SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
1
ผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินกับยอดของต้นมะลิลา
นาเสนอครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
สมาชิก
นางสาวกัญญาอร สีสาลี เลขที่ 1 ห้อง 144
นางสาวณัฐสิณี หวังยงกุลวัฒนา เลขที่ 7 ห้อง 144
นางสาวปภาวี กุศลศิลป์วุฒิ เลขที่ 12 ห้อง 144
นางสาวภัทราพร ยังรักษา เลขที่ 18 ห้อง 144
2
บทคัดย่อ
การเจริญเติบโตของพืช โดยปกตินั้นประกอบไปด้วยหลายปัจจัย เช่น น้า แสง แร่ธาตุ
อุณหภูมิ ฮอร์โมน และปัจจัยอื่นอีกมากมาย ฮอร์โมนพืชเป็นปัจจัยที่สาคัญปัจจัยหนึ่งที่ทาให้พืช
เป็นมากกว่ากลุ่มเซลล์ที่คล้ายกัน โดยเฉพาะฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน จากการศึกษาพบว่า
ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน นั้นเป็นฮอร์โมนที่ช่วยในการเพิ่มจานวนยอดของต้นมะลิลา เราจึงทา
การทดลองโดยนาต้นมะลิลาจานวน 9 ต้น แบ่งเป็นชุดควบคุม 3 ต้น ชุดการทดลองที่ 1 เป็นชุด
ควบคุม 3 ต้น ชุดการทดลองที่ 2 ใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน เข้มข้น 1% 3 ต้น และชุดการทดลอง
ที่3 เป็นชุดใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 2.5% ทาการฉีดฮอร์โมนและนับจานวนใบสัปดาห์ละครั้ง
จากการทดลองพบว่า ชุดการทดลองที่2 ทาให้ต้นมะลิลามีจานวนยอดเพิ่มขึ้นมากกว่าชุด
การทดลองที่ 1 และชุดการทดลองที่3 แสดงให้เห็นว่าฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน สามารถทาให้พืช
มีจานวนยอดเพิ่มขึ้น โดยต้องมีความเข้มข้นที่เหมาะสม ถ้ามากเกินไปอาจส่งผลยับยั้งจานวน
ยอดใหม่แทนกระตุ้นจานวนยอดใหม่แทนได้
3
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานการศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ชีววิทยา 5
(ว30245) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน ที่
มีผลต่อการเพิ่มจานวนยอดของต้นมะลิลา ซึ่งฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน เป็นฮอร์โมนที่พืช
สามารถสังเคราะห์ขึ้นมาเองได้ และมีผลต่อพืชหลายประการ แต่ในที่นี้ยกมาเพียงที่มีผลต่อการ
เจริญเติบโตของเซลล์
คณะผู้จัดทาหวังว่าโครงงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาฮอร์โมนจิบเบอ
เรลลิน หากมีข้อผิดพลาดประการใด ก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย
โครงงานฉบับนี้ จะสาเร็จไม่ได้เลย หากไม่ได้รับคาแนะนาจากอาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์
อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาส
นี้
คณะผู้จัดทา
4
สารบัญ
หน้า
ปัญหา ที่มาและความสาคัญ 5
รายละเอียดของพืชและฮอร์โมนที่ใช้ทดลอง 6
สมมติฐานและจุดประสงค์การทดลอง 7
ตัวแปรการทดลอง 7
ระยะเวลาในการทดลอง 8
วิธีการเก็บข้อมูล 8
ขั้นตอนการทดลอง 8
ผลการทดลอง 10
สรุปและข้อเสนอแนะ 12
ภาคผนวก 13
บรรณานุกรม 16
5
ปัญหา
การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อจานวนยอดของต้นมะลิลา
ที่มาและความสาคัญ
ต้นมะลิลามีความสาคัญมากมาย ไม่ว่าจะเป็นดอก ที่สามารถนาไปใช้ร้อยมาลัย หรือสามารถ
นาไปสรงน้าพระตามเทศกาลที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนา สมัยก่อนนิยมนาดอกลอยน้าใช้ดื่มกิน
อีกทั้งยังปลูกให้ความสวยงามแก่สถานที่และอาคารต่างๆ มะลิลาจึงจัดเป็นพืชที่สาคัญของคน
ไทย เราจึงควรใส่ใจกับการเจริญเติบโตของต้นมะลิลานี้ ซึ่งการเจริญเติบโตนั้น ต้องอาศัยปัจจัย
ต่างๆ ทั้งปริมาณแสง ปริมาณน้าที่รดต่อวัน ปริมาณแร่ธาตุในดิน ความร่วนซุยของดินที่ใช้ปลูก
สภาพอากาศและสภาพแวดล้อมบริเวณที่ปลูก ฯลฯ ถ้าหากเราควบคุมปัจจัยดังที่กล่าวมาใน
ข้างต้นได้ไม่เพียงพอ เราก็ต้องใช้วิธีการของมนุษย์ช่วยให้ต้นไม้ของเราเติบโตได้ดีขึ้นหรือมาก
ขึ้นนั่นเอง อาจะเป็นวิธีการใส่ปุ๋ย หรืออาจจะให้ฮอร์โมนเพิ่มเติม ซึ่งกลุ่มเราได้ตั้งสมมติฐานว่า
ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินนั้นมีผลต่อจานวนยอดของต้นมะลิลา
6
ข้อมูลรายละเอียดของพืช (มะลิลา)
มะลิลา มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Jasminum sambac มีถิ่นกาเนิดจากประเทศอินเดีย เป็นไม้กลางแจ้ง
ชอบแดดจัด เจริญเติบโตดีในที่ดินร่วนซุยต้นมีลักษณะเป็นพุ่ม สูงประมาณ 1.50 เมตร แต่
จัดเป็นไม้รอเลื้อย เพราะมีกิ่งอ่อนและกิ่งแก่ ที่อาจจะยืดตัวพันกับสิ่งอื่นได้ กิ่งอ่อนและกิ่งกึ่ง
อ่อนกึ่งแก่มีขน ใบเป็นใบเดี่ยว ใบออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน ใบเป็นรูปไข่ ขอบเรียบ สามารถออก
ดอกได้เกือบตลอดทั้งปี แต่จะออกดอกมากในช่วงฤดูร้อนและฤดูฝนออกดอกเป็นช่อๆ ละ 3
ดอก ดอกกลางบานก่อน กลีบดอกชั้นเดียว ปลายกลีบมน ดอกมีสีขาว กลิ่นหอม มักจะเริ่มขยาย
กลีบและส่งกลิ่นหอมในช่วงเวลาเย็นจนถึงวันรุ่งขึ้นดอกบานเต็มที่ประมาณ 2 ซ.ม. เป็นมะลิที่
ปลูกเป็นการค้ากันอย่างเป็นล่าเป็นสัน นิยมปลูกเพื่อเก็บดอกขาย พันธุ์ที่นิยมปลูกเป็นการค้าใน
ปัจจุบัน คือ พันธุ์ราษฎร์บูรณะ พันธุ์แม่กลอง และพันธุ์ชุมพร ดอกสดหรือดอกแห้ง ใบ ต้มกิน
แก้โรคบิด ปวดท้อง ดอกสดตาพอกแก้ปวดศีรษะ ผิวหนังผื่นคัน ดอกใช้ทาพวงมาลัย ทา
น้าหอม และบูชาพระ ดอกแห้งใช้เป็นยาแต่งกลิ่น ดอกมะลาลินี้ใช้เป็นดอกไม้ของวันแม่
แห่งชาติ ดอกแห้ง ใช้ปรุงยาหอม แก้ไข้ ทาให้จิตใจชุ่มชื่น ราก ฝนรับประทาน แก้ร้อนใน เสียด
ท้องรักษาโรคหลอดลมอักเสบ ขับประจาเดือน สารเคมีที่ดอกพบ benzyl alcohol, benzyl
alcohol ester, jasmone, linalool, linalolest สารเคมีที่ใบพบ jasminin sambacin
ข้อมูลรายละเอียดของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) เป็นฮอร์โมนพืชที่มีโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ ควบคุมการ
เจริญเติบโตและมีอิทธิพลต่อกระบวนการทางพัฒนาการรวมทั้งการยืดของข้อการงอก การพัก
ตัว การออกดอก การแสดงเพศ การชักนาการสร้างเอนไซม์ รวมทั้งการชราของดอกและผล จิบ
เบอเรลลินถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2469โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่น Eiichi Kurosawa ผู้
ศึกษาโรคบากาเนะในข้าว มีจุลินทรีย์หลายชนิดที่สร้างจิบเบอเรลลินได้ เช่น แบคทีเรีย ไซยาโน
แบคทีเรีย ยีสต์ สาหร่ายสีเขียว สาหร่ายสีน้าตาลและสาหร่ายสีแดง รวมทั้งไมคอไรซาในราก
กล้วยไม้ในรา วิถีการผลิตจิบเบอเรลลินคล้ายกับพืชชั้นสูง แม้ว่าเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องจะต่างไป
ในรากพืชตระกูลถั่วที่เกิดปม มีสารคล้ายจิบเบอเรลลินมากกว่ารากข้างเคียงที่ไม่เกิดปม
Phaseolus lunatus ที่เติมเชื้อ Bradyrhizobium sp. ที่จาเพาะต่อกัน ส่วนปล้องจะยาวกว่าต้นที่
ได้รับเชื้อชนิดเดียวกันแต่ไม่จาเพาะ และพบจิบเบอเรลลินหลายตัวในปมที่มีแบคทีเรียที่กระตุ้น
การยืดยาวของปล้องได้ จิบเบอเรลลิน
7
สมมติฐานการทดลอง
1. ความสามารถในการงอกของใบอ่อนใหม่ของต้นมะลิลาในชุดทดลองที่ใช้สารละลาย
ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 0% (ชุดควบคุม) จะน้อยกว่าการงอกของใบอ่อนใหม่ของ
ต้นมะลิลาในชุดทดลองที่ใช้สารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 1%
2. ความสามารถในการงอกของใบอ่อนใหม่ของต้นมะลิลาในชุดทดลองที่ใช้สารละลาย
ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 1 %จะน้อยกว่าการงอกของใบอ่อนใหม่ของต้นมะลิลาใน
ชุดทดลองที่ใช้สารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 2.5 %
3. ความเข้มข้นของสารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลต่อการงอกใบอ่อนของต้นมะลิ
ซ้อน
จุดประสงค์การทดลอง
เพื่อศึกษาผลของการใช้ฮอร์โมนพืชที่ชื่อจิบเบอเรลลิน ว่าส่งผลต่อการเจริญเติบโตของพืช และ
ศึกษาการเปรียบเทียบความสามารถในการช่วยเรื่องการเจริญเติบโตของพืชของสารละลายที่
ผสมฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้นต่างกัน (ชุดการทดลอง low dose กับ high dose)
ตัวแปรการทดลอง
ตัวแปรต้น ความเข้มข้นของสารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
ตัวแปรตาม การเจริญเติบโตของพืช(โดยการทดลองนี้วัดจากจานวนใบอ่อนที่งอกใหม่)
ตัวแปรควบคุม
1.ปริมาณน้าที่ใช้ผสมสารละลายฮอร์โมน
2.อุณหภูมิ
3.ระยะเวลาในการให้ฮอร์โมน
8
ระยะเวลาการทาการทดลอง
ระยะเวลาทาการทดลอง เริ่มตั้งแต่วันที่ 30 มิถุนายน 2560 จนถึง วันที่ 31 กรกฎาคม 2560 รวม
ระยะเวลาทั้งหมด 32 วัน โดยจะมีการจดบันทึกการทดลองทุกวันจันทร์นั่นคือ
ครั้งที่ 1. จันทร์ที่ 3 กรกฎาคม 2560
ครั้งที่ 2. จันทร์ที่ 10 กรกฎาคม 2560
ครั้งที่ 3. จันทร์ที่ 17 กรกฎาคม 2560
ครั้งที่ 4. จันทร์ที่ 24 กรกฎาคม 2560
ครั้งที่ 5. จันทร์ที่ 31 กรกฎาคม 2560
รวมการจดบันทึกทั้งหมด 5 ครั้ง
วิธีการบันทึกผลการทดลอง
วิธีบันทึกผลการทดลอง บันทึกโดยการใช้ปากกาสีน้าเงินขีดไว้บริเวณก้านใบ โดยครั้งแรกของ
การบันทึกผลนั้น จะขีดยอดทั้งหมดของแต่ละก้าน และในครั้งต่อๆไป จะนับจากยอดที่ไม่ได้มี
การขีดทาเครื่องหมายไว้ และขีดยอดนั้นๆเมื่อนับไปแล้ว
ขั้นตอนการทดลอง
1. เตรียมต้นไม้ที่ต้องการศึกษาทั้งหมด 9 ต้น แบ่งเป็น
1.ชุดควบคุม
2. ชุด Low Dose
3. ชุด High Dose
9
อย่างละ 3 ต้น โดยจัดแต่ละชุดไว้ด้วยกันโดยมีกระถางหรือถาดรอง
2. เตรียมฟ็อกกี้สาหรับฉีดฮอร์โมน โดย
ฟ็อกกี้ขวดที่ 1 ใส่น้าเปล่า
ฟ็อกกี้ขวดที่ 2 ผสมฮอร์โมนจิบเบอริลิน 1.5 เปอร์เซ็นต์
ฟ็อกกี้ขวดที่ 3 ผสมฮอร์โมนจิบเบอริลิน 2.5 เปอร์เซ็นต์
3. ทาการรดน้าเวลา 10.00 น. ในทุกวันที่มาโรงเรียน (ยกเว้นวันฝนตก) และฉีดฮอร์โมนให้พืช
ทุกต้นตามที่กาหนด วันละ2 เวลา คือ เวลา 07.30 น. และ 15.30 น.
4. จดบันทึก จานวนยอดที่แตกออกมาตามวันและเวลาที่กาหนด บันทึกโดยการใช้ปากกาสีน้า
เงินขีดไว้บริเวณก้านใบ โดยครั้งแรกของการบันทึกผลนั้น จะขีดยอดทั้งหมดของแต่ละก้าน
และในครั้งต่อๆไป จะนับจากยอดที่ไม่ได้มีการขีดทาเครื่องหมายไว้ และขีดยอดนั้นๆเมื่อนับไป
แล้ว
10
ผลการทดลอง
ตารางแสดงจานวนยอดของชุดทดลองต้นมะลิลาในแต่ละครั้ง
แผนภูมิแท่งแสดงจานวนยอดเฉลี่ยของชุดทดลองต้นมะลิลาในแต่ละครั้ง
11
แผนภูมิเส้นแสดงจานวนยอดเฉลี่ยของชุดทดลองต้นมะลิลาในแต่ละครั้ง
12
สรุปผลการทดลอง
จากการศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อจานวนยอดของต้นมะลิลา คณะผู้จัดทาได้
ทาการศึกษาโดยแบ่งกลุ่มการทดลองออกเป็น3กลุ่ม คือกลุ่มต้นควบคุม กลุ่มต้นที่ใช้ฮอร์โมนจิบ
เบอเรลลินความเข้มข้น 0.1% และกลุ่มต้นที่ใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 0.25% กลุ่ม
ละ3ต้น จากนั้นทาการนับจานวนยอดใหม่ที่เกิดขึ้น พบว่ากลุ่มต้นควบคุมมียอดใหม่เกิดขึ้นเฉลี่ย
ต้นละ 3 ยอด กลุ่มต้นมะลิลาที่ใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 0.1% มียอดใหม่เกิดขึ้น
เฉลี่ยต้นละ 4 ยอด และกลุ่มต้นมะลิลาที่ใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 0.25% มียอด
ใหม่เกิดขึ้นเฉลี่ยต้นละ 3 ยอด จึงสรุปได้ว่าฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 1% มีผลกระตุ้นยอดใหม่ของ
ต้นมะลิลา ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 2.5% มีผลยับยั้งยอดใหม่ของต้นมะลิลา
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
1.ระยะเวลาดาเนินการโครงงานตรงกับช่วงสอบและวันหยุดยาวทาให้คณะผู้จัดทาโครงงานไม่
สามารถดูแลต้นมะลิลาได้อย่างเต็มที่
2.ควรศึกษาวิธีการดูแลต้นมะให้ละเอียดครบถ้วนก่อนลงมือดาเนินการศึกษา เพราะต้นมะลิ
ต้องการแสงแดดจัด แต่บริเวณที่จัดวางและบริเวณใกล้เคียงที่เหมาะสมมีแสงแดดค่อนข้างน้อย
3.การนับจานวนยอดค่อนข้างลาบาก ควรหาวิธีการนับจานวนใบที่ทาให้ข้อมูลที่ได้แม่นยาและ
สะดวกในการนับยิ่งขึ้น
13
ภาคผนวก
ต้นมะลิลา ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน และฟ็อกกี้
14
ดูแลรดน้าต้นไม้
นับจานวนยอด
ตรวจงานครั้งที่ 1
15
ตรวจโครงงานครั้งที่ 2
16
บรรณานุกรม
http://panmainaiban.blogspot.com/2011/06/blog-post_11.html
http://clgc.agri.kps.ku.ac.th/index.php/linkoldfragrant-2/317-jasminumsam
https://th.wikipedia.org/wiki/จิบเบอเรลลิน
https://th.wikipedia.org/wiki/มะลิลา
http://google.com/รูปภาพ

More Related Content

What's hot

โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงchanon leedee
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดพัน พัน
 

What's hot (20)

M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
M6 144 60_7
M6 144 60_7M6 144 60_7
M6 144 60_7
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60
 
M6 78 60_9
M6 78 60_9M6 78 60_9
M6 78 60_9
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
M6 78 60_6
M6 78 60_6M6 78 60_6
M6 78 60_6
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
M6 78 60_2
M6 78 60_2M6 78 60_2
M6 78 60_2
 
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วงโครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
โครงงานงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ใบฝรั่งลดผมร่วง
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
M6 144 60_6
M6 144 60_6M6 144 60_6
M6 144 60_6
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 
M6 144 60_3
M6 144 60_3M6 144 60_3
M6 144 60_3
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
 

Similar to M6 144 60_5

การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชkookoon11
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชWichai Likitponrak
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
Gibbellin.pdf
Gibbellin.pdfGibbellin.pdf
Gibbellin.pdfThanatTP
 
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์Jinwara Sriwichai
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานTiwapon Wiset
 
Brochure_thanpitcha_154_No7
Brochure_thanpitcha_154_No7Brochure_thanpitcha_154_No7
Brochure_thanpitcha_154_No7Best Thanpitcha
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืชWichai Likitponrak
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชThanyamon Chat.
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพSubaidah Yunuh
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชAnana Anana
 

Similar to M6 144 60_5 (20)

การเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืชการเจริญเติบโตของพืช
การเจริญเติบโตของพืช
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช16.ฮอร์โมนพืช
16.ฮอร์โมนพืช
 
ตอบสนองพืช
ตอบสนองพืชตอบสนองพืช
ตอบสนองพืช
 
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
Plant hormone
Plant hormonePlant hormone
Plant hormone
 
Plant hormone
Plant hormonePlant hormone
Plant hormone
 
M6 143 60_2
M6 143 60_2M6 143 60_2
M6 143 60_2
 
Gibbellin.pdf
Gibbellin.pdfGibbellin.pdf
Gibbellin.pdf
 
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
แนวข้อสอบ Onet วืทยาศาสคร์
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 
Protista55
Protista55Protista55
Protista55
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Brochure_thanpitcha_154_No7
Brochure_thanpitcha_154_No7Brochure_thanpitcha_154_No7
Brochure_thanpitcha_154_No7
 
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
12.การคายน้ำและการแลกแก๊สลำเลียงพืช
 
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืชการลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
การลำเลียงน้ำและอาหารของพืช
 
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
2. ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Flora improvement
Flora improvementFlora improvement
Flora improvement
 
การลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืชการลำเลียงสารอาหารของพืช
การลำเลียงสารอาหารของพืช
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

M6 144 60_5

  • 1. 1 ผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินกับยอดของต้นมะลิลา นาเสนอครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ สมาชิก นางสาวกัญญาอร สีสาลี เลขที่ 1 ห้อง 144 นางสาวณัฐสิณี หวังยงกุลวัฒนา เลขที่ 7 ห้อง 144 นางสาวปภาวี กุศลศิลป์วุฒิ เลขที่ 12 ห้อง 144 นางสาวภัทราพร ยังรักษา เลขที่ 18 ห้อง 144
  • 2. 2 บทคัดย่อ การเจริญเติบโตของพืช โดยปกตินั้นประกอบไปด้วยหลายปัจจัย เช่น น้า แสง แร่ธาตุ อุณหภูมิ ฮอร์โมน และปัจจัยอื่นอีกมากมาย ฮอร์โมนพืชเป็นปัจจัยที่สาคัญปัจจัยหนึ่งที่ทาให้พืช เป็นมากกว่ากลุ่มเซลล์ที่คล้ายกัน โดยเฉพาะฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน จากการศึกษาพบว่า ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน นั้นเป็นฮอร์โมนที่ช่วยในการเพิ่มจานวนยอดของต้นมะลิลา เราจึงทา การทดลองโดยนาต้นมะลิลาจานวน 9 ต้น แบ่งเป็นชุดควบคุม 3 ต้น ชุดการทดลองที่ 1 เป็นชุด ควบคุม 3 ต้น ชุดการทดลองที่ 2 ใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน เข้มข้น 1% 3 ต้น และชุดการทดลอง ที่3 เป็นชุดใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 2.5% ทาการฉีดฮอร์โมนและนับจานวนใบสัปดาห์ละครั้ง จากการทดลองพบว่า ชุดการทดลองที่2 ทาให้ต้นมะลิลามีจานวนยอดเพิ่มขึ้นมากกว่าชุด การทดลองที่ 1 และชุดการทดลองที่3 แสดงให้เห็นว่าฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน สามารถทาให้พืช มีจานวนยอดเพิ่มขึ้น โดยต้องมีความเข้มข้นที่เหมาะสม ถ้ามากเกินไปอาจส่งผลยับยั้งจานวน ยอดใหม่แทนกระตุ้นจานวนยอดใหม่แทนได้
  • 3. 3 กิตติกรรมประกาศ โครงงานการศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ชีววิทยา 5 (ว30245) กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน ที่ มีผลต่อการเพิ่มจานวนยอดของต้นมะลิลา ซึ่งฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน เป็นฮอร์โมนที่พืช สามารถสังเคราะห์ขึ้นมาเองได้ และมีผลต่อพืชหลายประการ แต่ในที่นี้ยกมาเพียงที่มีผลต่อการ เจริญเติบโตของเซลล์ คณะผู้จัดทาหวังว่าโครงงานฉบับนี้ จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่สนใจศึกษาฮอร์โมนจิบเบอ เรลลิน หากมีข้อผิดพลาดประการใด ก็ขออภัยมา ณ ที่นี้ด้วย โครงงานฉบับนี้ จะสาเร็จไม่ได้เลย หากไม่ได้รับคาแนะนาจากอาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาส นี้ คณะผู้จัดทา
  • 4. 4 สารบัญ หน้า ปัญหา ที่มาและความสาคัญ 5 รายละเอียดของพืชและฮอร์โมนที่ใช้ทดลอง 6 สมมติฐานและจุดประสงค์การทดลอง 7 ตัวแปรการทดลอง 7 ระยะเวลาในการทดลอง 8 วิธีการเก็บข้อมูล 8 ขั้นตอนการทดลอง 8 ผลการทดลอง 10 สรุปและข้อเสนอแนะ 12 ภาคผนวก 13 บรรณานุกรม 16
  • 5. 5 ปัญหา การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อจานวนยอดของต้นมะลิลา ที่มาและความสาคัญ ต้นมะลิลามีความสาคัญมากมาย ไม่ว่าจะเป็นดอก ที่สามารถนาไปใช้ร้อยมาลัย หรือสามารถ นาไปสรงน้าพระตามเทศกาลที่เกี่ยวข้องกับพุทธศาสนา สมัยก่อนนิยมนาดอกลอยน้าใช้ดื่มกิน อีกทั้งยังปลูกให้ความสวยงามแก่สถานที่และอาคารต่างๆ มะลิลาจึงจัดเป็นพืชที่สาคัญของคน ไทย เราจึงควรใส่ใจกับการเจริญเติบโตของต้นมะลิลานี้ ซึ่งการเจริญเติบโตนั้น ต้องอาศัยปัจจัย ต่างๆ ทั้งปริมาณแสง ปริมาณน้าที่รดต่อวัน ปริมาณแร่ธาตุในดิน ความร่วนซุยของดินที่ใช้ปลูก สภาพอากาศและสภาพแวดล้อมบริเวณที่ปลูก ฯลฯ ถ้าหากเราควบคุมปัจจัยดังที่กล่าวมาใน ข้างต้นได้ไม่เพียงพอ เราก็ต้องใช้วิธีการของมนุษย์ช่วยให้ต้นไม้ของเราเติบโตได้ดีขึ้นหรือมาก ขึ้นนั่นเอง อาจะเป็นวิธีการใส่ปุ๋ย หรืออาจจะให้ฮอร์โมนเพิ่มเติม ซึ่งกลุ่มเราได้ตั้งสมมติฐานว่า ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินนั้นมีผลต่อจานวนยอดของต้นมะลิลา
  • 6. 6 ข้อมูลรายละเอียดของพืช (มะลิลา) มะลิลา มีชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Jasminum sambac มีถิ่นกาเนิดจากประเทศอินเดีย เป็นไม้กลางแจ้ง ชอบแดดจัด เจริญเติบโตดีในที่ดินร่วนซุยต้นมีลักษณะเป็นพุ่ม สูงประมาณ 1.50 เมตร แต่ จัดเป็นไม้รอเลื้อย เพราะมีกิ่งอ่อนและกิ่งแก่ ที่อาจจะยืดตัวพันกับสิ่งอื่นได้ กิ่งอ่อนและกิ่งกึ่ง อ่อนกึ่งแก่มีขน ใบเป็นใบเดี่ยว ใบออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน ใบเป็นรูปไข่ ขอบเรียบ สามารถออก ดอกได้เกือบตลอดทั้งปี แต่จะออกดอกมากในช่วงฤดูร้อนและฤดูฝนออกดอกเป็นช่อๆ ละ 3 ดอก ดอกกลางบานก่อน กลีบดอกชั้นเดียว ปลายกลีบมน ดอกมีสีขาว กลิ่นหอม มักจะเริ่มขยาย กลีบและส่งกลิ่นหอมในช่วงเวลาเย็นจนถึงวันรุ่งขึ้นดอกบานเต็มที่ประมาณ 2 ซ.ม. เป็นมะลิที่ ปลูกเป็นการค้ากันอย่างเป็นล่าเป็นสัน นิยมปลูกเพื่อเก็บดอกขาย พันธุ์ที่นิยมปลูกเป็นการค้าใน ปัจจุบัน คือ พันธุ์ราษฎร์บูรณะ พันธุ์แม่กลอง และพันธุ์ชุมพร ดอกสดหรือดอกแห้ง ใบ ต้มกิน แก้โรคบิด ปวดท้อง ดอกสดตาพอกแก้ปวดศีรษะ ผิวหนังผื่นคัน ดอกใช้ทาพวงมาลัย ทา น้าหอม และบูชาพระ ดอกแห้งใช้เป็นยาแต่งกลิ่น ดอกมะลาลินี้ใช้เป็นดอกไม้ของวันแม่ แห่งชาติ ดอกแห้ง ใช้ปรุงยาหอม แก้ไข้ ทาให้จิตใจชุ่มชื่น ราก ฝนรับประทาน แก้ร้อนใน เสียด ท้องรักษาโรคหลอดลมอักเสบ ขับประจาเดือน สารเคมีที่ดอกพบ benzyl alcohol, benzyl alcohol ester, jasmone, linalool, linalolest สารเคมีที่ใบพบ jasminin sambacin ข้อมูลรายละเอียดของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) เป็นฮอร์โมนพืชที่มีโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ ควบคุมการ เจริญเติบโตและมีอิทธิพลต่อกระบวนการทางพัฒนาการรวมทั้งการยืดของข้อการงอก การพัก ตัว การออกดอก การแสดงเพศ การชักนาการสร้างเอนไซม์ รวมทั้งการชราของดอกและผล จิบ เบอเรลลินถูกค้นพบครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2469โดยนักวิทยาศาสตร์ชาวญี่ปุ่น Eiichi Kurosawa ผู้ ศึกษาโรคบากาเนะในข้าว มีจุลินทรีย์หลายชนิดที่สร้างจิบเบอเรลลินได้ เช่น แบคทีเรีย ไซยาโน แบคทีเรีย ยีสต์ สาหร่ายสีเขียว สาหร่ายสีน้าตาลและสาหร่ายสีแดง รวมทั้งไมคอไรซาในราก กล้วยไม้ในรา วิถีการผลิตจิบเบอเรลลินคล้ายกับพืชชั้นสูง แม้ว่าเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องจะต่างไป ในรากพืชตระกูลถั่วที่เกิดปม มีสารคล้ายจิบเบอเรลลินมากกว่ารากข้างเคียงที่ไม่เกิดปม Phaseolus lunatus ที่เติมเชื้อ Bradyrhizobium sp. ที่จาเพาะต่อกัน ส่วนปล้องจะยาวกว่าต้นที่ ได้รับเชื้อชนิดเดียวกันแต่ไม่จาเพาะ และพบจิบเบอเรลลินหลายตัวในปมที่มีแบคทีเรียที่กระตุ้น การยืดยาวของปล้องได้ จิบเบอเรลลิน
  • 7. 7 สมมติฐานการทดลอง 1. ความสามารถในการงอกของใบอ่อนใหม่ของต้นมะลิลาในชุดทดลองที่ใช้สารละลาย ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 0% (ชุดควบคุม) จะน้อยกว่าการงอกของใบอ่อนใหม่ของ ต้นมะลิลาในชุดทดลองที่ใช้สารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 1% 2. ความสามารถในการงอกของใบอ่อนใหม่ของต้นมะลิลาในชุดทดลองที่ใช้สารละลาย ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 1 %จะน้อยกว่าการงอกของใบอ่อนใหม่ของต้นมะลิลาใน ชุดทดลองที่ใช้สารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 2.5 % 3. ความเข้มข้นของสารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลต่อการงอกใบอ่อนของต้นมะลิ ซ้อน จุดประสงค์การทดลอง เพื่อศึกษาผลของการใช้ฮอร์โมนพืชที่ชื่อจิบเบอเรลลิน ว่าส่งผลต่อการเจริญเติบโตของพืช และ ศึกษาการเปรียบเทียบความสามารถในการช่วยเรื่องการเจริญเติบโตของพืชของสารละลายที่ ผสมฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้นต่างกัน (ชุดการทดลอง low dose กับ high dose) ตัวแปรการทดลอง ตัวแปรต้น ความเข้มข้นของสารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน ตัวแปรตาม การเจริญเติบโตของพืช(โดยการทดลองนี้วัดจากจานวนใบอ่อนที่งอกใหม่) ตัวแปรควบคุม 1.ปริมาณน้าที่ใช้ผสมสารละลายฮอร์โมน 2.อุณหภูมิ 3.ระยะเวลาในการให้ฮอร์โมน
  • 8. 8 ระยะเวลาการทาการทดลอง ระยะเวลาทาการทดลอง เริ่มตั้งแต่วันที่ 30 มิถุนายน 2560 จนถึง วันที่ 31 กรกฎาคม 2560 รวม ระยะเวลาทั้งหมด 32 วัน โดยจะมีการจดบันทึกการทดลองทุกวันจันทร์นั่นคือ ครั้งที่ 1. จันทร์ที่ 3 กรกฎาคม 2560 ครั้งที่ 2. จันทร์ที่ 10 กรกฎาคม 2560 ครั้งที่ 3. จันทร์ที่ 17 กรกฎาคม 2560 ครั้งที่ 4. จันทร์ที่ 24 กรกฎาคม 2560 ครั้งที่ 5. จันทร์ที่ 31 กรกฎาคม 2560 รวมการจดบันทึกทั้งหมด 5 ครั้ง วิธีการบันทึกผลการทดลอง วิธีบันทึกผลการทดลอง บันทึกโดยการใช้ปากกาสีน้าเงินขีดไว้บริเวณก้านใบ โดยครั้งแรกของ การบันทึกผลนั้น จะขีดยอดทั้งหมดของแต่ละก้าน และในครั้งต่อๆไป จะนับจากยอดที่ไม่ได้มี การขีดทาเครื่องหมายไว้ และขีดยอดนั้นๆเมื่อนับไปแล้ว ขั้นตอนการทดลอง 1. เตรียมต้นไม้ที่ต้องการศึกษาทั้งหมด 9 ต้น แบ่งเป็น 1.ชุดควบคุม 2. ชุด Low Dose 3. ชุด High Dose
  • 9. 9 อย่างละ 3 ต้น โดยจัดแต่ละชุดไว้ด้วยกันโดยมีกระถางหรือถาดรอง 2. เตรียมฟ็อกกี้สาหรับฉีดฮอร์โมน โดย ฟ็อกกี้ขวดที่ 1 ใส่น้าเปล่า ฟ็อกกี้ขวดที่ 2 ผสมฮอร์โมนจิบเบอริลิน 1.5 เปอร์เซ็นต์ ฟ็อกกี้ขวดที่ 3 ผสมฮอร์โมนจิบเบอริลิน 2.5 เปอร์เซ็นต์ 3. ทาการรดน้าเวลา 10.00 น. ในทุกวันที่มาโรงเรียน (ยกเว้นวันฝนตก) และฉีดฮอร์โมนให้พืช ทุกต้นตามที่กาหนด วันละ2 เวลา คือ เวลา 07.30 น. และ 15.30 น. 4. จดบันทึก จานวนยอดที่แตกออกมาตามวันและเวลาที่กาหนด บันทึกโดยการใช้ปากกาสีน้า เงินขีดไว้บริเวณก้านใบ โดยครั้งแรกของการบันทึกผลนั้น จะขีดยอดทั้งหมดของแต่ละก้าน และในครั้งต่อๆไป จะนับจากยอดที่ไม่ได้มีการขีดทาเครื่องหมายไว้ และขีดยอดนั้นๆเมื่อนับไป แล้ว
  • 12. 12 สรุปผลการทดลอง จากการศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อจานวนยอดของต้นมะลิลา คณะผู้จัดทาได้ ทาการศึกษาโดยแบ่งกลุ่มการทดลองออกเป็น3กลุ่ม คือกลุ่มต้นควบคุม กลุ่มต้นที่ใช้ฮอร์โมนจิบ เบอเรลลินความเข้มข้น 0.1% และกลุ่มต้นที่ใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 0.25% กลุ่ม ละ3ต้น จากนั้นทาการนับจานวนยอดใหม่ที่เกิดขึ้น พบว่ากลุ่มต้นควบคุมมียอดใหม่เกิดขึ้นเฉลี่ย ต้นละ 3 ยอด กลุ่มต้นมะลิลาที่ใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 0.1% มียอดใหม่เกิดขึ้น เฉลี่ยต้นละ 4 ยอด และกลุ่มต้นมะลิลาที่ใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินความเข้มข้น 0.25% มียอด ใหม่เกิดขึ้นเฉลี่ยต้นละ 3 ยอด จึงสรุปได้ว่าฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 1% มีผลกระตุ้นยอดใหม่ของ ต้นมะลิลา ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน 2.5% มีผลยับยั้งยอดใหม่ของต้นมะลิลา ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 1.ระยะเวลาดาเนินการโครงงานตรงกับช่วงสอบและวันหยุดยาวทาให้คณะผู้จัดทาโครงงานไม่ สามารถดูแลต้นมะลิลาได้อย่างเต็มที่ 2.ควรศึกษาวิธีการดูแลต้นมะให้ละเอียดครบถ้วนก่อนลงมือดาเนินการศึกษา เพราะต้นมะลิ ต้องการแสงแดดจัด แต่บริเวณที่จัดวางและบริเวณใกล้เคียงที่เหมาะสมมีแสงแดดค่อนข้างน้อย 3.การนับจานวนยอดค่อนข้างลาบาก ควรหาวิธีการนับจานวนใบที่ทาให้ข้อมูลที่ได้แม่นยาและ สะดวกในการนับยิ่งขึ้น