอย่าง รวดเร็ว เป็นต้น จากข้อมูลดังกล่าวทาให้คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชเกิดข้อสงสัยว่า ปริมาณความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินเท่าไรที่เหมาะสมต่อความสูงของต้นมะลิลามากที่สุดจึงเกิด เป็นโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชครั้งนี้ จากการศึกษาความสูงของต้นมะลิลาโดยมีตัวแปรคือระดับความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน ที่แตกต่างกันโดยมีชุดควบคุม และชุดทดลอง 2 ชุด คือ ชุดที่ฮอร์โมนมีความเข้มข้นต่า และชุดที่ฮอร์โมนมี ความเข้มข้นสูง พบว่าชุดที่ฮอร์โมนมีความเข้มข้นสูงมีระดับความสูงที่มากที่สุด ก
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่อง ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อความสูงของต้นมะลิลา จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้า ไม่ได้รับการช่วยเหลือจากนายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ครูประจาวิชา ที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงานตลอดการทางาน ขอขอบคุณผู้ปกครอง และครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ที่ให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ ทั้ง ความรู้ความเข้าใจและกาลังใจตลอดมา คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา ข
  • 4. สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค บทที่ 1 บทนา - ที่มาและความสาคัญ 1 - ปัญหา 1 - สมมติฐานการทดลอง 1 - วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1 - ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1 - ขอบเขตการวิจัย 1 - ระยะเวลาในการทดลอง 1 - ตัวแปร 2 - วิธีการเก็บข้อมูล 2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง - ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 3 - ข้อมูลพรรณไม้มะลิลา 4 บทที่ 3 การดาเนินงาน - วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 6 - ขั้นตอนการทาโครงงาน 6 บทที่ 4 ผลการทดลอง - ตารางบันทึกผลการทดลอง 8 - กราฟเส้นแสดงผลการทดลอง 9 บทที่ 5 สรุป อภิปราย และ เสนอแนะ - สรุปผลการทดลอง 10 - ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 10 บรรณานุกรม 11 ภาคผนวก 12 ค
  • 5. 1 บทที่ 1 บทนา ที่มาและความสาคัญ เนื่องจาก ต้นมะลิลาเป็นไม้ดอกที่ได้รับความนิยมอย่างแพร่หลายในประเทศไทย ทั้งยังนิยมปลูก เป็นพืชทางธุรกิจทั้งภายในประเทศและการส่งออก โดยสามารถนาผลผลิตจากต้นมะลิลามาแปรรูปได้อย่าง หลากหลาย เช่น พวงมาลัย ดอกไม้แห้ง รวมถึงอุตสาหกรรมน้ามันหอมระเหย นอกจากนี้ ฮอร์โมนจิบเบอ เรลลินนั้นก็เป็นฮอร์โมนที่เป็นที่นิยมกันในหมู่เกษตรกรซึ่งมีอิทธิผลต่อพืชในหลายๆอย่างซึ่งหนึ่งในนั้นคือ ความสูงของพืชนั่นเอง คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนจิบ เบอเรลลินที่มีต่อความสูงของต้นมะลิลา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่าฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลต่อความ สูงของต้นมะลิลาในลักษณะอย่างไรคณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็น อย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมีประโยชน์ต่อผู้ทาการเกษตรและผู้ที่สนใจในการศึกษาในอนาคตต่อไป ปัญหา สารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้นใดจะส่งผลให้ต้นมะลิลามีความสูงมากที่สุด สมมติฐานการทดลอง ถ้าฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อความสูงเจริญดีที่สุด ดังนั้น สารละลายฮอร์โมน จิบเบอเรลลินที่ ความเข้มข้น 35%w/v จะทาให้ต้นมะลิลามีความสูงมากที่สุด วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินว่ามีผลต่อความสูงของต้นมะลิลาอย่างไร 2. เพื่อเปรียบเทียบฮอร์โมนจิบเบอเรลลินระหว่างความเข้มข้นต่าและสูงว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องฮอร์โมนที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต 2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบความเข้มข้นระหว่างความเข้มข้นต่าและความเข้มข้นสูงว่ามีผลต่างกันมาก น้อยเพียงใด 3. เป็นการส่งเสริมการนาฮอร์โมนไปใช้ในการเกษตร ขอบเขตการวิจัย การทาโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะความสูงของต้นมะลิลา ระยะเวลาในการทดลอง 7 มิถุนายน 2560 – 3 สิงหาคม 2560
  • 6. 2 ตัวแปร ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน ตัวแปรตาม คือ ความสูงของต้นมะลิลา ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณดิน อุณหภูมิ สภาพอากาศ ปริมาณการให้ฮอร์โมนและการรดน้า วิธีการเก็บข้อมูล ใช้ไม้บรรทัดวัดความสูงของต้นมะลิลาจากโคนต้นทุกๆสัปดาห์
  • 7. 3 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) เป็นฮอร์โมนพืชที่มีโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ ควบคุมการเจริญเติบโตและมีอิทธิพลต่อ กระบวนการทางพัฒนาการรวมทั้งการยืดของข้อ การงอก การพักตัว การออกดอก การแสดงเพศ การชักนา การสร้างเอนไซม์รวมทั้งการชราของดอกและผล จิบเบอเรลลินถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2469 โดย นักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่น Eiichi Kurosawa ผู้ศึกษาโรคบากาเนะในข้าว เริ่มจากการศึกษาต้นข้าวที่เป็นโรค Bakanae ซึ่งมีลักษณะสูง ผอม เกิดจากเชื้อรา Gibberella fujikuroi และถูกสกัดออกมาเป็นครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2478 โดยTeijiro Yabuta จากเชื้อราG. fujikuroi เมื่อสกัดสารที่เชื้อรานี้สร้างขึ้นไปทดสอบกับพืชชนิดอื่น พบว่าทาให้พืชนั้นๆมีอาการอย่างเดียวกันคือต้นผอม สูง จึงตั้งชื่อสารที่พบนี้ว่าจิบเบอเรลลิน สารที่พบชนิด แรกตั้งชื่อว่าจิบเบอเรลลินต่อมามีการพบอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลินจากราอีกหลายชนิด รวมทั้งในพืช ใน พ.ศ. 2546 พบจิบเบอเรลลินแล้ว 126 ชนิดทั้งที่แยกได้จากพืช รา และแบคทีเรีย คุณลักษณะทางเคมีและการสังเคราะห์ จิบเบอเรลลินเป็นสารกลุ่มไดเทอร์พีนอยด์ที่สังเคราะหืโดยวิถึเทอร์พีนอยด์ในพลาสติดแล้วจึง เปลี่ยนรูปในเอนโดพลาสมิก เรกติคิวลัมและไซโตซอลจนได้รูปที่ออกฤทธิ์ในสิ่งมีชีวิตได้จิบเบอเรลลิน ทั้งหมดมีโครงสร้างหลักเป็น ent-gibberellane ที่สังเคราะห์มาจาก ent-kaurene การสังเคราะห์จิบเบอเรลลิน ในพืชชั้นสูงเริ่มจากสร้าง Geranylgeranyl diphosphate (GGDP) ซึ่งเป็นสารตั้งต้นของสารกลุ่มดีเทอร์พี นอยด์โดยทั่วไป จากนั้นจึงเปลี่ยน GGDP ไปเป็น ent-kaurene แล้วจึงเปลี่ยนเป็น GA12 แล้วจึงเปลี่ยนต่อไป เป็นจิบเบอเรลลินตัวอื่นๆ [3]จิบเบอเรลลินเป็นอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิก (Gibberellic acid) จัดเป็นสาร กลุ่มดีเทอร์พีนอยด์(Diterpenoid) ปัจจุบันพบแล้วมากกว่า80 ชนิด โครงสร้างฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
  • 8. 4 ต้นมะลิลา ข้อมูลพรรณไม้ มะลิลา มีชื่อวิทยาศาตร์ว่า Jasminum sambac มีถิ่นกาเนิดจากประเทศอินเดีย เป็นไม้กลางแจ้งชอบ แสงแดดจัด เจริญเติบโตดีในที่ดินร่วนซุย ต้นมีลักษณะเป็นพุ่ม สูงประมาณ 1.50 เมตร แต่จัดเป็นไม้รอเลื้อย เพราะมีกิ่งกึ่งอ่อนและกิ่งกึ่งแก่ ที่อาจจะยืดตัวพันกับสิ่งอื่นได้กิ่งอ่อนและกิ่งกึ่งอ่อนกึ่งแก่มีขน ใบเป็นใบ เดี่ยว ใบออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน ใบเป็นรูปไข่ ขอบเรียบ สามารถออกดอกได้เกือบตลอดทั้งปี แต่จะออกดอก มากในช่วงฤดูร้อนและฤดูฝน ออกดอกเป็นช่อๆ ละ 3 ดอก ดอกกลางบานก่อน กลีบดอกชั้นเดียว ปลายกลีบ มน ดอกมีสีขาว กลิ่นหอม มักจะเริ่มขยายกลีบและส่งกลิ่นหอมในช่วงเวลาเย็นจนถึงวันรุ่งขึ้น ดอกบาน เต็มที่ประมาณ 2 ซม. ใบ ใบเรียงตรงข้าม ใบประกอบแบบขนนก มีใบย่อยใบเดียว รูปไข่ รีหรือรีขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 6- 10 ซม. โคนใบมนหรือสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ผิวใบเรียบเป็นมัน ด้านท้องใบเห็นเส้นใบชัดเจน เส้นใบขนาดใหญ่มี 4-6คู่ ก้านใบสั้นมากและมีขน
  • 9. 5 ดอก ดอกช่อออกตามซอกใบและปลายกิ่ง มีทั้งดอกลาและดอกซ้อน โคนกลีบดอกจะเชื่อมกันเป็นหลอด ยาวประมาณ 1.5 ซม. ปลายแยกเป็น 5-8 กลีบ เมื่อดอกย่อยบานมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3ซม. ดอกที่อยู่ตรง กลางจะบานก่อน มีกลิ่นหอมแรง แต่ละดอกมีกลีบเลี้ยงเป็นหลอดสีเขียวอมเหลืองอ่อน ส่วนปลายแยกเป็น เส้น เกสรเพศผู้2 อันติดกับกลีบดอกในหลอดสีขาว มักไม่ติดผล ผล เป็นผลสด สีดา การขยายพันธุ์มะลิลา ใช้วิธีตอนกิ่ง ปักชา หรือทับกิ่ง ประโยชน์ของมะลิลา ดอกสดหรือดอกแห้ง ใบ ต้มกินแก้โรคบิด ปวดท้อง ดอกสดตาพอกแก้ปวดศีรษะ ผิวหนังผื่นคัน ดอกใช้ทา พวงมาลัย ทาน้าหอม และบูชาพระ ดอกแห้งใช้เป็นยาแต่งกลิ่น ดอกมะลาลินี้ใช้เป็นดอกไม้ของวันแม่ แห่งชาติ โรคแมลงและการป้องกันกาจัด 1. โรครากเน่า เกิดจากเชื้อรา เป็นโรคร้ายแรงชนิดหนึ่งซึ่งจะเกิดกับมะลิที่มีอายุมากกว่า 1 ปี อาการ มะลิจะ เหลือง เหี่ยว และทิ้งใบ เมื่อขุดต้นดูพบว่ารากเน่าเปื่อยและที่โคนมีเส้นใยสีขาว การป้องกันกาจัด ต้นที่เป็น โรคให้ถอนต้นและดินในหลุมไปเผาไฟ แล้วใช้ปูนขาวหรือสารเคมีพวกเทอราคลอผสมน้าราดลงดิน 2. โรคแอนแทรคโนส เกิดจากเชื้อรา อาการ จะพบจุดสีน้าตาลอ่อน บนใบขอบแผลเป็นสีน้าตาลแก่เห็น เด่นชัด แผลจะขยายลุกลามออกไป และมีลักษณะเป็นวงซ้อนกัน เนื้อเยื่อของแผลแห้งกรอบตรงกลางแผล เวลาอากาศชื้น ๆ จะพบสปอร์เกิดเป็นหยดสีส้มอ่อน ๆ ขนาดแผลขยายใหญ่ไม่มีขอบเขตจากัดจนดูเหมือน โรคใบแห้ง การป้องกันกาจัด ใช้ยาป้องกันกาจัดเชื้อราฉีดพ่น เช่น ดาโคนิล เบนเลท 3. หนอนกินใบ จะระบาดมากในฤดูฝน โดยจะพับใบมะลิเข้าด้วยกัน แล้วซ่อนตัวอยู่ในนั้น และจะกัดกิน ทาลายใบไปด้วย การป้องกันกาจัด ใช้สารเคมีประเภทโมโนโครโตฟอส เช่น อโซดริน อัตรา 20 ซีซี ต่อน้า 20 ลิตร ฉีดพ่นทุก 4-6 วัน เมื่อมีการระบาด 4. เพลี้ยไฟ ดูดกินน้าเลี้ยงจากใบและดอก ทาให้ส่วนที่ถูกทาลาย หงิกงอ แคระแกรน เสียรูปทรง การป้องกัน กาจัด ใช้สารเคมีฉีดพ่น เช่น พอสซ์คูมูลัส
  • 10. 6 บทที่ 3 การดาเนินงาน วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 1. กระถางต้นไม้ 2. แผ่นรองกระถาง 3. ขวดน้า(ใช้ในการรดน้า) 4. สเปรย์พลาสติกบรรจุสารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน high dose , low dose และน้าเปล่า 5. ต้นมะลิลา 9 ต้น 6. ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน ขั้นตอนการทาโครงงาน 1. ประชุมวางแผนคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ ซึ่งคือ การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อ ความสูงของต้นมะลิลา 2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานดังนี้ 2.1. การเพาะเลี้ยงต้นมะลิลา 2.2. ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 2.3. ลักษณะทางพฤกศาสตร์ของต้นมะลิลา 2.4. โรคติดต่อของพืช 3. วางแผนรายละเอียดการทดลอง 3.1. การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของจิบเบอเรลลินของแต่ละความเข้มข้นที่มีผลต่อความสูงของต้น มะลิลา 4. ปรึกษากันในการใช้พื้นที่บริเวณหน้าตึกศิลปะในการทาการศึกษา 5. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทาการทดลองเปรียบเทียบประสิทธิภาพของจิบเบอเรลลินของแต่ละความ เข้มข้นในที่มีผลต่อความสูงของต้นมะลิลา 5.1.1. ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 35%w/vและความเข้มข้น 30%w/v 5.1.2. ต้นมะลิลา 9 ต้น 5.1.3. ที่ฉีดสเปรย์ 3 อัน 5.1.4. สมุดบันทึก
  • 11. 7 6. ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง 6.1. การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินของแต่ละความเข้มข้นที่มีผลต่อความสูง ของต้นมะลิลา 6.1.1. เตรียมต้นมะลิลาไว้9 ต้น วางไว้บริเวณเดียวกัน แบ่งการทดลองเป็น 3 ชุด ชุดละ 3 ต้น เป็น ชุด control low dose และ high dose 6.1.2. ชุด controlฉีดน้ากลั่น ต้นละ 10 ครั้ง ชุด low dose ฉีดฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 30%w/v ต้นละ 10 ครั้ง ชุด high dose ฉีดฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 35%w/v ต้นละ 10 ครั้ง 6.1.3. รดน้าทุกต้นใบปริมาณที่เท่ากัน 6.1.4. สารวจและบันทึกความสูงทุกๆสัปดาห์ 7. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เป็นระยะ 8. จัดทาเอกสารเป็นรูปเล่มโครงงานให้สมบูรณ์ 9. จัดทาสื่ออภิปรายแสดงผลการทดลอง 10. จัดทาการส่งโครงงานแก่อาจารย์ที่ปรึกษา
  • 12. 8 บทที่ 4 ผลการทดลอง ตารางแสดงความสูงของต้นไม้ที่ได้รับฮอร์โมนความเข้มข้นต่างๆ วัน/ เดือน/ปี ชุดควบคุม ชุด Low Dose ชุด High Dose ความสูง กระถางที่ 1 (cm) ความสูง กระถาง ที่2 (cm) ความสูง กระถาง ที่3 (cm) ความสูง กระถาง ที่1 (cm) ความสูง กระถาง ที่2 (cm) ความสูง กระถาง ที่3 (cm) ความสูง กระถาง ที่1 (cm) ความสูง กระถาง ที่2 (cm) ความสูง กระถางที่ 3 (cm) 07/06/60 15.00 13.00 12.50 11.00 13.50 6.00 15.00 12.50 15.00 14/06/60 15.18 13.10 12.50 11.00 13.70 6.10 15.30 12.75 15.00 20/06/60 15.25 13.29 12.60 11.20 14.15 6.20 15.50 12.90 15.10 28/06/60 15.30 13.40 12.60 11.30 14.50 6.50 15.80 13.00 15.25 05/07/60 15.49 13.47 12.80 11.50 14.50 6.56 15.90 13.00 15.25 12/07/60 15.70 13.55 12.95 11.75 14.50 6.70 16.00 13.26 15.30 31/07/60 16.00 13.70 13.20 11.90 14.50 6.92 16.70 13.50 15.50 ค่าเฉลี่ย 0.41 0.35 0.23 0.37 0.69 0.42 0.74 0.48 0.70 เฉลี่ยรวม 0.33 0.49 0.64
  • 13. 9 ความสูงที่เปลี่ยนแปลงของลาต้น(ซม.) กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงความสูงของต้นมะลิลาเมื่อได้รับฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความ เข้มข้นต่างๆ หมายเหตุ -High dose ใช้ความเข้มข้นฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 35%w/v -Low dose ใช้ความเข้มข้นฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 30%w/v -ควบคุม ใช้ความเข้มข้นฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 0%w/v 0 0.2 0.4 0.6 0.8 1 1.2 1.4 1.6 1.8 6/7/2017 6/14/2017 6/21/2017 6/28/2017 7/5/2017 7/12/2017 7/19/2017 7/26/2017 high dose ต้นที่1 high dose ต้นที่2 high dose ต้นที่3 low dose ต้นที่1 low dose ต้นที่2 low dose ต้นที่3 ควบคุมต้นที่1 ควบคุมต้นที่2 ควบคุมต้นที่3 วันที่บันทึกผลการทดลอง
  • 14. 10 บทที่ 5 สรุป อภิปราย และ เสนอแนะ สรุปและอภิปรายผลการทดลอง จากการทดลองพบว่า ชุดการทดลอง ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลต่อความสูงของต้นมะลิลา โดยที่ ความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินสูงจะส่งผลให้ความสูงของต้นมะลิลาเพิ่มมาก โดยสูงขึ้นเฉลี่ย 0.64 เซนติเมตร ถ้าความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินน้อย ความสูงของต้นมะลิลาจะเพิ่มน้อย โดยสูงขึ้น เฉลี่ย 0.49 และชุดควบคุมสูงขึ้นเฉลี่ย 0.34 ผลการทดลองเป็นดังนี้เนื่องจากฮอร์โมนจิบเบอเรลลินกระตุ้น ให้ลาต้นของต้นมะลิลามีการเจริญเติบโตเพิ่มมากขึ้น ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม มีปัญหาเรื่องสภาพภูมิอากาศและในเรื่องของเวลาในการดูแลโดยในขณะทาการทดลองนั้นเป็นช่วง ที่สภาพอากาศค่อนข้างแปรป่วนจึงมีผลต่อการเจริญเติบโตของพืชอีกทั้งยังทาให้เกิดการติดต่อของโรคบาง ชนิดและมีแมลงมาทาร้ายต้นพืชดังนั้นจึงต้องนาไปปรับในเรื่องของระยะเวลาที่เหมาะสมในการทา โครงงานหน้าๆไป
  • 15. 11 บรรณานุกรม ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.student.chula.ac.th/~56370053/gibberellins.html (วันที่เข้าถึงข้อมูล30 กรกฎาคม 2560) ต้นมะลิลา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://panmainaiban.blogspot.com/2011/06/blog-post_11.html (วันที่เข้าถึงข้อมูล 30 กรกฎาคม 2560) ข้อมูลทางพฤกษศาสตร์มะลิลา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://www.rspg.or.th/plants_data/herbs/herbs_03_9.htm (วันที่เข้าถึงข้อมูล 30 กรกฎาคม 2560) โรคในต้นมะลิลา. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก : http://oknation.nationtv.tv/blog/horti-asia/2012/11/23/entry-4 (วันที่เข้าถึงข้อมูล30 กรกฎาคม 2560)
  • 17. 13
  • 18. 14