SlideShare a Scribd company logo
1 of 23
Download to read offline
โครงงานรายวิชาชีววิทยา
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อจานวนตา กิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิง
นาเสนอครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
(ตาแหน่งครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์)
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. นางสาวจิรัชยา ลอยพิพันธ์ เลขที่ 2
2. นางสาวธัญญัฐ ลาชโรจน์ เลขที่ 6
3. นายเกียรติภูมิ โรจน์วนาการ เลขที่ 27
4. นายธนทัต รัชตะวรรณ เลขที่ 34
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
บทคัดย่อ
โครงงานวิทยาศาสตร์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค้นคว้าความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่เหมาะสม
สาหรับการแตกตา กิ่งและยอด และเปรียบเทียบผลของการใช้ฮอร์โมนออกซินในความเข้มข้นที่ต่างกันต่อการ
แตกตา กิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิง
ลาดับแรก คณะผู้จัดทาได้ทาการทดลองโดนศึกษาจากความแตกต่างของความเข้มข้นที่ใช้ อุปกรณ์
ในการทดลองประกอบด้วย กระบอกฉีดยา กระบอกตวงฮอร์โมน บัวรดน้า ฮอร์โมนออกซิน และต้นตะลิงปลิง
จานวน 9 ต้น ระยะเวลาในการทาการทดลอง คือ ระหว่างวันที่ 12 มิถุนายน ถึง 27 กรกฎาคม 2560 บริเวณ
หน้าตึก 2 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ลาดับถัดมา คณะผู้จัดทาได้ทาการทดลองโดยแบ่งต้นตะลิงปลิงเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ต้น กลุ่มที่ 1
เป็นกลุ่มที่รดน้าปกติโดยไม่ผสมฮอร์โมนออกซิน (ชุดควบคุม) จานวน 3 ต้น กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มที่รดน้าผสม
ฮอร์โมนออกซินในความเข้มข้น 2.5% โดยปริมาตร (Low dose) จานวน 3 ต้น กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มที่รดน้าผสม
ฮอร์โมนออกซินในความเข้มข้น 10% โดยปริมาตร (High dose) จานวน 3 ต้น และเก็บข้อมูลจากการทดลอง
ทุกๆ 7 วัน เป็นระยะเวลา 7 สัปดาห์
ลาดับสุดท้าย คณะผู้จัดทาได้นาข้อมูลมาวิเคราะห์ รวบรวมและสรุปผล เพื่อนามาจัดทาเป็นรูปเล่ม
และนาเสนอ
ผลจากการทดลองพบว่า เมื่อรดน้าที่ไม่ผสมฮอร์โมนออกซินให้ตะลิงปลิงกลุ่มที่ 1 (ชุดควบคุม)
ตะลิงปลิงมีการแตกยอดโดยเฉลี่ย 6 ยอดต่อต้น เมื่อรดน้าผสมฮอร์โมนออกซินใน ความเข้มข้น 2.5% โดย
ปริมาตรให้ตะลิงปลิงกลุ่มที่ 2 (Low dose) ตะลิงปลิงมีการแตกยอดโดยเฉลี่ย 5 ยอดต่อต้น และเมื่อรดน้า
ผสมฮอร์โมนออกซินในความเข้มข้น 10% โดยปริมาตรให้ตะลิงปลิงกลุ่มที่ 3 (High dose) ตะลิงปลิงมีการ
แตกยอดโดยเฉลี่ย 12 ยอดต่อต้น
ก
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานวิทยาศาสตร์รายวิชาชีววิทยา เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อจานวนตา กิ่ง
และยอดของต้นตะลิงปลิงนี้ จะไม่มีทางเกิดขึ้นได้เลย หากไม่ได้รับความอนุเคราะห์จาก นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
คุณครูประจาวิชาชีววิทยา ที่ได้ให้คาปรึกษาระหว่างการทาการทดลอง การแก้ปัญหาอุปสรรคต่างๆ เกี่ยวกับ
โครงงาน นางอาภา ณ พัทลุง หัวหน้าตึก 2 ที่เอื้อเฟื้อในเรื่องสถานที่ทาการทดลองและเพาะปลูก และคณะครู
อาจารย์ทุกท่านในโรงเรียนที่ได้ให้การสนับสนุนการศึกษาโครงงานเล่มนี้จนสาเร็จสมบูรณ์
ขอขอบคุณผู้ปกครอง อาจารย์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และชุมชนที่ให้ความช่วยเหลือในด้านต่างๆ
และให้กาลังใจตลอดมา
คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ และคาดหวังอย่างยิ่งว่าโครงงานวิทยาศาสตร์
นี้จะให้ความรู้และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่าน
คณะผู้จัดทา
ข
สารบัญ
หน้า
บทคัดย่อ ก
กิตติกรรมประกาศ ข
สารบัญ ค
สารบัญรูปภาพ ง
บทที่ 1 : บทนา 1
 ชื่อโครงงาน 1
 สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1
 อาจารย์ที่ผู้สอน 1
 ที่มาและความสาคัญ 1
 คาถามการทาโครงงาน 1
 สมมติฐานการทดลอง 1
 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 2
 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2
 ขอบเขตของโครงงาน 2
 ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง 2
 ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน 2
 วิธีการเก็บข้อมูล 2
 วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล 3
บทที่ 2 : เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4
 ข้อมูลรายละเอียดของพืชที่ใช้ทาการทดลอง : ตะลิงปลิง 4
 ข้อมูลรายละเอียดของฮอร์โมนที่ใช้ทาการทดลอง : ออกซิน (Auxin) 6
บทที่ 3 : วิธีดาเนินการ 7
ตารางบันทึกกิจกรรมการทดลอง 8
บทที่ 4 : ผลการทดลองฮอร์โมนพืชและอภิปรายผลการทดลอง 9
 ผลการทดลองฮอร์โมนพืช 9
 อภิปรายผลการทดลอง 10
บทที่ 5 : สรุปและข้อเสนอแนะ 11
 สรุปผลการทดลอง 11
 ข้อเสนอแนะ 11
ภาคผนวก 13
บรรณานุกรม 18
ค
สารบัญรูปภาพ
หน้า
ภาพที่ 1 กระบอกฉีดน้า (ฟ็อกกี้) พร้อมป้าย 13
ภาพที่ 2 กระบอกตวงฮอร์โมน 13
ภาพที่ 3 ขวดบรรจุฮอร์โมนออกซิน 13
ภาพที่ 4 กระบอกฉีดยา 13
ภาพที่ 5 การติดตามผลการดาเนินโครงงานฮอร์โมน ครั้งที่ 1 14
ภาพที่ 6 การใช้ปากกาเพอร์มาเนนต์นับกิ่งยอดและบันทึกผลในสัปดาห์ที่ 7 14
ภาพที่ 7 การติดตามผลการดาเนินโครงงานฮอร์โมน ครั้งที่ 2 14
ภาพที่ 8 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 1 15
ภาพที่ 9 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 2 15
ภาพที่ 10 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 3 15
ภาพที่ 11 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 4 16
ภาพที่ 12 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 5 16
ภาพที่ 13 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 6 17
ภาพที่ 14 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 7 17
ง
บทที่ 1
บทนา
ชื่อโครงงาน เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อจานวนตา กิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิง
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. นางสาวจิรัชยา ลอยพิพันธ์ เลขที่ 2
2. นางสาวธัญญัฐ ลาชโรจน์ เลขที่ 6
3. นายเกียรติภูมิ โรจน์วนาการ เลขที่ 27
4. นายธนทัต รัชตะวรรณ เลขที่ 34
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
อาจารย์ผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ที่มาและความสาคัญ
ตะลิงปลิงเป็นไม้ผลที่นิยมปลูกทั่วไป มักนาผลมาใช้รับประทาน โดยผลของตะลิงปลิงจะมีรสเปรี้ยว
นามารับประทานคู่กับกะปิ น้าปลาหวาน เกลือ ใช้ประกอบอาหาร เช่น ส้มตา ใช้เป็นเครื่องปรุงอาหารที่
ต้องการรสเปรี้ยว เช่น แกงส้ม ต้มยา นามาถนอมอาหารด้วยวิธีการแช่อิ่ม หรือนามาทาน้าผลไม้ ซึ่งผลของ
ตะปลิงมีสรรพคุณมากมาย ส่วนอื่นๆของต้นตะลิงปลิงอย่างราก ใบ หรือผลของตะลิงปลิงก็เช่นกัน โดยผลของ
ตะลิงปลิงจะออกบริเวณกิ่งและลาต้น ดังนั้น เพื่อเพิ่มการแตกยอดของต้นตะลิงปลิง ซึ่งยอดเหล่านั้นจะ
กลายเป็นกิ่งและออกผลต่อไป คณะผู้จัดทาจึงได้ทาทดลองโดยการให้ฮอร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้นแตกต่าง
กันกับต้นตะลิงปลิง โดยสังเกตและบันทึกผลการเพิ่มขึ้นของจานวนตากิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิง จากนั้นนา
ผลการทดลองที่ได้มาทาการเปรียบเทียบเพื่อให้ทราบความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่เหมาะสมกับการแตก
ตา กิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิง โดยคณะผู้จัดทาคาดหวังว่าความรู้ที่ได้จากโครงงานวิทยาศาสตร์นี้ จะ
สามารถช่วยเพิ่มปริมาณตา กิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิงซึ่งจะนาไปสู่การเพิ่มปริมาณผลของต้นตะลิงปลิง
ต่อไป แล้วสามารถนาผลของตะลิงปลิงที่ได้มาใช้ประโยชน์ต่างๆดังที่กล่าวไว้ข้างต้น
คาถามการทาโครงงาน
ฮอร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้นต่างกันจะส่งผลต่อการแตกตา กิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิงแตกต่าง
กันอย่างไร
สมมติฐานการทดลอง
ถ้าฮอร์โมนออกซินมีผลทาให้ต้นตะลิงปลิงแตกตา กิ่งและยอดเพิ่มขึ้น แล้วต้นตะลิงปลิงในกลุ่มที่ได้รับ
ฮอร์โมนออกซินในความเข้มข้นที่เหมาะสมจะมีการแตกยอดมากที่สุดและเห็นผลเร็วที่สุด
1
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อเปรียบเทียบผลของการใช้ฮอร์โมนออกซินในความเข้มข้นที่ต่างกันต่อการแตกตากิ่งและยอด
ของต้นตะลิงปลิง
2. เพื่อศึกษาผลกระทบข้างเคียงอื่น ๆ ของฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อต้นตะลิงปลิง
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ทราบความเข้มข้นที่เหมาะสมของฮอร์โมนออกซินที่ใช้ในการแตกตา กิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิง
2. ทราบผลของของการใช้ฮอร์โมนออกซินต่อการแตกตา กิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิง
3. ประหยัดเวลาในการแตกตา กิ่งและยอดของตะลิงปลิง และได้ผลผลิตที่ต้องการ
4. สมาชิกรู้จักการทางานเป็นกลุ่ม
5. สมาชิกได้เรียนรู้วิธีการทดลองตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
6. สมาชิกมีจิตสานึกในการดูแลต้นไม้และได้เรียนรู้การดูแลต้นไม้ที่ถูกวิธี
ขอบเขตของโครงงาน
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่แตกต่างกัน (v/v%)
ตัวแปรตาม คือ
1. ปริมาณตา กิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิง
2. ผลกระทบอื่น ๆ ที่มีต่อต้นตะลิงปลิง
ตัวแปรควบคุม คือ
1. การพ่นน้าให้ใบชุ่มชื้นโดยทั่วกัน
2. สภาพอากาศ
3. ทาเลที่ตั้ง และความอุดมสมบูรณ์ของดินปลูก
4. ความทนทานต่อฮอร์โมนของต้นตะลิงปลิง
ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน
12 มิถุนายน ถึง 27 กรกฎาคม 2560 บริเวณหน้าตึก 2 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
วิธีการเก็บข้อมูล
การนับจานวนตาของกิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิง ทาได้โดยการใช้ปากกาเพอร์มาเนนต์
กาหนดตาแหน่งของตากิ่งและยอดในแต่ละสัปดาห์เพื่อหาตาที่ขึ้นใหม่ โดยนับยอดและสังเกตการ
เปลี่ยนแปลงทุกๆวันพฤหัสบดีของทุกสัปดาห์เป็นเวลา 7 สัปดาห์ โดยทั้งนี้ได้มีการจดบันทึกไว้ใน
ตารางการทดลองที่ออกแบบไว้
2
วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล
เมื่อได้ข้อมูลดังกล่าว ทางคณะผู้จัดทาก็จะนามาคานวณดัชนีการงอกของตากิ่งและยอดจาก
สูตรดังกล่าว
โดยจะอภิปรายผลโดยใช้ดัชนีการงอกของตากิ่งและยอดของกลุ่ม เป็นข้อมูลเปรียบเทียบ
หลัก นอกจากนี้ ทางคณะผู้จัดทาได้มีการสังเกตการเปลี่ยนแปลงอื่นๆของต้นตะลิงปลิงเพื่อศึกษา
ผลข้างเคียงที่ฮอร์โมนออกซินมีต่อต้นตะลิงปลิงอีกด้วย
วิธีคานวณดัชนีการงอกของตากิ่งและยอด
𝐼 =
∑ (∆𝑆)1
1
7
เมื่อ I แทนดัชนีการงอกของตากิ่งและยอดใน 7 สัปดาห์
∆S แทนผลต่างของจานวนตากิ่งและยอดที่เพิ่มขึ้นระหว่างสองสัปดาห์ใดๆ
และ 𝐼̅ =
∑ ∆𝑆
21
แทนดัชนีการงอกของตากิ่งและยอดของกลุ่ม
3
บทที่ 2
เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ข้อมูลรายละเอียดของพืชที่ใช้ทาการทดลอง : ตะลิงปลิง
วงศ์ : Oxalidaceae
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Averrhoa bilimbi L.
ชื่อไทย : ตะลิงปลิง
ชื่อท้องถิ่น : ลิงปิ้ง หลิ้งปิ้ง หลี้งตี้ง ลีหมิง เฟืองเทศ มะเฟืองตรน หลิงปลิง (ใต้) กะลิงปริง ปลีมิง ลิง
ปลิง ลิงปลิง (ระนอง) มูงมัง (เกาะสมุย) บลีมิง (มาเลย์-นราธิวาส) Bilimbi, Cucumber Tree, Tree Sorrel
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก มีกิ่งก้านสาขามาก เปราะหักง่าย เปลือกต้นมีสี
ชมพู ผิวเรียบมีขนนุ่มปกคลุมตามกิ่ง
ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนกมีใบย่อยเรียงตัวกันเป็นคู่ ใบย่อยรูปหอก ปลายใบแหลม โคนมน จะ
เรียงจากขนาดเล็กไปหาขนาดใหญ่ ที่โคนจะมีขนาดเล็ก ใบกว้างประมาณ 1 เซนติเมตร ยาว 2-5 เซนติเมตร มี
สีเขียวอ่อนมีขนนุ่มๆ ปกคลุมอยู่
ดอก : ออกเป็นช่อตามลาต้นและกิ่ง (ดอกขนาดเล็กหลายช่อ) แต่ละช่อยาวราว 6 นิ้ว ดอกมี 5 กลีบ
มีสีแดงเข้ม มีกลีบเลี้ยง 5 กลีบสีเขียวอมชมพู เกสรกลางดอกมีสีเขียวแดง ดอกมีกลิ่นหอม ผลกลมยาว
เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร
ผล : สีเขียว เป็นพูตามความยาวผล 5 ร่อง ออกเป็นช่อห้อย เมื่อสุกมีสีเหลือง ฉ่าน้า เมล็ดแบน ผลมี
รสเปรี้ยวจัดเพราะมีกรดออกซาลิกอยู่สูง ให้ผลในฤดูหนาว
4
สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ :
- ราก สรรพคุณแก้พิษร้อนใน กระหายน้า ฝาดสมาน บารุงกระเพาะอาหาร แก้โลหิตออก
ตามกระเพาะอาหาร ลาไส้ ดับพิษร้อนของไข้ แก้ริดสีดวงทวาร แก้คัน แก้คางทูม แก้ไขข้ออักเสบ
รักษาสิว รักษาซิลิส บรรเทาโรคเก๊าท์ บรรเทาการอักเสบของลาไส้ใหญ่
- ใบ สรรพคุณใช้พอกแก้คัน ใช้ภายในโดยนามาต้มดื่มรักษาอาการอักเสบของลาไส้ใหญ่
รักษาซิฟิลิส แก้ไขข้ออักเสบ รักษาคางทูม รักษาสิว
- ดอก นามาชงเป็นชา สรรพคุณแก้ไอ
- ผล สรรพคุณเจริญอาหาร บารุงกระเพาะอาหาร ฝาดสมานและลดไข้ แก้เสมหะเหนียว
ฟอกโลหิต ยาบารุงแก้ปวดมดลูก แก้ไอ บรรเทาโรดริดสีดวงทวาร แก้ลักปิดลักเปิด
สภาพนิเวศ : ตะลิงปลิงปลูกเลี้ยงง่าย ชอบดินร่วนปนทราย ระบายน้าดี แต่ไม่ทนน้าท่วมขังเป็น
เวลานาน นิยมขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดหรือตอนกิ่ง ซึ่งต้นที่ได้จากการเพาะเมล็ดจะมีทรงพุ่มสูงใหญ่ และ
แข็งแรงกว่าต้นที่ได้ตอนกิ่ง แต่จะใช้เวลา 2-3 ปี จึงจะมีดอกมีผล ขณะที่ต้นจากการตอนกิ่งจะให้ผลหลังจากการ
ปลูกลงดิน 5-8 เดือน หลังจากปลูกได้นาน 3-4 เดือนควรหมั่นตัดแต่งกิ่งให้เป็นพุ่ม ถ้าไม่ต้องการให้ต้นสูงมากก็
ตัดส่วนยอดออกเพื่อให้แตกกิ่งข้าง ๆ จะช่วยให้เก็บผลได้ง่าย ควรใส่ปุ๋ยคอกสลับกับปุ๋ยเคมีบ้างทุก 3 เดือน
5
ข้อมูลรายละเอียดฮอร์โมนที่ใช้ทาการทดลอง : ออกซิน (Auxin)
เป็นสารเคมีชื่อกรดอินโดลแอซีติก (indoleacetic acid : IAA) เป็นฮอร์โมนที่พืชสร้างจากกลุ่มเซลล์
เนื้อเยื่อเจริญ ที่บริเวณยออ่อน แล้วแพร่จากยอดอ่อนไปยังเซลล์อื่น ๆ ที่อยู่ด้านล่าง โดยจะไปกระตุ้นเซลล์
บริเวณเนื้อเยื่อที่มีการยืดตัวให้เจริญ ขยายขนาดขึ้น ทาให้พืชเติบโตสูงขึ้น การทางานของออกซินขึ้นอยู่กับสิ่ง
เร้า เช่น แสง อุณหภูมิ แรงโน้มถ่วงของโลก สิ่งสัมผัสและอื่น ๆ
แสงมีผลต่อการแพร่กระจายของออกซินที่ยอดอ่อน โดยออกซินจะแพร่กระจายจากด้านที่มีแสงมาก
ไปยังด้านที่มีแสงน้อย ทาให้ด้านที่มีแสงน้อยมีออกซินมากกว่า เซลล์เจริญขยายตัวมากกว่าด้านที่มีแสงมาก
ปลายยอดจึงโค้งเข้าหาแสง ซึ่งให้ผลตรงข้าม กับที่ ปลายราก โดยออกซินยังคงเคลื่อนที่หนีแสง แต่เซลล์ที่
ปลายรากตอบสนองต่อออกซินต่างจากเซลล์ที่ปลายยอด บริเวณใด ของราก ที่มีแสงน้อย จะมีออกซินสะสม
มากจึงยับยั้งการเจริญของเซลล์ราก บริเวณที่มีแสงมากมีออกซินน้อยกว่า เซลล์รากขยายตัวมากกว่า จึงเกิด
การโค้งตัวของปลายรากหนีแสง
ออกซินมีผลในการกระตุ้นการเจริญเติบโตของลาต้น ตา ใบ และราก ในระดับความเข้มข้นที่ต่างกัน
ออกซินในระดับเข้มข้นสูงมาก ๆ จะยับยั้งการเจริญเติบโตทุกส่วนของพืช ออกซินในระดับความเข้มข้นที่
พอเหมาะจะกระตุ้นการเจริญของลาต้น แต่จะมีผลในการยับยั้ง การเจริญเติบโตของตาและใบ ซึ่งต้องการ
ความเข้มข้นต่ากว่า ในขณะที่รากต้องการออกซินในปริมาณที่น้อยมาก ลาต้นจึงต้องการออกซิน สูงกว่าตา
และใบ ในขณะที่ตาและใบต้องการออกซินสูงกว่าในราก ดังนั้นความเข้มข้นของออกซิน ที่พอเหมาะต่อการ
เจริญเติบโต ของอวัยวะหนึ่งแต่จะยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะหนึ่งได้
6
บทที่ 3
วิธีดาเนินการ
โครงงานวิทยาศาสตร์ครั้งนี้เป็นโครงงานวิทยาศาสตร์เชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค้นคว้าความ
เข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่เหมาะสมสาหรับการแตกยอด และเปรียบเทียบผลของการใช้ฮอร์โมนออกซินในความ
เข้มข้นที่ต่างกันต่อการแตกยอดของต้นตะลิงปลิงโดยเพื่อให้การดาเนินการบรรลุจุดมุ่งหมาย คณะผู้จัดทาได้
ดาเนินการตามขั้นตอนดังนี้
1. ประชุมสมาชิกภายในกลุ่มเพื่อหารือเกี่ยวกับโครงงานร่วมกัน
2. ติดต่อประสานงานกับครูที่ปรึกษางานโครงงาน เพื่อเสนอหัวข้อโรงงานและรอการอนุมัติ
3. หลังจากได้รับการอนุมัติเรียบร้อยแล้ว จัดหาสถานที่และเตรียมอุปกรณ์ที่จาเป็นต่อการดาเนินงาน
4. ดาเนินการตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน ดังนี้
1. ศึกษาข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของต้นไม้ที่จะนามาศึกษา ในที่นี้คือ ตะลิงปลิง
2. ศึกษาการใช้ฮอร์โมนออกซินที่ถูกต้องและเหมาะสม
3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต่อการทดลอง ได้แก่
 ต้นตะลิงปลิงอายุ 3 เดือน ในถุงปลูก จานวน 9 ต้น
 กระบอกฉีดน้า (ฟ็อกกี้) จานวน 3 กระบอก พร้อมป้าย
 ถาดพลาสติกแบ่งกลุ่มต้นไม้ จานวน 3 ถาด
 อุปกรณ์สาหรับการเตรียมฮอร์โมน ได้แก่
1. กระบอกตวงฮอร์โมน จานวน 1 กระบอก
2. กระบอกฉีดยาขนาด 10 cc จานวน 1 หลอด
3. ฮอร์โมนออกซิน ปริมาตร 150 cc
4. ดาเนินการทดลองตามวิธีการทดลองต่อไปนี้
1. นาต้นตะลิงปลิงมาลงกระถาง โดยนาดินเหนียวและกาบมะพร้าวออกให้มากที่สุดเท่าที่
เป็นไปได้ จากนั้นจึงนาลงกระถาง ใส่ดินให้กลบราก รดน้า จัดวางในที่ที่มีแสงแดดทั่วถึง
2. แบ่งต้นตะลิงปลิงออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้
 กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มที่รดน้าปกติโดยไม่ผสมฮอร์โมนออกซิน จานวน 3 ต้น
7
 กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มที่รดน้าผสมฮอร์โมนออกซินในความเข้มข้น 2.5% โดยปริมาตร
จานวน 3 ต้น (Low dose)
 กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มที่รดน้าผสมฮอร์โมนออกซินในความเข้มข้น 10% โดยปริมาตร
จานวน 3 ต้น (High dose)
3. รดน้าผสมฮอร์โมนให้ตะลิงปลิงทุกๆ 7 วัน วันอื่น ๆ ให้รดน้าปกติ
4. สังเกตการแตกยอดของตะลิงปลิงทุกๆ 7 วัน แล้วบันทึกผล
5. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่ออาจารย์ผู้สอนเป็นระยะ ๆ
6. จัดทาเป็นเอกสาร และนาเสนอในรูปแบบของรูปเล่มโครงงาน
ตารางบันทึกกิจกรรมการทดลอง
วัน เดือน ปี บันทึกกิจกรรม ผู้รับผิดชอบ
15 มิ.ย. 60 นับกิ่งยอด 1 จิรัชยา
16 มิ.ย. 60 ฉีดฮอร์โมน 1 ธัญณัฐ
22 มิ.ย. 60 นับกิ่งยอด 2 จิรัชยา
23 มิ.ย. 60 ฉีดฮอร์โมน 2 ธัญณัฐ
29 มิ.ย. 60 นับกิ่งยอด 3 จิรัชยา
30 มิ.ย. 60 ฉีดฮอร์โมน 3 ธัญณัฐ
6 ก.ค. 60 นับกิ่งยอด 4 จิรัชยา
7 ก.ค. 60 ฉีดฮอร์โมน 4 ธัญณัฐ
13 ก.ค. 60 นับกิ่งยอด 5 จิรัชยา
14 ก.ค. 60 ฉีดฮอร์โมน 5 ธัญณัฐ
19 ก.ค. 60 นับกิ่งยอด 6 เกียรติภูมิ
20 ก.ค. 60 ฉีดฮอร์โมน 6 ธนทัต
27 ก.ค. 60 นับกิ่งยอด 7 จิรัชยา
27 ก.ค. 60 ฉีดฮอร์โมน 7 ธัญณัฐ
8
บทที่ 4
ผลการทดลองฮอร์โมนพืช และอภิปรายผลการทดลอง
ตารางแสดงจานวนตา กิ่งและยอดที่แตกออกในแต่ละสัปดาห์
วันที่
จานวนตากิ่งและยอด (ตา)
ชุดควบคุม Low dose (2.5% v/v) High dose (10% v/v)
ต้น 1 ต้น 2 ต้น 3 ต้น1 ต้น 2 ต้น 3 ต้น 1 ต้น 2 ต้น 3
15 มิ.ย. 60 11 23 20 8 6 10 8 12 11
22 มิ.ย. 60 12 27 22 9 7 11 19 25 23
29 มิ.ย. 60 12 28 24 9 8 13 - 25 24
6 ก.ค. 60 14 31 24 10 8 17 - 31 29
13 ก.ค. 60 15 31 26 12 8 17 - 31 29
20 ก.ค. 60 15 31 26 13 8 17 - 32 29
27 ก.ค. 60 15 32 26 13 10 17 - 32 29
ดัชนีการงอก
0.71 1.29 0.86 0.86 0.57 1 1.57 2.86 2.57
0.90 0.76 2.33
สีแดง แทน การนับยอดและตากิ่งก่อนฉีดฮอร์โมน
ตารางแสดงสภาพของต้นไม้ในแต่ละสัปดาห์
วันที่
สภาพของต้นไม้ที่สังเกตได้ด้วยตา
ชุดควบคุม Low dose (2.5% v/v) High dose (10% v/v)
15 มิ.ย. 60 เริ่มต้นการทดลอง
22 มิ.ย. 60 ต้น 2,3 ขอบใบเหลือง
ใบและบางกิ่งเหลืองทุกต้น
ต้น 2 ใบและกิ่งร่วง
ใบเหลืองและกิ่งมากๆทุก
ต้น กิ่งเปราะ พยายามผลิ
ยอดและตาออกมามากแต่
ไม่โต
26 มิ.ย. 60 - - ต้น 1 ตาย ยอดไหม้
29 มิ.ย. 60 เจริญเติบโตตามปกติ
ต้น 1,2 ใบร่วง ผลิใบใหม่สี
เขียว
ต้น 2,3 ยอดไหม้เกือบ
หมด งอกตากิ่งยอดมากแต่
ไม่โต
6 ก.ค. 60 ต้น 3 สูงขึ้นมาก ยอดเบน
ต้น 2 มีกิ่งสีเขียวงอก
ออกมาด้านล่าง ต้น 3 สูง
เบนหาแสง
ต้น 2 มีกิ่งเล็กงอกออกมา
ด้านล่าง ต้น 3 โตได้
ตามปกติ
13 ก.ค. 60 ต้น 3 โน้มเข้าหาแสงมาก
ต้น 2 หยุดการเติบโตแต่ใบ
ยังเขียวอยู่ ต้น 1 มีวัชพืช
หยุดการงอกยอด
9
วันที่
สภาพของต้นไม้ที่สังเกตได้ด้วยตา
ชุดควบคุม Low dose (2.5% v/v) High dose (10% v/v)
19 ก.ค. 60 ต้นที่ 1,3 แตกใบใหม่มาก
ต้น 3 ใบเขียวขึ้น สุขภาพดี
ขึ้น ต้น 1 สูงเบนหาแสง
ทุกต้นยังสภาพเหมือนเดิม
27 ก.ค. 60
ทุกต้นงอกตาใหม่น้อยแต่
เจริญเติบโตทางส่วนสูงดี
มาก
ต้น 1 มีวัชพืชขึ้นอีกต้น
ต้น2 มีกิ่งใหม่งอกออกมา
จากโคน
ต้น 2 ออกใบเขียว ด้าน
โคนต้น ต้น 3 โตปกติ
กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงของจานวนตากิ่งยอด
อภิปรายผลการทดลอง
จากผลการทดลองพบว่า การงอกตากิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิงจะแตกต่างกันเมื่อได้รับฮอร์โมน
ออกซินในปริมาณที่แตกต่างกัน โดยต้นตะลิงปลิงในชุดควบคุมเจริญเติบโตได้ดีอย่างสม่าเสมอ ส่วนชุด High
dose (10% v/v) จากกราฟ ต้นไม้มีการเจริญเติบโตโดยการงอกตากิ่งและยอดมากอย่างรวดเร็วในระยะแรก
แต่ตาเหล่านั้นไม่ยอมเจริญเป็นกิ่งทั้งยังไม่สามารถยืดให้สูงขึ้นได้เพราะยอดไหม้ ทาให้ต้น 1 ตาย และต้นอื่นๆ
มีการเติบโตที่ช้าลง โดยจากการหาข้อมูลพบว่า ปริมาณความเข้มข้นออกซินที่มากเกินไปทาให้พืชผลิตเอทิลิน
ออกมาแทน แล้วไปกดการยืดตัวของเซลล์และทาให้อวัยวะของพืชมีการเติบโตที่ไม่สัมพันธ์กัน เช่น แบ่งเซลล์
เพิ่มขึ้นแต่เซลล์ไม่ขยายขนาด อวัยวะบิดเบี้ยวเสียรูปทรง ยอดไหม้ การเจริญของพืชลดลง และหยุดไปในที่สุด
ส่วนต้นตะลิงปลิงในกลุ่ม low dose (2.5% v/v) ทาให้พืชค่อยๆเจริญเติบโตโดยงอกตายอดไม่มากแต่เจริญใน
ด้านความสูงแทน พืชต้น 2 หยุดการเจริญเติบโตไป ซึ่งน่าจะเป็นผลจากลมที่พัดเอาละอองออกซินจากกลุ่ม
high dose หรือการทดลองของกลุ่มอื่น ทาให้ทราบว่าความเข้มข้นระดับนี้ไม่ทาให้ต้นตะลิงปลิงตายแต่อาจ
เป็นเพราะการทดลองผิดพลาดทาให้ต้น 2 หยุดการเติบโต
0
5
10
15
20
25
30
35
15-มิ.ย.
17-มิ.ย.
19-มิ.ย.
21-มิ.ย.
23-มิ.ย.
25-มิ.ย.
27-มิ.ย.
29-มิ.ย.
1-ก.ค.
3-ก.ค.
5-ก.ค.
7-ก.ค.
9-ก.ค.
11-ก.ค.
13-ก.ค.
15-ก.ค.
17-ก.ค.
19-ก.ค.
21-ก.ค.
23-ก.ค.
25-ก.ค.
27-ก.ค.
จำนวนตำกิ่งและยอด(ตำ)
วันที่
C1 C2 C3 L1 L2 L3 H1 H2 H3
10
บทที่ 5
สรุปผลการทดลอง และข้อเสนอแนะ
สรุปผลการทดลอง
จากผลการทดลองการศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อจานวนตา กิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิง
เป็นระยะเวลา 7 สัปดาห์ ทาให้ทราบได้ว่า ต้นตะลิงปลิงที่ได้รับฮอร์โมนออกซินมากในความเข้มข้นที่เหมาะสม
จะมีการงอกตากิ่งและยอดมากขึ้น รวมถึงมีความสูงมากขึ้น แต่หากได้รับมากเกินไปอาจหยุดการเจริญเติบโต
ของต้นได้ ถือว่าเป็นผลข้างเคียงที่ต้นตะลิงปลิงได้รับ
ข้อเสนอแนะ
1. ควรตั้งการทดลองให้เป็นเอกเทศจากกลุ่มอื่น
2. ควรศึกษาทิศทางลมก่อนฉีดฮอร์โมน
3. ควรผสมฮอร์โมนออกซินให้ความเข้มข้นน้อยกว่านี้ โดยใน low dose ควรเท่ากับปริมาณที่แนะนา
11
ภาคผนวก
ภาพประกอบอุปกรณ์การทดลอง
ภาพที่ 1 กระบอกฉีดน้า (ฟ็อกกี้) พร้อมป้าย ภาพที่ 2 กระบอกตวงฮอร์โมน
ภาพที่ 3 ขวดบรรจุฮอร์โมนออกซิน ภาพที่ 4 กระบอกฉีดยา
13
ภาพประกอบการเก็บข้อมูล
ภาพที่ 5 การติดตามผลการดาเนินโครงงานฮอร์โมน ครั้งที่ 1
ภาพที่ 6 การใช้ปากกาเพอร์มาเนนต์นับกิ่งยอดและบันทึกผลในสัปดาห์ที่ 7
ภาพที่ 7 การติดตามผลการดาเนินโครงงานฮอร์โมน ครั้งที่ 2
14
ภาพประกอบผลการทดลอง
ภาพที่ 8 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 1
ภาพที่ 9 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 2 เรียงจาก ชุดควบคุม, low dose, high dose
ภาพที่ 10 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 3 แสดงให้เห็นยอดที่ไหม้ของต้นตะลิงปลิงกลุ่ม High dose
15
ภาพที่ 11 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 4 ภาพต้นตะลิงปลิงชุดควบคุม และยอดที่ไหม้ของต้นที่ 2 ชุด Low dose
ภาพที่ 12 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 5 เรียงจาก ชุดควบคุม, low dose, high dose
16
ภาพที่ 13 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 6 ภาพแสดงสภาพหงิกงอของกิ่งต้นที่ 1 ของกลุ่ม high dose และวัชพืช
ประเภทหญ้าที่ขึ้นในต้นที่ 3 ของกลุ่ม low dose
ภาพที่ 14 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 7 เรียงจาก ชุดควบคุม, low dose, high dose
17
บรรณานุกรม
เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สานักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้,
กรุงเทพฯ
“ตะลิงปลิง”[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา.
https://eherb.hrdi.or.th/search_result_details.php?herbariumID=1083&name=ตะลิงปลิง
[29 กรกฎาคม 2560].
“ดอกตะลิงปลิง”[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา.https://www.flickr.com/photos/tik-th/3860686445
[29 กรกฎาคม 2560].
“ออกซิน”[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา.https://sites.google.com/site/selllaeakarbaengsell/hnwy-thi-
2-kar-txb-snxng-khxng-phuch-tx-sar-khwbkhum-kar-ceriy-teibto/1-3-xxk-sin-auxin
[29 กรกฎาคม 2560].
18

More Related Content

What's hot

โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วยโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วยธณัชช์ภรณ์ ศิริวัชเดชากุล
 

What's hot (20)

M6 78 60_9
M6 78 60_9M6 78 60_9
M6 78 60_9
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
M6 144 60_6
M6 144 60_6M6 144 60_6
M6 144 60_6
 
M6 144 60_3
M6 144 60_3M6 144 60_3
M6 144 60_3
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
 
Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60
 
Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
 
M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
 
M6 144 60_7
M6 144 60_7M6 144 60_7
M6 144 60_7
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วยโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ระบบน้ำหยดประหยัดน้ำเลียนแบบต้นกล้วย
 
M6 78 60_6
M6 78 60_6M6 78 60_6
M6 78 60_6
 
M6 125 60_7
M6 125 60_7M6 125 60_7
M6 125 60_7
 
M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
 

Similar to M6 125 60_6

งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมKaka619
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงกมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...Sircom Smarnbua
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...รัชศวรรณ มูลหา
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609วรากร หลวงโย
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korTheyok Tanya
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยNattayaporn Dokbua
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 

Similar to M6 125 60_6 (20)

M6 126 60_10
M6 126 60_10M6 126 60_10
M6 126 60_10
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
M6 125 60_2
M6 125 60_2M6 125 60_2
M6 125 60_2
 
M6 126 60_3
M6 126 60_3M6 126 60_3
M6 126 60_3
 
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียงCourse syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
Course syllabus ชีววิทยาม. 5 เทอม 1 บูรณาการภาษาอังกฤษและเศรษฐกิจพอเพียง
 
M6 125 60_4
M6 125 60_4M6 125 60_4
M6 125 60_4
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
วิจัยในชั้นเรียน ส่งเสริมทักษะการค้นคว้าความรู้เรื่องไม้ดอกไม้ประดับและพืชผัก...
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ วรากร 609
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 kor
 
Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
 
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลยกลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
กลุ่มที่ 2 รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5(เฉลย
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพPresent โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
Present โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
M6 126 60_4
M6 126 60_4M6 126 60_4
M6 126 60_4
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

M6 125 60_6

  • 1. โครงงานรายวิชาชีววิทยา เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อจานวนตา กิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิง นาเสนอครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ (ตาแหน่งครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์) สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. นางสาวจิรัชยา ลอยพิพันธ์ เลขที่ 2 2. นางสาวธัญญัฐ ลาชโรจน์ เลขที่ 6 3. นายเกียรติภูมิ โรจน์วนาการ เลขที่ 27 4. นายธนทัต รัชตะวรรณ เลขที่ 34 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 2. บทคัดย่อ โครงงานวิทยาศาสตร์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค้นคว้าความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่เหมาะสม สาหรับการแตกตา กิ่งและยอด และเปรียบเทียบผลของการใช้ฮอร์โมนออกซินในความเข้มข้นที่ต่างกันต่อการ แตกตา กิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิง ลาดับแรก คณะผู้จัดทาได้ทาการทดลองโดนศึกษาจากความแตกต่างของความเข้มข้นที่ใช้ อุปกรณ์ ในการทดลองประกอบด้วย กระบอกฉีดยา กระบอกตวงฮอร์โมน บัวรดน้า ฮอร์โมนออกซิน และต้นตะลิงปลิง จานวน 9 ต้น ระยะเวลาในการทาการทดลอง คือ ระหว่างวันที่ 12 มิถุนายน ถึง 27 กรกฎาคม 2560 บริเวณ หน้าตึก 2 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ลาดับถัดมา คณะผู้จัดทาได้ทาการทดลองโดยแบ่งต้นตะลิงปลิงเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มละ 3 ต้น กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มที่รดน้าปกติโดยไม่ผสมฮอร์โมนออกซิน (ชุดควบคุม) จานวน 3 ต้น กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มที่รดน้าผสม ฮอร์โมนออกซินในความเข้มข้น 2.5% โดยปริมาตร (Low dose) จานวน 3 ต้น กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มที่รดน้าผสม ฮอร์โมนออกซินในความเข้มข้น 10% โดยปริมาตร (High dose) จานวน 3 ต้น และเก็บข้อมูลจากการทดลอง ทุกๆ 7 วัน เป็นระยะเวลา 7 สัปดาห์ ลาดับสุดท้าย คณะผู้จัดทาได้นาข้อมูลมาวิเคราะห์ รวบรวมและสรุปผล เพื่อนามาจัดทาเป็นรูปเล่ม และนาเสนอ ผลจากการทดลองพบว่า เมื่อรดน้าที่ไม่ผสมฮอร์โมนออกซินให้ตะลิงปลิงกลุ่มที่ 1 (ชุดควบคุม) ตะลิงปลิงมีการแตกยอดโดยเฉลี่ย 6 ยอดต่อต้น เมื่อรดน้าผสมฮอร์โมนออกซินใน ความเข้มข้น 2.5% โดย ปริมาตรให้ตะลิงปลิงกลุ่มที่ 2 (Low dose) ตะลิงปลิงมีการแตกยอดโดยเฉลี่ย 5 ยอดต่อต้น และเมื่อรดน้า ผสมฮอร์โมนออกซินในความเข้มข้น 10% โดยปริมาตรให้ตะลิงปลิงกลุ่มที่ 3 (High dose) ตะลิงปลิงมีการ แตกยอดโดยเฉลี่ย 12 ยอดต่อต้น ก
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงานวิทยาศาสตร์รายวิชาชีววิทยา เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อจานวนตา กิ่ง และยอดของต้นตะลิงปลิงนี้ จะไม่มีทางเกิดขึ้นได้เลย หากไม่ได้รับความอนุเคราะห์จาก นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ คุณครูประจาวิชาชีววิทยา ที่ได้ให้คาปรึกษาระหว่างการทาการทดลอง การแก้ปัญหาอุปสรรคต่างๆ เกี่ยวกับ โครงงาน นางอาภา ณ พัทลุง หัวหน้าตึก 2 ที่เอื้อเฟื้อในเรื่องสถานที่ทาการทดลองและเพาะปลูก และคณะครู อาจารย์ทุกท่านในโรงเรียนที่ได้ให้การสนับสนุนการศึกษาโครงงานเล่มนี้จนสาเร็จสมบูรณ์ ขอขอบคุณผู้ปกครอง อาจารย์โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา และชุมชนที่ให้ความช่วยเหลือในด้านต่างๆ และให้กาลังใจตลอดมา คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณทุกท่านมา ณ โอกาสนี้ และคาดหวังอย่างยิ่งว่าโครงงานวิทยาศาสตร์ นี้จะให้ความรู้และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่าน คณะผู้จัดทา ข
  • 4. สารบัญ หน้า บทคัดย่อ ก กิตติกรรมประกาศ ข สารบัญ ค สารบัญรูปภาพ ง บทที่ 1 : บทนา 1  ชื่อโครงงาน 1  สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1  อาจารย์ที่ผู้สอน 1  ที่มาและความสาคัญ 1  คาถามการทาโครงงาน 1  สมมติฐานการทดลอง 1  วัตถุประสงค์ของโครงงาน 2  ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2  ขอบเขตของโครงงาน 2  ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง 2  ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน 2  วิธีการเก็บข้อมูล 2  วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล 3 บทที่ 2 : เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4  ข้อมูลรายละเอียดของพืชที่ใช้ทาการทดลอง : ตะลิงปลิง 4  ข้อมูลรายละเอียดของฮอร์โมนที่ใช้ทาการทดลอง : ออกซิน (Auxin) 6 บทที่ 3 : วิธีดาเนินการ 7 ตารางบันทึกกิจกรรมการทดลอง 8 บทที่ 4 : ผลการทดลองฮอร์โมนพืชและอภิปรายผลการทดลอง 9  ผลการทดลองฮอร์โมนพืช 9  อภิปรายผลการทดลอง 10 บทที่ 5 : สรุปและข้อเสนอแนะ 11  สรุปผลการทดลอง 11  ข้อเสนอแนะ 11 ภาคผนวก 13 บรรณานุกรม 18 ค
  • 5. สารบัญรูปภาพ หน้า ภาพที่ 1 กระบอกฉีดน้า (ฟ็อกกี้) พร้อมป้าย 13 ภาพที่ 2 กระบอกตวงฮอร์โมน 13 ภาพที่ 3 ขวดบรรจุฮอร์โมนออกซิน 13 ภาพที่ 4 กระบอกฉีดยา 13 ภาพที่ 5 การติดตามผลการดาเนินโครงงานฮอร์โมน ครั้งที่ 1 14 ภาพที่ 6 การใช้ปากกาเพอร์มาเนนต์นับกิ่งยอดและบันทึกผลในสัปดาห์ที่ 7 14 ภาพที่ 7 การติดตามผลการดาเนินโครงงานฮอร์โมน ครั้งที่ 2 14 ภาพที่ 8 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 1 15 ภาพที่ 9 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 2 15 ภาพที่ 10 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 3 15 ภาพที่ 11 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 4 16 ภาพที่ 12 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 5 16 ภาพที่ 13 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 6 17 ภาพที่ 14 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 7 17 ง
  • 6. บทที่ 1 บทนา ชื่อโครงงาน เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อจานวนตา กิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิง สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. นางสาวจิรัชยา ลอยพิพันธ์ เลขที่ 2 2. นางสาวธัญญัฐ ลาชโรจน์ เลขที่ 6 3. นายเกียรติภูมิ โรจน์วนาการ เลขที่ 27 4. นายธนทัต รัชตะวรรณ เลขที่ 34 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อาจารย์ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่มาและความสาคัญ ตะลิงปลิงเป็นไม้ผลที่นิยมปลูกทั่วไป มักนาผลมาใช้รับประทาน โดยผลของตะลิงปลิงจะมีรสเปรี้ยว นามารับประทานคู่กับกะปิ น้าปลาหวาน เกลือ ใช้ประกอบอาหาร เช่น ส้มตา ใช้เป็นเครื่องปรุงอาหารที่ ต้องการรสเปรี้ยว เช่น แกงส้ม ต้มยา นามาถนอมอาหารด้วยวิธีการแช่อิ่ม หรือนามาทาน้าผลไม้ ซึ่งผลของ ตะปลิงมีสรรพคุณมากมาย ส่วนอื่นๆของต้นตะลิงปลิงอย่างราก ใบ หรือผลของตะลิงปลิงก็เช่นกัน โดยผลของ ตะลิงปลิงจะออกบริเวณกิ่งและลาต้น ดังนั้น เพื่อเพิ่มการแตกยอดของต้นตะลิงปลิง ซึ่งยอดเหล่านั้นจะ กลายเป็นกิ่งและออกผลต่อไป คณะผู้จัดทาจึงได้ทาทดลองโดยการให้ฮอร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้นแตกต่าง กันกับต้นตะลิงปลิง โดยสังเกตและบันทึกผลการเพิ่มขึ้นของจานวนตากิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิง จากนั้นนา ผลการทดลองที่ได้มาทาการเปรียบเทียบเพื่อให้ทราบความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่เหมาะสมกับการแตก ตา กิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิง โดยคณะผู้จัดทาคาดหวังว่าความรู้ที่ได้จากโครงงานวิทยาศาสตร์นี้ จะ สามารถช่วยเพิ่มปริมาณตา กิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิงซึ่งจะนาไปสู่การเพิ่มปริมาณผลของต้นตะลิงปลิง ต่อไป แล้วสามารถนาผลของตะลิงปลิงที่ได้มาใช้ประโยชน์ต่างๆดังที่กล่าวไว้ข้างต้น คาถามการทาโครงงาน ฮอร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้นต่างกันจะส่งผลต่อการแตกตา กิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิงแตกต่าง กันอย่างไร สมมติฐานการทดลอง ถ้าฮอร์โมนออกซินมีผลทาให้ต้นตะลิงปลิงแตกตา กิ่งและยอดเพิ่มขึ้น แล้วต้นตะลิงปลิงในกลุ่มที่ได้รับ ฮอร์โมนออกซินในความเข้มข้นที่เหมาะสมจะมีการแตกยอดมากที่สุดและเห็นผลเร็วที่สุด 1
  • 7. วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อเปรียบเทียบผลของการใช้ฮอร์โมนออกซินในความเข้มข้นที่ต่างกันต่อการแตกตากิ่งและยอด ของต้นตะลิงปลิง 2. เพื่อศึกษาผลกระทบข้างเคียงอื่น ๆ ของฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อต้นตะลิงปลิง ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ทราบความเข้มข้นที่เหมาะสมของฮอร์โมนออกซินที่ใช้ในการแตกตา กิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิง 2. ทราบผลของของการใช้ฮอร์โมนออกซินต่อการแตกตา กิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิง 3. ประหยัดเวลาในการแตกตา กิ่งและยอดของตะลิงปลิง และได้ผลผลิตที่ต้องการ 4. สมาชิกรู้จักการทางานเป็นกลุ่ม 5. สมาชิกได้เรียนรู้วิธีการทดลองตามกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 6. สมาชิกมีจิตสานึกในการดูแลต้นไม้และได้เรียนรู้การดูแลต้นไม้ที่ถูกวิธี ขอบเขตของโครงงาน ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่แตกต่างกัน (v/v%) ตัวแปรตาม คือ 1. ปริมาณตา กิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิง 2. ผลกระทบอื่น ๆ ที่มีต่อต้นตะลิงปลิง ตัวแปรควบคุม คือ 1. การพ่นน้าให้ใบชุ่มชื้นโดยทั่วกัน 2. สภาพอากาศ 3. ทาเลที่ตั้ง และความอุดมสมบูรณ์ของดินปลูก 4. ความทนทานต่อฮอร์โมนของต้นตะลิงปลิง ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน 12 มิถุนายน ถึง 27 กรกฎาคม 2560 บริเวณหน้าตึก 2 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา วิธีการเก็บข้อมูล การนับจานวนตาของกิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิง ทาได้โดยการใช้ปากกาเพอร์มาเนนต์ กาหนดตาแหน่งของตากิ่งและยอดในแต่ละสัปดาห์เพื่อหาตาที่ขึ้นใหม่ โดยนับยอดและสังเกตการ เปลี่ยนแปลงทุกๆวันพฤหัสบดีของทุกสัปดาห์เป็นเวลา 7 สัปดาห์ โดยทั้งนี้ได้มีการจดบันทึกไว้ใน ตารางการทดลองที่ออกแบบไว้ 2
  • 8. วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล เมื่อได้ข้อมูลดังกล่าว ทางคณะผู้จัดทาก็จะนามาคานวณดัชนีการงอกของตากิ่งและยอดจาก สูตรดังกล่าว โดยจะอภิปรายผลโดยใช้ดัชนีการงอกของตากิ่งและยอดของกลุ่ม เป็นข้อมูลเปรียบเทียบ หลัก นอกจากนี้ ทางคณะผู้จัดทาได้มีการสังเกตการเปลี่ยนแปลงอื่นๆของต้นตะลิงปลิงเพื่อศึกษา ผลข้างเคียงที่ฮอร์โมนออกซินมีต่อต้นตะลิงปลิงอีกด้วย วิธีคานวณดัชนีการงอกของตากิ่งและยอด 𝐼 = ∑ (∆𝑆)1 1 7 เมื่อ I แทนดัชนีการงอกของตากิ่งและยอดใน 7 สัปดาห์ ∆S แทนผลต่างของจานวนตากิ่งและยอดที่เพิ่มขึ้นระหว่างสองสัปดาห์ใดๆ และ 𝐼̅ = ∑ ∆𝑆 21 แทนดัชนีการงอกของตากิ่งและยอดของกลุ่ม 3
  • 9. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ข้อมูลรายละเอียดของพืชที่ใช้ทาการทดลอง : ตะลิงปลิง วงศ์ : Oxalidaceae ชื่อวิทยาศาสตร์ : Averrhoa bilimbi L. ชื่อไทย : ตะลิงปลิง ชื่อท้องถิ่น : ลิงปิ้ง หลิ้งปิ้ง หลี้งตี้ง ลีหมิง เฟืองเทศ มะเฟืองตรน หลิงปลิง (ใต้) กะลิงปริง ปลีมิง ลิง ปลิง ลิงปลิง (ระนอง) มูงมัง (เกาะสมุย) บลีมิง (มาเลย์-นราธิวาส) Bilimbi, Cucumber Tree, Tree Sorrel ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก มีกิ่งก้านสาขามาก เปราะหักง่าย เปลือกต้นมีสี ชมพู ผิวเรียบมีขนนุ่มปกคลุมตามกิ่ง ใบ : เป็นใบประกอบแบบขนนกมีใบย่อยเรียงตัวกันเป็นคู่ ใบย่อยรูปหอก ปลายใบแหลม โคนมน จะ เรียงจากขนาดเล็กไปหาขนาดใหญ่ ที่โคนจะมีขนาดเล็ก ใบกว้างประมาณ 1 เซนติเมตร ยาว 2-5 เซนติเมตร มี สีเขียวอ่อนมีขนนุ่มๆ ปกคลุมอยู่ ดอก : ออกเป็นช่อตามลาต้นและกิ่ง (ดอกขนาดเล็กหลายช่อ) แต่ละช่อยาวราว 6 นิ้ว ดอกมี 5 กลีบ มีสีแดงเข้ม มีกลีบเลี้ยง 5 กลีบสีเขียวอมชมพู เกสรกลางดอกมีสีเขียวแดง ดอกมีกลิ่นหอม ผลกลมยาว เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร ผล : สีเขียว เป็นพูตามความยาวผล 5 ร่อง ออกเป็นช่อห้อย เมื่อสุกมีสีเหลือง ฉ่าน้า เมล็ดแบน ผลมี รสเปรี้ยวจัดเพราะมีกรดออกซาลิกอยู่สูง ให้ผลในฤดูหนาว 4
  • 10. สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์ : - ราก สรรพคุณแก้พิษร้อนใน กระหายน้า ฝาดสมาน บารุงกระเพาะอาหาร แก้โลหิตออก ตามกระเพาะอาหาร ลาไส้ ดับพิษร้อนของไข้ แก้ริดสีดวงทวาร แก้คัน แก้คางทูม แก้ไขข้ออักเสบ รักษาสิว รักษาซิลิส บรรเทาโรคเก๊าท์ บรรเทาการอักเสบของลาไส้ใหญ่ - ใบ สรรพคุณใช้พอกแก้คัน ใช้ภายในโดยนามาต้มดื่มรักษาอาการอักเสบของลาไส้ใหญ่ รักษาซิฟิลิส แก้ไขข้ออักเสบ รักษาคางทูม รักษาสิว - ดอก นามาชงเป็นชา สรรพคุณแก้ไอ - ผล สรรพคุณเจริญอาหาร บารุงกระเพาะอาหาร ฝาดสมานและลดไข้ แก้เสมหะเหนียว ฟอกโลหิต ยาบารุงแก้ปวดมดลูก แก้ไอ บรรเทาโรดริดสีดวงทวาร แก้ลักปิดลักเปิด สภาพนิเวศ : ตะลิงปลิงปลูกเลี้ยงง่าย ชอบดินร่วนปนทราย ระบายน้าดี แต่ไม่ทนน้าท่วมขังเป็น เวลานาน นิยมขยายพันธุ์โดยการเพาะเมล็ดหรือตอนกิ่ง ซึ่งต้นที่ได้จากการเพาะเมล็ดจะมีทรงพุ่มสูงใหญ่ และ แข็งแรงกว่าต้นที่ได้ตอนกิ่ง แต่จะใช้เวลา 2-3 ปี จึงจะมีดอกมีผล ขณะที่ต้นจากการตอนกิ่งจะให้ผลหลังจากการ ปลูกลงดิน 5-8 เดือน หลังจากปลูกได้นาน 3-4 เดือนควรหมั่นตัดแต่งกิ่งให้เป็นพุ่ม ถ้าไม่ต้องการให้ต้นสูงมากก็ ตัดส่วนยอดออกเพื่อให้แตกกิ่งข้าง ๆ จะช่วยให้เก็บผลได้ง่าย ควรใส่ปุ๋ยคอกสลับกับปุ๋ยเคมีบ้างทุก 3 เดือน 5
  • 11. ข้อมูลรายละเอียดฮอร์โมนที่ใช้ทาการทดลอง : ออกซิน (Auxin) เป็นสารเคมีชื่อกรดอินโดลแอซีติก (indoleacetic acid : IAA) เป็นฮอร์โมนที่พืชสร้างจากกลุ่มเซลล์ เนื้อเยื่อเจริญ ที่บริเวณยออ่อน แล้วแพร่จากยอดอ่อนไปยังเซลล์อื่น ๆ ที่อยู่ด้านล่าง โดยจะไปกระตุ้นเซลล์ บริเวณเนื้อเยื่อที่มีการยืดตัวให้เจริญ ขยายขนาดขึ้น ทาให้พืชเติบโตสูงขึ้น การทางานของออกซินขึ้นอยู่กับสิ่ง เร้า เช่น แสง อุณหภูมิ แรงโน้มถ่วงของโลก สิ่งสัมผัสและอื่น ๆ แสงมีผลต่อการแพร่กระจายของออกซินที่ยอดอ่อน โดยออกซินจะแพร่กระจายจากด้านที่มีแสงมาก ไปยังด้านที่มีแสงน้อย ทาให้ด้านที่มีแสงน้อยมีออกซินมากกว่า เซลล์เจริญขยายตัวมากกว่าด้านที่มีแสงมาก ปลายยอดจึงโค้งเข้าหาแสง ซึ่งให้ผลตรงข้าม กับที่ ปลายราก โดยออกซินยังคงเคลื่อนที่หนีแสง แต่เซลล์ที่ ปลายรากตอบสนองต่อออกซินต่างจากเซลล์ที่ปลายยอด บริเวณใด ของราก ที่มีแสงน้อย จะมีออกซินสะสม มากจึงยับยั้งการเจริญของเซลล์ราก บริเวณที่มีแสงมากมีออกซินน้อยกว่า เซลล์รากขยายตัวมากกว่า จึงเกิด การโค้งตัวของปลายรากหนีแสง ออกซินมีผลในการกระตุ้นการเจริญเติบโตของลาต้น ตา ใบ และราก ในระดับความเข้มข้นที่ต่างกัน ออกซินในระดับเข้มข้นสูงมาก ๆ จะยับยั้งการเจริญเติบโตทุกส่วนของพืช ออกซินในระดับความเข้มข้นที่ พอเหมาะจะกระตุ้นการเจริญของลาต้น แต่จะมีผลในการยับยั้ง การเจริญเติบโตของตาและใบ ซึ่งต้องการ ความเข้มข้นต่ากว่า ในขณะที่รากต้องการออกซินในปริมาณที่น้อยมาก ลาต้นจึงต้องการออกซิน สูงกว่าตา และใบ ในขณะที่ตาและใบต้องการออกซินสูงกว่าในราก ดังนั้นความเข้มข้นของออกซิน ที่พอเหมาะต่อการ เจริญเติบโต ของอวัยวะหนึ่งแต่จะยับยั้งการเจริญเติบโตของอวัยวะหนึ่งได้ 6
  • 12. บทที่ 3 วิธีดาเนินการ โครงงานวิทยาศาสตร์ครั้งนี้เป็นโครงงานวิทยาศาสตร์เชิงทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาค้นคว้าความ เข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่เหมาะสมสาหรับการแตกยอด และเปรียบเทียบผลของการใช้ฮอร์โมนออกซินในความ เข้มข้นที่ต่างกันต่อการแตกยอดของต้นตะลิงปลิงโดยเพื่อให้การดาเนินการบรรลุจุดมุ่งหมาย คณะผู้จัดทาได้ ดาเนินการตามขั้นตอนดังนี้ 1. ประชุมสมาชิกภายในกลุ่มเพื่อหารือเกี่ยวกับโครงงานร่วมกัน 2. ติดต่อประสานงานกับครูที่ปรึกษางานโครงงาน เพื่อเสนอหัวข้อโรงงานและรอการอนุมัติ 3. หลังจากได้รับการอนุมัติเรียบร้อยแล้ว จัดหาสถานที่และเตรียมอุปกรณ์ที่จาเป็นต่อการดาเนินงาน 4. ดาเนินการตามขั้นตอนการปฏิบัติงาน ดังนี้ 1. ศึกษาข้อมูลทางพฤกษศาสตร์ของต้นไม้ที่จะนามาศึกษา ในที่นี้คือ ตะลิงปลิง 2. ศึกษาการใช้ฮอร์โมนออกซินที่ถูกต้องและเหมาะสม 3. จัดเตรียมวัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต่อการทดลอง ได้แก่  ต้นตะลิงปลิงอายุ 3 เดือน ในถุงปลูก จานวน 9 ต้น  กระบอกฉีดน้า (ฟ็อกกี้) จานวน 3 กระบอก พร้อมป้าย  ถาดพลาสติกแบ่งกลุ่มต้นไม้ จานวน 3 ถาด  อุปกรณ์สาหรับการเตรียมฮอร์โมน ได้แก่ 1. กระบอกตวงฮอร์โมน จานวน 1 กระบอก 2. กระบอกฉีดยาขนาด 10 cc จานวน 1 หลอด 3. ฮอร์โมนออกซิน ปริมาตร 150 cc 4. ดาเนินการทดลองตามวิธีการทดลองต่อไปนี้ 1. นาต้นตะลิงปลิงมาลงกระถาง โดยนาดินเหนียวและกาบมะพร้าวออกให้มากที่สุดเท่าที่ เป็นไปได้ จากนั้นจึงนาลงกระถาง ใส่ดินให้กลบราก รดน้า จัดวางในที่ที่มีแสงแดดทั่วถึง 2. แบ่งต้นตะลิงปลิงออกเป็น 3 กลุ่ม ดังนี้  กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มที่รดน้าปกติโดยไม่ผสมฮอร์โมนออกซิน จานวน 3 ต้น 7
  • 13.  กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มที่รดน้าผสมฮอร์โมนออกซินในความเข้มข้น 2.5% โดยปริมาตร จานวน 3 ต้น (Low dose)  กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มที่รดน้าผสมฮอร์โมนออกซินในความเข้มข้น 10% โดยปริมาตร จานวน 3 ต้น (High dose) 3. รดน้าผสมฮอร์โมนให้ตะลิงปลิงทุกๆ 7 วัน วันอื่น ๆ ให้รดน้าปกติ 4. สังเกตการแตกยอดของตะลิงปลิงทุกๆ 7 วัน แล้วบันทึกผล 5. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่ออาจารย์ผู้สอนเป็นระยะ ๆ 6. จัดทาเป็นเอกสาร และนาเสนอในรูปแบบของรูปเล่มโครงงาน ตารางบันทึกกิจกรรมการทดลอง วัน เดือน ปี บันทึกกิจกรรม ผู้รับผิดชอบ 15 มิ.ย. 60 นับกิ่งยอด 1 จิรัชยา 16 มิ.ย. 60 ฉีดฮอร์โมน 1 ธัญณัฐ 22 มิ.ย. 60 นับกิ่งยอด 2 จิรัชยา 23 มิ.ย. 60 ฉีดฮอร์โมน 2 ธัญณัฐ 29 มิ.ย. 60 นับกิ่งยอด 3 จิรัชยา 30 มิ.ย. 60 ฉีดฮอร์โมน 3 ธัญณัฐ 6 ก.ค. 60 นับกิ่งยอด 4 จิรัชยา 7 ก.ค. 60 ฉีดฮอร์โมน 4 ธัญณัฐ 13 ก.ค. 60 นับกิ่งยอด 5 จิรัชยา 14 ก.ค. 60 ฉีดฮอร์โมน 5 ธัญณัฐ 19 ก.ค. 60 นับกิ่งยอด 6 เกียรติภูมิ 20 ก.ค. 60 ฉีดฮอร์โมน 6 ธนทัต 27 ก.ค. 60 นับกิ่งยอด 7 จิรัชยา 27 ก.ค. 60 ฉีดฮอร์โมน 7 ธัญณัฐ 8
  • 14. บทที่ 4 ผลการทดลองฮอร์โมนพืช และอภิปรายผลการทดลอง ตารางแสดงจานวนตา กิ่งและยอดที่แตกออกในแต่ละสัปดาห์ วันที่ จานวนตากิ่งและยอด (ตา) ชุดควบคุม Low dose (2.5% v/v) High dose (10% v/v) ต้น 1 ต้น 2 ต้น 3 ต้น1 ต้น 2 ต้น 3 ต้น 1 ต้น 2 ต้น 3 15 มิ.ย. 60 11 23 20 8 6 10 8 12 11 22 มิ.ย. 60 12 27 22 9 7 11 19 25 23 29 มิ.ย. 60 12 28 24 9 8 13 - 25 24 6 ก.ค. 60 14 31 24 10 8 17 - 31 29 13 ก.ค. 60 15 31 26 12 8 17 - 31 29 20 ก.ค. 60 15 31 26 13 8 17 - 32 29 27 ก.ค. 60 15 32 26 13 10 17 - 32 29 ดัชนีการงอก 0.71 1.29 0.86 0.86 0.57 1 1.57 2.86 2.57 0.90 0.76 2.33 สีแดง แทน การนับยอดและตากิ่งก่อนฉีดฮอร์โมน ตารางแสดงสภาพของต้นไม้ในแต่ละสัปดาห์ วันที่ สภาพของต้นไม้ที่สังเกตได้ด้วยตา ชุดควบคุม Low dose (2.5% v/v) High dose (10% v/v) 15 มิ.ย. 60 เริ่มต้นการทดลอง 22 มิ.ย. 60 ต้น 2,3 ขอบใบเหลือง ใบและบางกิ่งเหลืองทุกต้น ต้น 2 ใบและกิ่งร่วง ใบเหลืองและกิ่งมากๆทุก ต้น กิ่งเปราะ พยายามผลิ ยอดและตาออกมามากแต่ ไม่โต 26 มิ.ย. 60 - - ต้น 1 ตาย ยอดไหม้ 29 มิ.ย. 60 เจริญเติบโตตามปกติ ต้น 1,2 ใบร่วง ผลิใบใหม่สี เขียว ต้น 2,3 ยอดไหม้เกือบ หมด งอกตากิ่งยอดมากแต่ ไม่โต 6 ก.ค. 60 ต้น 3 สูงขึ้นมาก ยอดเบน ต้น 2 มีกิ่งสีเขียวงอก ออกมาด้านล่าง ต้น 3 สูง เบนหาแสง ต้น 2 มีกิ่งเล็กงอกออกมา ด้านล่าง ต้น 3 โตได้ ตามปกติ 13 ก.ค. 60 ต้น 3 โน้มเข้าหาแสงมาก ต้น 2 หยุดการเติบโตแต่ใบ ยังเขียวอยู่ ต้น 1 มีวัชพืช หยุดการงอกยอด 9
  • 15. วันที่ สภาพของต้นไม้ที่สังเกตได้ด้วยตา ชุดควบคุม Low dose (2.5% v/v) High dose (10% v/v) 19 ก.ค. 60 ต้นที่ 1,3 แตกใบใหม่มาก ต้น 3 ใบเขียวขึ้น สุขภาพดี ขึ้น ต้น 1 สูงเบนหาแสง ทุกต้นยังสภาพเหมือนเดิม 27 ก.ค. 60 ทุกต้นงอกตาใหม่น้อยแต่ เจริญเติบโตทางส่วนสูงดี มาก ต้น 1 มีวัชพืชขึ้นอีกต้น ต้น2 มีกิ่งใหม่งอกออกมา จากโคน ต้น 2 ออกใบเขียว ด้าน โคนต้น ต้น 3 โตปกติ กราฟแสดงการเปลี่ยนแปลงของจานวนตากิ่งยอด อภิปรายผลการทดลอง จากผลการทดลองพบว่า การงอกตากิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิงจะแตกต่างกันเมื่อได้รับฮอร์โมน ออกซินในปริมาณที่แตกต่างกัน โดยต้นตะลิงปลิงในชุดควบคุมเจริญเติบโตได้ดีอย่างสม่าเสมอ ส่วนชุด High dose (10% v/v) จากกราฟ ต้นไม้มีการเจริญเติบโตโดยการงอกตากิ่งและยอดมากอย่างรวดเร็วในระยะแรก แต่ตาเหล่านั้นไม่ยอมเจริญเป็นกิ่งทั้งยังไม่สามารถยืดให้สูงขึ้นได้เพราะยอดไหม้ ทาให้ต้น 1 ตาย และต้นอื่นๆ มีการเติบโตที่ช้าลง โดยจากการหาข้อมูลพบว่า ปริมาณความเข้มข้นออกซินที่มากเกินไปทาให้พืชผลิตเอทิลิน ออกมาแทน แล้วไปกดการยืดตัวของเซลล์และทาให้อวัยวะของพืชมีการเติบโตที่ไม่สัมพันธ์กัน เช่น แบ่งเซลล์ เพิ่มขึ้นแต่เซลล์ไม่ขยายขนาด อวัยวะบิดเบี้ยวเสียรูปทรง ยอดไหม้ การเจริญของพืชลดลง และหยุดไปในที่สุด ส่วนต้นตะลิงปลิงในกลุ่ม low dose (2.5% v/v) ทาให้พืชค่อยๆเจริญเติบโตโดยงอกตายอดไม่มากแต่เจริญใน ด้านความสูงแทน พืชต้น 2 หยุดการเจริญเติบโตไป ซึ่งน่าจะเป็นผลจากลมที่พัดเอาละอองออกซินจากกลุ่ม high dose หรือการทดลองของกลุ่มอื่น ทาให้ทราบว่าความเข้มข้นระดับนี้ไม่ทาให้ต้นตะลิงปลิงตายแต่อาจ เป็นเพราะการทดลองผิดพลาดทาให้ต้น 2 หยุดการเติบโต 0 5 10 15 20 25 30 35 15-มิ.ย. 17-มิ.ย. 19-มิ.ย. 21-มิ.ย. 23-มิ.ย. 25-มิ.ย. 27-มิ.ย. 29-มิ.ย. 1-ก.ค. 3-ก.ค. 5-ก.ค. 7-ก.ค. 9-ก.ค. 11-ก.ค. 13-ก.ค. 15-ก.ค. 17-ก.ค. 19-ก.ค. 21-ก.ค. 23-ก.ค. 25-ก.ค. 27-ก.ค. จำนวนตำกิ่งและยอด(ตำ) วันที่ C1 C2 C3 L1 L2 L3 H1 H2 H3 10
  • 16. บทที่ 5 สรุปผลการทดลอง และข้อเสนอแนะ สรุปผลการทดลอง จากผลการทดลองการศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อจานวนตา กิ่งและยอดของต้นตะลิงปลิง เป็นระยะเวลา 7 สัปดาห์ ทาให้ทราบได้ว่า ต้นตะลิงปลิงที่ได้รับฮอร์โมนออกซินมากในความเข้มข้นที่เหมาะสม จะมีการงอกตากิ่งและยอดมากขึ้น รวมถึงมีความสูงมากขึ้น แต่หากได้รับมากเกินไปอาจหยุดการเจริญเติบโต ของต้นได้ ถือว่าเป็นผลข้างเคียงที่ต้นตะลิงปลิงได้รับ ข้อเสนอแนะ 1. ควรตั้งการทดลองให้เป็นเอกเทศจากกลุ่มอื่น 2. ควรศึกษาทิศทางลมก่อนฉีดฮอร์โมน 3. ควรผสมฮอร์โมนออกซินให้ความเข้มข้นน้อยกว่านี้ โดยใน low dose ควรเท่ากับปริมาณที่แนะนา 11
  • 18. ภาพประกอบอุปกรณ์การทดลอง ภาพที่ 1 กระบอกฉีดน้า (ฟ็อกกี้) พร้อมป้าย ภาพที่ 2 กระบอกตวงฮอร์โมน ภาพที่ 3 ขวดบรรจุฮอร์โมนออกซิน ภาพที่ 4 กระบอกฉีดยา 13
  • 19. ภาพประกอบการเก็บข้อมูล ภาพที่ 5 การติดตามผลการดาเนินโครงงานฮอร์โมน ครั้งที่ 1 ภาพที่ 6 การใช้ปากกาเพอร์มาเนนต์นับกิ่งยอดและบันทึกผลในสัปดาห์ที่ 7 ภาพที่ 7 การติดตามผลการดาเนินโครงงานฮอร์โมน ครั้งที่ 2 14
  • 20. ภาพประกอบผลการทดลอง ภาพที่ 8 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 1 ภาพที่ 9 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 2 เรียงจาก ชุดควบคุม, low dose, high dose ภาพที่ 10 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 3 แสดงให้เห็นยอดที่ไหม้ของต้นตะลิงปลิงกลุ่ม High dose 15
  • 21. ภาพที่ 11 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 4 ภาพต้นตะลิงปลิงชุดควบคุม และยอดที่ไหม้ของต้นที่ 2 ชุด Low dose ภาพที่ 12 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 5 เรียงจาก ชุดควบคุม, low dose, high dose 16
  • 22. ภาพที่ 13 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 6 ภาพแสดงสภาพหงิกงอของกิ่งต้นที่ 1 ของกลุ่ม high dose และวัชพืช ประเภทหญ้าที่ขึ้นในต้นที่ 3 ของกลุ่ม low dose ภาพที่ 14 สภาพต้นไม้ในสัปดาห์ที่ 7 เรียงจาก ชุดควบคุม, low dose, high dose 17
  • 23. บรรณานุกรม เต็ม สมิตินันทน์,2544. ชื่อพรรณไม้แห่งประเทศไทย. ส่วนพฤกษศาสตร์ป่าไม้ สานักวิชาการป่าไม้ กรมป่าไม้, กรุงเทพฯ “ตะลิงปลิง”[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา. https://eherb.hrdi.or.th/search_result_details.php?herbariumID=1083&name=ตะลิงปลิง [29 กรกฎาคม 2560]. “ดอกตะลิงปลิง”[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา.https://www.flickr.com/photos/tik-th/3860686445 [29 กรกฎาคม 2560]. “ออกซิน”[ระบบออนไลน์].แหล่งที่มา.https://sites.google.com/site/selllaeakarbaengsell/hnwy-thi- 2-kar-txb-snxng-khxng-phuch-tx-sar-khwbkhum-kar-ceriy-teibto/1-3-xxk-sin-auxin [29 กรกฎาคม 2560]. 18