SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจํานวนดอกของต้นพุดพิชญา
สมาชิกโครงงาน
1.นาย เปรม สืบสาย เลขที่32
2.นาย มาโนชญ์ อรรถอุดมพร เลขที่35
3.นาย วิธวินท์ สุวัตถิกุล เลขที่37
4.นาย สิรวิชญ์ พรประเสริฐสุข เลขที่39
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 77
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
บทคัดย่อ
โดยฮอร์โมนออกซินเป็นฮอร์โมนพืชที่สามารถควบคุมการเจริญเติบโต และมีอิทธิพลต่อกระบวนการ
พัฒนาการของพืช ทั้งด้านการควบคุมการแบ่งเซลล์ กระตุ้นการแตกชองราก ยับยั้งการเจริญของตาข้างและกิ่ง
ป้องกันการร่วงของใบ กิ่ง และผล เพิ่มการติดผล เร่งการเกิดดอก และใช้กําจัดวัชพืช โดยการตอบสนองจะ
ปรากฏเด่นชัดเมื่อให้ฮอร์โมนออกซินกับพืชในปริมาณที่เหมาะสม จากข้อมูลดังกล่าวทําให้คณะผู้รับผิดชอบ
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชเกิดข้อสงสัยว่า ปริมาณความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินเท่าไรที่เหมาะสมต่อ
จํานวนดอกของต้นพุดพิชญามากที่สุดจึงเกิดเป็นโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชครั้งนี้
จากการศึกษาจํานวนดอกของต้นพุดพิชญาโดยมีตัวแปรคือระดับความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่
แตกต่างกันโดยมีชุดควบคุม และชุดทดลอง 2 ชุด คือ ชุดที่ฮอร์โมนมีความเข้มข้นตํ่า และชุดที่ฮอร์โมนมีความ
เข้มข้นสูง พบว่าชุดที่ฮอร์โมนมีความเข้มข้นสูงมีจํานวนดอกมากที่สุด
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่อง ฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อจํานวนดอกของต้นพุดพิชญา จะสําเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับ
การช่วยเหลือจากนายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ครูประจํา
วิชา ที่ช่วยให้คําปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงาน
ขอขอบคุณผู้ปกครอง และครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ที่ให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ และให้กําลังใจ
ตลอดมา
คณะผู้จัดทําโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทํา
สารบัญ
หน้า
บทที่ 1 บทนํา
- ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1
- สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1
- อาจารย์ผู้สอน 1
- ที่มาและความสําคัญ 1
- คําถามการทําโครงงาน 1
- สมมติฐานการทดลอง 1
- วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1
- ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1
- ขอบเขตการวิจัย 2
- ตัวแปร 2
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
- ต้นพุดพิชญา 3
- ฮอร์โมนออกซิน 4
บทที่ 3 การดําเนินงาน
- วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 5
- ขั้นตอนการทําโครงงาน 6
บทที่ 4 ผลการทดลอง
- ตารางบันทึกผลการทดลอง 7
- สรุปผลการทดลอง 8
- ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 8
เอกสารอ้างอิง 9
ภาคผนวก 10
บทที่ 1 บทนํา
ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจํานวนดอกของต้นพุดพิชญา
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1.นาย เปรม สืบสาย เลขที่32
2.นาย มาโนชญ์ อรรถอุดมพร เลขที่35
3.นาย วิธวินท์ สุวัตถิกุล เลขที่37
4.นาย สิรวิชญ์ พรประเสริฐสุข เลขที่39
อาจารย์ผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ที่มาและความสําคัญ
พุดพิชญาสามารถปลูกเป็นไม้กระถางก็ได้หรีอปลูกลงดินก็ได้ เลี้ยงง่าย ปรับตัวได้ในเกือบทุก
สิ่งแวดล้อม ใช้ปุ๋ ยคอกหรือปุ๋ ยใบจามจุรีหมัก เพราะมีไนโตรเจนสูง ถ้าต้องการเร่งและบํารุงดอกใช้ปุ๋ ยขี้ไก่
เพราะมีฟอสฟอรัสสูง ขยายพันธุ์โดยการ ตอนกิ่ง และการปักชํา
นอกจากนี้ ฮอร์โมนออกซินนั้นก็เป็นฮอร์โมนที่เป็นที่น่าสนใจในการช่วยเร่งการเกิดดอก
คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่
มีต่อจํานวนดอกของต้นพุดพิชญา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่าฮอร์โมนออกซินมีผลต่อจํานวนดอกของต้น
พุดพิชญาในลักษณะอย่างไรคณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผล
ที่ได้จะมีประโยชน์ต่อผู้ทําการเกษตรและผู้ที่สนใจในการศึกษาในอนาคตต่อไป
คําถามการทําโครงงาน
สารละลายฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้นใดจะส่งผลให้ต้นโมกมีความสูงมากที่สุด
สมมติฐานการทดลอง
ถ้าฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อความสูงเจริญดีที่สุด ดังนั้น สารละลายฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้น
0.04%v/v จะทําให้ต้นพุดพิชญามีจํานวนดอกมากที่สุด
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินว่ามีผลต่อจํานวนดอกของต้นพุดพิชญาอย่างไร
2. เพื่อเปรียบเทียบฮอร์โมนออกซินระหว่างความเข้มข้นตํ่าและสูงว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องฮอร์โมนที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต
2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบความเข้มข้นระหว่างตํ่ากับสูงว่ามีผลต่างกันมากน้อยเพียงใด
3. เป็นการส่งเสริมการนําฮอร์โมนไปใช้ในการเกษตร
ขอบเขตการวิจัย
การทําโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะจํานวนดอกของต้นพุดพิชญา
ตัวแปร
ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน
ตัวแปรตาม คือ จํานวนดอกของต้นพุดพิชญา
ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณดิน อุณหภูมิ สภาพอากาศ ปริมาณการให้ฮอร์โมนและการรดนํ้า
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
1.ฮอร์โมนออกซิน(Auxin)
ออกซิน(Auxin)เป็นกลุ่มของฮอร์โมนพืชที่กระตุ้นการเจริญเติบโตทําให้มีการแบ่งเซลล์และยืดตัวของ
เซลล์การขนส่งออกซินภายในพืชเป็นการขนส่งอย่างมีทิศทาง
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับออกซินนั้นเกิดขึ้นจากงานของ Charles Darwin ซึ่งศึกษาเรื่อง Phototropism ซึ่งพืชจะโค้ง
งอเข้าหาแสง Darwin ทดลองกับต้นกล้าของ Phalaris canariensis และพบว่าโคลีออพไทล์ของพืชชนิดนี้จะ
ตอบสนองต่อการได้รับแสงเพียงด้านเดียวทําให้เกิดการโค้งเข้าหาแสง Darwin สรุปว่าเมื่อต้นกล้าได้รับแสงจะ
ทําให้มี "อิทธิพล"(Influence) บางอย่างส่งผ่านจากส่วนยอดมายังส่วนล่างของโคลีออพไทล์ ทําให้เกิดการโค้ง
งอเข้าหาแสง ซึ่งนักวิทยาศาสตร์รุ่นต่อมาได้ศึกษาถึง "อิทธิพล" ดังกล่าว
ต่อมา Boysen-Jensen และ Paal ได้ศึกษาและแสดงให้เห็นว่า "อิทธิพล" ดังกล่าวนี้มีสภาพ
เป็นสารเคมี ซึ่งในสภาพที่โคลีออพไทล์ได้รับแสงเท่ากันทั้งสองด้าน สารเคมีนี้จะเคลื่อนที่ลงสู่ส่วนล่างของโค
ลีออพไทล์ ในอัตราเท่ากันทุกด้านและทําหน้าที่เป็นสารกระตุ้นการเจริญเติบโต
ในปี ค.ศ. 1926 Went ได้ทํางานทดลองและสามารถแยกสารชนิดนี้ออกจากโคลีออพไทล์
ได้ โดยตัดส่วนยอดของโคลีออพไทล์ของข้าวโอ๊ตแล้ววางลงบนวุ้นจะทําให้สารเคมีที่กระตุ้นการเจริญเติบโต
ไหลลงสู่วุ้น เมื่อนําวุ้นไปวางลงที่ด้านหนึ่งของโคลีออพไทล์ที่ไม่มียอดด้านใดด้านหนึ่งจะทําให้โคลีออพไทล์
ดังกล่าวโค้งได้ เขาสรุปว่าสารเคมีได้ซึมลงสู่วุ้นแล้วซึมจากวุ้นลงสู่ส่วนของโคลีออพไทล์ วิธีการดังกล่าว
นอกจากเป็นวิธีการแรกที่แยกสารเคมีชนิดนี้ได้แล้ว ยังเป็นวิธีการวัดปริมาณของฮอร์โมนได้ด้วย เป็นวิธีที่
เรียกว่า Bioassay
สารเคมีดังกล่าวได้รับการตั้งชื่อว่าออกซิน ซึ่งในปัจจุบันพบในพืชชั้นสูงทั่วๆไปและมีความสําคัญ
ต่อการเจริญเติบโตของพืช สังเคราะห์ได้จากส่วนเนื้อเยื่อเจริญของลําต้น ปลายราก ใบอ่อน ดอกและผล และ
พบมากที่บริเวณเนื้อเยื่อเจริญ โคลีออพไทด์และคัพภะ รวมทั้งใบที่กําลังเจริญด้วย
2.ต้นพุดพิชญา
พุดพิชญาเป็นไม้หลายขนาด ทั้งต้นเตี้ย ต้นสูง และต้นใหญ่ ลําต้นสีนํ้าตาล ใบสีเขียวเข็ม หลังใบสีเขียว
อ่อน ไม่ผลัดใบ ออกดอกตลอดทั้งปี ให้ดอกแป็นช่อดอก ช่อละ 5 - 10 ดอก ดอกบานทนตั้งแต่แรกแย้มไปจนสู่
บานเต็มที่ ใช้เวลา 4 - 5 วัน ดอกตูมในช่อดอกอื่นๆก็ค่อยทยอยโต และทยอยกันบานไปเรื่อยๆ ลักษณะดอกเป็น
กลีบแยก5กลีบเกสรตรงกลางสีเหลืองมีฝอยเกสรสีขาวล้อมรอบเมื่อดอกบานเต็มที่เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ1
นิ้ว ก้านดอกยาวประมาณ 1 นิ้ว
1)ดอก ดอกแป็นช่อดอก ช่อละ 5 - 10 ดอก ลักษณะดอกเป็นกลีบแยก 5 กลีบ เกสรตรงกลางสี
เหลืองมีฝอยเกสรสีขาวล้อมรอบ เมื่อดอกบานเต็มที่เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1นิ้ว
2)ใบ ใบสีเขียวเข็ม หลังใบสีเขียวอ่อน ไม่ผลัดใบ
3)ลําต้น ลําต้นสีนํ้าตาล
-
บทที่3 การดําเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. กระถางต้นไม้
2. แผ่นรองกระถาง
3. ขวดนํ้า(ใช้ในการรดนํ้า)
4. สเปรย์พลาสติกบรรจุฮอร์โมนออกซินhigh dose , low dose และนํ้าเปล่า
ขั้นตอนการทําโครงงาน
1. ประชุมวางแผนคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ ซึ่งคือ การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจํานวน
ดอกของต้นพุดพิชญา
2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานดังนี้
2.1. การเพาะเลี้ยงต้นพุดพิชญา
2.2. ฮอร์โมนออกซิน
2.3. ลักษณะทางพฤกศาสตร์ของต้นพุดพิชญา
2.4. โรคติดต่อของพืช
3. วางแผนรายละเอียดการทดลอง
3.1. การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของฮอร์โมนออกซินของแต่ละความเข้มข้นที่มีผลต่อจํานวนดอกของต้น
พุดพิชญา
4. ปรึกษากันในการใช้พื้นที่บริเวณหน้าตึกศิลปะในการทําการศึกษา
5. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทําการทดลองเปรียบเทียบประสิทธิภาพของฮอร์โมนออกซินของแต่ละความ
เข้มข้นในที่มีผลต่อจํานวนดอกของต้นพุดพิชญา
5.1.1. ฮอร์โมนออกซินความเข้มข้น 0.02%v/v และความเข้มข้น 0.04%v/v
5.1.2. ต้นพุดพิชญา 9 ต้น
5.1.3. ที่ฉีดสเปรย์ 3 อัน
5.1.4. สมุดบันทึก
6. ขั้นตอนกระบวนการทําการทดลอง
6.1. การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของฮอร์โมนออกซินของแต่ละความเข้มข้นที่มีผลต่อจํานวนดอกของต้น
พุดพิชญา
6.1.1. เตรียมต้นพุดพิชญาไว้9 ต้น วางไว้ในที่เดียวกันตรงหน้าตึก
6.1.2. รดนํ้าและให้ฮอร์โมนอย่างสมํ่าเสมอทั้ง high dose และ low dose
6.1.3. สํารวจและบันทึกความสูงทุกๆสัปดาห์
7. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เป็นระยะ
8. จัดทําเอกสารเป็นรูปเล่มโครงงานให้สมบูรณ์
9. จัดทําสื่ออภิปรายแสดงผลการทดลอง
10. จัดทําการส่งโครงงานแก่อาจารย์ที่ปรึกษา
จากการทดลองจะเห็นว่า จํานวนดอกพุดพิชญาจะมีการขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่จะมีการร่วงโรยบ้าง ตาม
สภาพทั่วไปของต้นไม้และในชุดการทดลอง high dose ดูมีแนวโน้มจํานวนดอกมากกว่า ชุดการทดลองอื่นๆ
ตารางบันทึกผลการทดลอง (จํานวนดอก)
วัน/เดือน/
ปี
ชุดการทดลอง
หมาย
เหตุ
ชุดควบคุม
ค่าเฉลี่ย
ชุด low dose
ค่าเฉลี่ย
ชุด high dose
ค่าเฉลี่ย
ต้น
1
ต้น
2
ต้น
3
ต้น
1
ต้น
2
ต้น
3
ต้น
1
ต้น
2
ต้น
3
29/05/60 0 1 2 1 2 0 1 1 2 1 1 1
05/06/60 0 2 2 1 3 2 2 2 3 3 2 2
12/06/60 1 2 1 1 4 1 2 2 4 5 4 4
19/06/60 1 2 0 2 3 3 1 2 2 5 2 3
ชุด
ควบคุม
ต้นที่ 3
ตาย
26/06/60 0 3 0 3 4 5 1 3 4 6 0 5
ชุด
ควบคุม
ต้นที่ 1
ตาย
ชุด high
dose ต้น
ที่ 3 ตาย
03/07/60 0 2 0 2 2 3 1 2 2 5 0 3
10/07/60 0 4 0 4 4 2 0 3 3 3 0 3
ชุด low
dose ต้น
ที่ 3 ตาย
31/07/60 0 2 0 2 2 5 0 4 5 6 0 6
ค่าเฉลี่ย 1 2 2 3 3 1 3 4 2
สรุปผลการทดลอง
จากผลการทดลอง จะเห็นได้ว่า ในชุดทดลอง high dose จะให้จํานวนดอกที่มากที่สุด แล้วตามด้วย ชุ
ดารทดลอง low dose และชุดควบคุม ตามลําดับ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ฮอร์โมนออกซินมีผลต่อจํานวนดอกของต้น
พุดพิชญา คือเมื่อมีความเข้มข้นมาก ก็จะให้จํานวนดอกมากตาม
ข้อเสนอแนะ
ระหว่างการทดลองอาจมีปัญหาหลายสาเหตุ เช่น ศัตรูพืช หรือสภาพอาการแปรปรวน โรคบางชนิด ซึ่ง
ทําการทดลองมีการผิดเพี้ยนบ้างบางประการ จะนําไปปรับปรุงในครั้งต่อๆไป
เอกสารอ้างอิง
topicauxin.blogspot.com
www.nanagarden.com
www.bloggang.com
www.allaboutrose.com
web.agri.cmu.ac.th
th.wikipedia.org
ff6f840f-a-7c3fdc61-s-sites.googlegroups.com
ภาคผนวก
Plant hor 10_77_60

More Related Content

What's hot (20)

M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
 
M6 78 60_1
M6 78 60_1M6 78 60_1
M6 78 60_1
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
M6 78 60_2
M6 78 60_2M6 78 60_2
M6 78 60_2
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
M6 78 60_3
M6 78 60_3M6 78 60_3
M6 78 60_3
 
Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60
 
M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
 
Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
 
M6 126 60_1
M6 126 60_1M6 126 60_1
M6 126 60_1
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
 
M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
 
M6 143 60_3
M6 143 60_3M6 143 60_3
M6 143 60_3
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
 
M6 144 60_2
M6 144 60_2M6 144 60_2
M6 144 60_2
 
M6 143 60_7
M6 143 60_7M6 143 60_7
M6 143 60_7
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
รูปแบบข้อสอบวิทยาศาสตร์ ป.5
 

Similar to Plant hor 10_77_60

สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชAnana Anana
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชWichai Likitponrak
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอมKaka619
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korTheyok Tanya
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931SasipaChaya
 

Similar to Plant hor 10_77_60 (20)

Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
M6 143 60_6
M6 143 60_6M6 143 60_6
M6 143 60_6
 
M6 126 60_7
M6 126 60_7M6 126 60_7
M6 126 60_7
 
Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
M6 125 60_5
M6 125 60_5M6 125 60_5
M6 125 60_5
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 kor
 
br001
br001br001
br001
 
M6 125 60_7
M6 125 60_7M6 125 60_7
M6 125 60_7
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 
M6 126 60_8
M6 126 60_8M6 126 60_8
M6 126 60_8
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
M6 126 60_6
M6 126 60_6M6 126 60_6
M6 126 60_6
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant hor 10_77_60

  • 1. โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจํานวนดอกของต้นพุดพิชญา สมาชิกโครงงาน 1.นาย เปรม สืบสาย เลขที่32 2.นาย มาโนชญ์ อรรถอุดมพร เลขที่35 3.นาย วิธวินท์ สุวัตถิกุล เลขที่37 4.นาย สิรวิชญ์ พรประเสริฐสุข เลขที่39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 77 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษากรุงเทพมหานคร เขต 1
  • 2. บทคัดย่อ โดยฮอร์โมนออกซินเป็นฮอร์โมนพืชที่สามารถควบคุมการเจริญเติบโต และมีอิทธิพลต่อกระบวนการ พัฒนาการของพืช ทั้งด้านการควบคุมการแบ่งเซลล์ กระตุ้นการแตกชองราก ยับยั้งการเจริญของตาข้างและกิ่ง ป้องกันการร่วงของใบ กิ่ง และผล เพิ่มการติดผล เร่งการเกิดดอก และใช้กําจัดวัชพืช โดยการตอบสนองจะ ปรากฏเด่นชัดเมื่อให้ฮอร์โมนออกซินกับพืชในปริมาณที่เหมาะสม จากข้อมูลดังกล่าวทําให้คณะผู้รับผิดชอบ โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชเกิดข้อสงสัยว่า ปริมาณความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินเท่าไรที่เหมาะสมต่อ จํานวนดอกของต้นพุดพิชญามากที่สุดจึงเกิดเป็นโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชครั้งนี้ จากการศึกษาจํานวนดอกของต้นพุดพิชญาโดยมีตัวแปรคือระดับความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินที่ แตกต่างกันโดยมีชุดควบคุม และชุดทดลอง 2 ชุด คือ ชุดที่ฮอร์โมนมีความเข้มข้นตํ่า และชุดที่ฮอร์โมนมีความ เข้มข้นสูง พบว่าชุดที่ฮอร์โมนมีความเข้มข้นสูงมีจํานวนดอกมากที่สุด
  • 3. กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่อง ฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อจํานวนดอกของต้นพุดพิชญา จะสําเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับ การช่วยเหลือจากนายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ครูประจํา วิชา ที่ช่วยให้คําปรึกษา ช่วยแก้ไขปัญหาต่าง ๆ เกี่ยวกับโครงงาน ขอขอบคุณผู้ปกครอง และครูโรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ที่ให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ และให้กําลังใจ ตลอดมา คณะผู้จัดทําโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทํา
  • 4. สารบัญ หน้า บทที่ 1 บทนํา - ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1 - สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1 - อาจารย์ผู้สอน 1 - ที่มาและความสําคัญ 1 - คําถามการทําโครงงาน 1 - สมมติฐานการทดลอง 1 - วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1 - ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1 - ขอบเขตการวิจัย 2 - ตัวแปร 2 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง - ต้นพุดพิชญา 3 - ฮอร์โมนออกซิน 4 บทที่ 3 การดําเนินงาน - วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 5 - ขั้นตอนการทําโครงงาน 6 บทที่ 4 ผลการทดลอง - ตารางบันทึกผลการทดลอง 7 - สรุปผลการทดลอง 8 - ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 8 เอกสารอ้างอิง 9 ภาคผนวก 10
  • 5. บทที่ 1 บทนํา ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจํานวนดอกของต้นพุดพิชญา สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1.นาย เปรม สืบสาย เลขที่32 2.นาย มาโนชญ์ อรรถอุดมพร เลขที่35 3.นาย วิธวินท์ สุวัตถิกุล เลขที่37 4.นาย สิรวิชญ์ พรประเสริฐสุข เลขที่39 อาจารย์ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่มาและความสําคัญ พุดพิชญาสามารถปลูกเป็นไม้กระถางก็ได้หรีอปลูกลงดินก็ได้ เลี้ยงง่าย ปรับตัวได้ในเกือบทุก สิ่งแวดล้อม ใช้ปุ๋ ยคอกหรือปุ๋ ยใบจามจุรีหมัก เพราะมีไนโตรเจนสูง ถ้าต้องการเร่งและบํารุงดอกใช้ปุ๋ ยขี้ไก่ เพราะมีฟอสฟอรัสสูง ขยายพันธุ์โดยการ ตอนกิ่ง และการปักชํา นอกจากนี้ ฮอร์โมนออกซินนั้นก็เป็นฮอร์โมนที่เป็นที่น่าสนใจในการช่วยเร่งการเกิดดอก คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่ มีต่อจํานวนดอกของต้นพุดพิชญา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่าฮอร์โมนออกซินมีผลต่อจํานวนดอกของต้น พุดพิชญาในลักษณะอย่างไรคณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผล ที่ได้จะมีประโยชน์ต่อผู้ทําการเกษตรและผู้ที่สนใจในการศึกษาในอนาคตต่อไป คําถามการทําโครงงาน สารละลายฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้นใดจะส่งผลให้ต้นโมกมีความสูงมากที่สุด สมมติฐานการทดลอง ถ้าฮอร์โมนออกซินที่มีผลต่อความสูงเจริญดีที่สุด ดังนั้น สารละลายฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้น 0.04%v/v จะทําให้ต้นพุดพิชญามีจํานวนดอกมากที่สุด วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินว่ามีผลต่อจํานวนดอกของต้นพุดพิชญาอย่างไร 2. เพื่อเปรียบเทียบฮอร์โมนออกซินระหว่างความเข้มข้นตํ่าและสูงว่ามีความแตกต่างกันอย่างไร
  • 6. ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องฮอร์โมนที่มีผลต่อสิ่งมีชีวิต 2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบความเข้มข้นระหว่างตํ่ากับสูงว่ามีผลต่างกันมากน้อยเพียงใด 3. เป็นการส่งเสริมการนําฮอร์โมนไปใช้ในการเกษตร ขอบเขตการวิจัย การทําโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะจํานวนดอกของต้นพุดพิชญา ตัวแปร ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซิน ตัวแปรตาม คือ จํานวนดอกของต้นพุดพิชญา ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณดิน อุณหภูมิ สภาพอากาศ ปริมาณการให้ฮอร์โมนและการรดนํ้า
  • 7. บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1.ฮอร์โมนออกซิน(Auxin) ออกซิน(Auxin)เป็นกลุ่มของฮอร์โมนพืชที่กระตุ้นการเจริญเติบโตทําให้มีการแบ่งเซลล์และยืดตัวของ เซลล์การขนส่งออกซินภายในพืชเป็นการขนส่งอย่างมีทิศทาง ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับออกซินนั้นเกิดขึ้นจากงานของ Charles Darwin ซึ่งศึกษาเรื่อง Phototropism ซึ่งพืชจะโค้ง งอเข้าหาแสง Darwin ทดลองกับต้นกล้าของ Phalaris canariensis และพบว่าโคลีออพไทล์ของพืชชนิดนี้จะ ตอบสนองต่อการได้รับแสงเพียงด้านเดียวทําให้เกิดการโค้งเข้าหาแสง Darwin สรุปว่าเมื่อต้นกล้าได้รับแสงจะ ทําให้มี "อิทธิพล"(Influence) บางอย่างส่งผ่านจากส่วนยอดมายังส่วนล่างของโคลีออพไทล์ ทําให้เกิดการโค้ง งอเข้าหาแสง ซึ่งนักวิทยาศาสตร์รุ่นต่อมาได้ศึกษาถึง "อิทธิพล" ดังกล่าว ต่อมา Boysen-Jensen และ Paal ได้ศึกษาและแสดงให้เห็นว่า "อิทธิพล" ดังกล่าวนี้มีสภาพ เป็นสารเคมี ซึ่งในสภาพที่โคลีออพไทล์ได้รับแสงเท่ากันทั้งสองด้าน สารเคมีนี้จะเคลื่อนที่ลงสู่ส่วนล่างของโค ลีออพไทล์ ในอัตราเท่ากันทุกด้านและทําหน้าที่เป็นสารกระตุ้นการเจริญเติบโต ในปี ค.ศ. 1926 Went ได้ทํางานทดลองและสามารถแยกสารชนิดนี้ออกจากโคลีออพไทล์ ได้ โดยตัดส่วนยอดของโคลีออพไทล์ของข้าวโอ๊ตแล้ววางลงบนวุ้นจะทําให้สารเคมีที่กระตุ้นการเจริญเติบโต ไหลลงสู่วุ้น เมื่อนําวุ้นไปวางลงที่ด้านหนึ่งของโคลีออพไทล์ที่ไม่มียอดด้านใดด้านหนึ่งจะทําให้โคลีออพไทล์ ดังกล่าวโค้งได้ เขาสรุปว่าสารเคมีได้ซึมลงสู่วุ้นแล้วซึมจากวุ้นลงสู่ส่วนของโคลีออพไทล์ วิธีการดังกล่าว นอกจากเป็นวิธีการแรกที่แยกสารเคมีชนิดนี้ได้แล้ว ยังเป็นวิธีการวัดปริมาณของฮอร์โมนได้ด้วย เป็นวิธีที่ เรียกว่า Bioassay สารเคมีดังกล่าวได้รับการตั้งชื่อว่าออกซิน ซึ่งในปัจจุบันพบในพืชชั้นสูงทั่วๆไปและมีความสําคัญ ต่อการเจริญเติบโตของพืช สังเคราะห์ได้จากส่วนเนื้อเยื่อเจริญของลําต้น ปลายราก ใบอ่อน ดอกและผล และ พบมากที่บริเวณเนื้อเยื่อเจริญ โคลีออพไทด์และคัพภะ รวมทั้งใบที่กําลังเจริญด้วย 2.ต้นพุดพิชญา พุดพิชญาเป็นไม้หลายขนาด ทั้งต้นเตี้ย ต้นสูง และต้นใหญ่ ลําต้นสีนํ้าตาล ใบสีเขียวเข็ม หลังใบสีเขียว อ่อน ไม่ผลัดใบ ออกดอกตลอดทั้งปี ให้ดอกแป็นช่อดอก ช่อละ 5 - 10 ดอก ดอกบานทนตั้งแต่แรกแย้มไปจนสู่ บานเต็มที่ ใช้เวลา 4 - 5 วัน ดอกตูมในช่อดอกอื่นๆก็ค่อยทยอยโต และทยอยกันบานไปเรื่อยๆ ลักษณะดอกเป็น กลีบแยก5กลีบเกสรตรงกลางสีเหลืองมีฝอยเกสรสีขาวล้อมรอบเมื่อดอกบานเต็มที่เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ1 นิ้ว ก้านดอกยาวประมาณ 1 นิ้ว
  • 8. 1)ดอก ดอกแป็นช่อดอก ช่อละ 5 - 10 ดอก ลักษณะดอกเป็นกลีบแยก 5 กลีบ เกสรตรงกลางสี เหลืองมีฝอยเกสรสีขาวล้อมรอบ เมื่อดอกบานเต็มที่เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 1นิ้ว 2)ใบ ใบสีเขียวเข็ม หลังใบสีเขียวอ่อน ไม่ผลัดใบ 3)ลําต้น ลําต้นสีนํ้าตาล -
  • 9. บทที่3 การดําเนินงาน วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 1. กระถางต้นไม้ 2. แผ่นรองกระถาง 3. ขวดนํ้า(ใช้ในการรดนํ้า) 4. สเปรย์พลาสติกบรรจุฮอร์โมนออกซินhigh dose , low dose และนํ้าเปล่า ขั้นตอนการทําโครงงาน 1. ประชุมวางแผนคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ ซึ่งคือ การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจํานวน ดอกของต้นพุดพิชญา 2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานดังนี้ 2.1. การเพาะเลี้ยงต้นพุดพิชญา 2.2. ฮอร์โมนออกซิน 2.3. ลักษณะทางพฤกศาสตร์ของต้นพุดพิชญา 2.4. โรคติดต่อของพืช 3. วางแผนรายละเอียดการทดลอง 3.1. การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของฮอร์โมนออกซินของแต่ละความเข้มข้นที่มีผลต่อจํานวนดอกของต้น พุดพิชญา 4. ปรึกษากันในการใช้พื้นที่บริเวณหน้าตึกศิลปะในการทําการศึกษา 5. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทําการทดลองเปรียบเทียบประสิทธิภาพของฮอร์โมนออกซินของแต่ละความ เข้มข้นในที่มีผลต่อจํานวนดอกของต้นพุดพิชญา 5.1.1. ฮอร์โมนออกซินความเข้มข้น 0.02%v/v และความเข้มข้น 0.04%v/v 5.1.2. ต้นพุดพิชญา 9 ต้น 5.1.3. ที่ฉีดสเปรย์ 3 อัน 5.1.4. สมุดบันทึก
  • 10. 6. ขั้นตอนกระบวนการทําการทดลอง 6.1. การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของฮอร์โมนออกซินของแต่ละความเข้มข้นที่มีผลต่อจํานวนดอกของต้น พุดพิชญา 6.1.1. เตรียมต้นพุดพิชญาไว้9 ต้น วางไว้ในที่เดียวกันตรงหน้าตึก 6.1.2. รดนํ้าและให้ฮอร์โมนอย่างสมํ่าเสมอทั้ง high dose และ low dose 6.1.3. สํารวจและบันทึกความสูงทุกๆสัปดาห์ 7. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เป็นระยะ 8. จัดทําเอกสารเป็นรูปเล่มโครงงานให้สมบูรณ์ 9. จัดทําสื่ออภิปรายแสดงผลการทดลอง 10. จัดทําการส่งโครงงานแก่อาจารย์ที่ปรึกษา
  • 11. จากการทดลองจะเห็นว่า จํานวนดอกพุดพิชญาจะมีการขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่จะมีการร่วงโรยบ้าง ตาม สภาพทั่วไปของต้นไม้และในชุดการทดลอง high dose ดูมีแนวโน้มจํานวนดอกมากกว่า ชุดการทดลองอื่นๆ ตารางบันทึกผลการทดลอง (จํานวนดอก) วัน/เดือน/ ปี ชุดการทดลอง หมาย เหตุ ชุดควบคุม ค่าเฉลี่ย ชุด low dose ค่าเฉลี่ย ชุด high dose ค่าเฉลี่ย ต้น 1 ต้น 2 ต้น 3 ต้น 1 ต้น 2 ต้น 3 ต้น 1 ต้น 2 ต้น 3 29/05/60 0 1 2 1 2 0 1 1 2 1 1 1 05/06/60 0 2 2 1 3 2 2 2 3 3 2 2 12/06/60 1 2 1 1 4 1 2 2 4 5 4 4 19/06/60 1 2 0 2 3 3 1 2 2 5 2 3 ชุด ควบคุม ต้นที่ 3 ตาย 26/06/60 0 3 0 3 4 5 1 3 4 6 0 5 ชุด ควบคุม ต้นที่ 1 ตาย ชุด high dose ต้น ที่ 3 ตาย 03/07/60 0 2 0 2 2 3 1 2 2 5 0 3 10/07/60 0 4 0 4 4 2 0 3 3 3 0 3 ชุด low dose ต้น ที่ 3 ตาย 31/07/60 0 2 0 2 2 5 0 4 5 6 0 6 ค่าเฉลี่ย 1 2 2 3 3 1 3 4 2
  • 12. สรุปผลการทดลอง จากผลการทดลอง จะเห็นได้ว่า ในชุดทดลอง high dose จะให้จํานวนดอกที่มากที่สุด แล้วตามด้วย ชุ ดารทดลอง low dose และชุดควบคุม ตามลําดับ ซึ่งแสดงให้เห็นว่า ฮอร์โมนออกซินมีผลต่อจํานวนดอกของต้น พุดพิชญา คือเมื่อมีความเข้มข้นมาก ก็จะให้จํานวนดอกมากตาม ข้อเสนอแนะ ระหว่างการทดลองอาจมีปัญหาหลายสาเหตุ เช่น ศัตรูพืช หรือสภาพอาการแปรปรวน โรคบางชนิด ซึ่ง ทําการทดลองมีการผิดเพี้ยนบ้างบางประการ จะนําไปปรับปรุงในครั้งต่อๆไป