SlideShare a Scribd company logo
1 of 33
Download to read offline
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อส่วนยอดของต้นมะกรูด
นาเสนอครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตาแหน่งครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. น.ส.รตา พูลทวีเกียรติ์ เลขที่ 15
2. น.ส.ศิริพิชญ์ จินดามพร เลขที่ 19
3. น.ส.อาลักษยา จินตวลากร เลขที่ 25
4. นายคีตบดินทร์ เจนณะสมบัติ เลขที่ 28
5. นายภูลม กาญจนางกูรพันธุ์ เลขที่ 39
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
คานา
โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา 5 (ว30245) จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาความเข้มข้นของ
ฮอร์โมนออกซินที่เหมาะสมต่อการงอกส่วนยอดของต้นมะกรูด เนื่องจากต้นมะกรูดเป็นพืชที่มีความสาคัญต่อ
วิถีชีวิตของคนไทยอย่างมากโดยเฉพาะการประกอบอาหาร เช่นน้ามะกรูดมีรสเปรี้ยวสามารถใช้ปรุงรสเปรี้ยว
แทนมะนาวได้ส่วนเปลือกของมะกรูดนิยมนาผิวมาประกอบอาหารเนื่องจากมีกลิ่นหอม และภูมิปัญญาชาวบ้าน
ที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากคือแชมพูมะกรูดนั่นเอง นอกจากนี้ฮอร์โมนออกซินเป็นฮอร์โมนพืชที่กระตุ้นการ
เจริญเติบโต ชักนาการยืดขยายเซลล์ลาต้นและเนื้อเยื่อหุ้มยอดแรกเกิดเร่งการเติบโตของพืชทั้งในส่วนรากและ
ลาต้นยอด คณะผู้จัดทาจึงเลือกฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้นแตกต่างกันมาทดลองกับต้นมะกรูด โดยศึกษา
ความเข้มข้นที่เหมาะสมจากจานวนยอดที่เกิดใหม่ของยอดต้นมะกรูด โดยแบ่งเป็น 3 ชุดการทดลองได้แก่ low
dose ชุดควบคุม และhigh dose และบันทึกผลการทดลองอย่างต่อเนื่อง
คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่ศึกษาไม่มากก็น้อยหากผิดพลาด
ประการใดคณะผู้จัดทาต้องขออภัยไว้ณ ที่นี้ด้วย
คณะผู้จัดทา
บทคัดย่อ
ต้นมะกรูดเป็นพืชที่มีความสาคัญต่อวิถีชีวิตของคนไทยอย่างมากโดยเฉพาะการประกอบอาหาร เช่นน้า
มะกรูดมีรสเปรี้ยวสามารถใช้ปรุงรสเปรี้ยวแทนมะนาวได้ ส่วนเปลือกของมะกรูดนิยมนาผิวมาประกอบอาหาร
เนื่องจากมีกลิ่นหอม และภูมิปัญญาชาวบ้านที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากคือแชมพูมะกรูดนั่นเอง
นอกจากนี้ฮอร์โมนออกซินเป็นฮอร์โมนพืชที่กระตุ้นการเจริญเติบโต ชักนาการยืดขยายเซลล์ลาต้นและ
เนื้อเยื่อหุ้มยอดแรกเกิดเร่งการเติบโตของพืชทั้งในส่วนรากและลาต้นยอด คณะผู้จัดทาจึงเลือกฮอร์โมนออกซิ
นที่ความเข้มข้นแตกต่างกันมาทดลองกับต้นมะกรูด โดยศึกษาความเข้มข้นที่เหมาะสมจากจานวนยอดที่เกิด
ใหม่ของยอดต้นมะกรูด โดยแบ่งเป็น 3 ชุดการทดลองได้แก่ low dose ชุดควบคุม และhigh dose และบันทึกผล
การทดลองอย่างต่อเนื่อง
จากการทดลองพบว่าพืชกลุ่ม high dose มีจานวนยอดอ่อนแตกออกมามากที่สุด ส่วนในกลุ่ม low dose
มีจานวนยอดอ่อนแตกออกมารองลงมา และในพืชกลุ่ม control แทบไม่มียอดอ่อนแตกออกมาเลย ดังนั้น จึง
สรุปได้ว่า ฮอร์โมนออกซินนั้นมีผลต่อพืชในการกระตุ้นการเจริญเติบโตช่วยชักนาการยืดขยายเซลล์เนื้อเยื่อหุ้ม
ยอดแรกเกิด และเร่งการเติบโตของพืชในส่วนยอดได้อีกด้วย
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานเรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อส่วนยอดของต้นมะกรูด จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้า
ไม่ได้รับการช่วยเหลือจากครูที่ปรึกษาโครงงาน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูประจาวิชา ที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วย
แก้ไขปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับโครงงาน ตลอดจนแนะนาแนวทางในการทาโครงงาน
ขอขอบคุณบิดามารดา ผู้ปกครอง คุณครู และเพื่อนๆร่วมห้อง ที่ให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ และให้
กาลังใจตลอดมา
คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
หน้า
บทที่ 1 บทนา 1
ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1
อาจารย์ผู้สอน 1
ที่มาและความสาคัญ 1
คาถามการทาโครงงาน 2
สมมติฐานการทดลอง 2
วัตถุประสงค์ของโครงงาน 2
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2
ขอบเขตของโครงงาน 2
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง 2
ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน 2
วิธีการเก็บข้อมูล 3
วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล 4
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 5
เนื้อหาเกี่ยวกับต้นไม้ที่เลือกมาใช้ 5
เนื้อหาเกี่ยวกับฮอร์โมนที่เลือกใช้ 7
บทที่ 3 การดาเนินงาน 16
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 16
ขั้นตอนการทาโครงงาน 16
บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง 19
ตารางบันทึกผลการทดลอง 19
กราฟแท่งแสดงผลการทดลอง 19
วิเคราะห์ผลการทดลอง 20
บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 21
สรุปผลการทดลอง 21
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 21
บรรณานุกรม 22
ภาคผนวก 23
บทที่ 1 บทนา
ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจานวนยอดของต้นมะกรูด
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1.น.ส.รตา พูลทวีเกียรติ์ เลขที่ 15
2.น.ส.ศิริพิชญ์ จินดามพร เลขที่ 19
3.น.ส.อาลักษยา จินตวลากร เลขที่ 25
4.นายคีตบดินทร์ เจนณะสมบัติ เลขที่ 28
5.นายภูลม กาญจนางกูรพันธุ์ เลขที่ 39
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
อาจารย์ผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ที่มาและความสาคัญ
เนื่องจากต้นมะกรูดเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กที่มีความสาคัญต่อวิถีชีวิตของคนไทยอย่างมากโดยเฉพาะ
การประกอบอาหาร น้ามะกรูดมีรสเปรี้ยวสามารถใช้ปรุงรสเปรี้ยวแทนมะนาวได้เช่น น้าพริกปลาร้า น้าพริก
มะกรูด ส่วนเปลือกของมะกรูดนิยมนาผิวมาประกอบอาหารบางชนิดด้วยเพราะในมะกรูดมีน้ามันหอมระเหยอยู่
มากจึงใส่ในต้มยา แกงเผ็ด และแกงเทโพ โดยภูมิปัญญาชาวบ้านสมัยก่อนที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากคือการใช้
มะกรูดคั้นมาเป็นยาสระผมช่วยให้ผมนุ่มสลวยและดกดาได้อีกด้วย
นอกจากนี้ฮอร์โมนออกซินเป็นฮอร์โมนพืชที่กระตุ้นการเจริญเติบโต ทาให้มีการแบ่งเซลล์และยืดตัว
ของเซลล์ ชักนาการยืดขยายเซลล์ลาต้นและเนื้อเยื่อหุ้มยอดแรกเกิดเร่งการเติบโตของพืชทั้งในส่วนรากและลา
ต้นยอด
คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่
มีต่อส่วนยอดของต้นมะกรูด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้มข้นที่เหมาะสมที่ทาให้ได้ยอดที่เกิดใหม่มาก
ที่สุด คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมีประโยชน์ต่อ
การศึกษาและเกษตรกรรมในอนาคตต่อไป
1
คาถามการทาโครงงาน
สารละลายฮอร์โมนฮอร์โมนที่ความเข้มข้นใดจะส่งผลให้ต้นมะกรูดมีจานวนยอดที่เกิดใหม่มากที่สุด
สมมติฐานการทดลอง
ถ้าฮอร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้น 4.5% โดยปริมาตร มีผลต่อยอดอ่อนเจริญดีที่สุด ดังนั้น สารละลาย
ฮอร์โมน ออกซินที่มีความเข้มข้น 4.5% โดยปริมาตร จะทาให้ยอดอ่อนมี จานวนยอดอ่อนมากที่สุด
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อศึกษากลไกการทางานของฮอร์โมนออกซิน
2. เพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของต้นมะกรูดที่ได้รับปริมาณออกซินที่แตกต่างกัน
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องกลไกการทางานของฮอร์โมนออกซินต่อพืช
2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของต้นมะกรูดที่ได้รับปริมาณออกซินที่แตกต่างกัน
3. เป็นการส่งเสริมการเรียนรู้เกี่ยวกับการทางานฮอร์โมนพืช การเปลี่ยนแปลงของพืชที่เกิดจากฮอร์โมน
ขอบเขตของโครงงาน
การทาโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะกลไกการทางานของฮอร์โมนออกซินที่
มีผลต่อต้นมะกรูด
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นฮอร์โมนออกซินที่ต้นมะกรูดได้รับ
ตัวแปรตาม คือ จานวนยอดที่แตกออกมาใหม่ของต้นมะกรูด
ตัวแปรควบคุม คือ สายพันธุ์ และ อายุของต้นมะกรูด, ปริมาณน้า ดิน แร่ธาตุ อากาศ และแสง
สว่างที่ต้นมะกรูดได้รับ
ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน
ช่วงวันที่ 12 มิถุนายน 2560 ถึงวันที่ 3 กรกฎาคม 2560
2
วิธีการเก็บข้อมูล
การใช้ไหมพรมผูกยอดที่เกิดขึ้นใหม่ในสัปดาห์นั้นๆ โดยใช้สีไหมพรมที่แตกต่างกันทุกๆสัปดาห์เพื่อ
บันทึกผลการทดลองลงในตารางแบบบันทึกที่ได้ออกแบบไว้
เก็บข้อมูลครั้งที่ 1 ไม่เกิดยอดใหม่จึงรดน้าและฮอร์โมนตามปกติ
เก็บข้อมูลครั้งที่ 2 ใช้ไหมพรมสีแดง
3
เก็บข้อมูลครั้งที่ 3 ใช้ไหมพรมสีเหลือง
เก็บข้อมูลครั้งที่ 4 ใช้ไหมพรมสีฟ้า
วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล
การหาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินกับจานวนยอดที่เกิดใหม่ในรูปแบบ
กราฟแท่ง
4
บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
1. เนื้อหาเกี่ยวกับต้นไม้ที่เลือกมาใช้
ต้นมะกรูด
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Citrus x hystrix L.
ชื่อสามัญ : Leech lime, Mauritus papeda
ชื่ออื่น : มะขุน, มะขูด (ภาคเหนือ), มะขู (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), ส้มกรูด, ส้มมั่วผี (ภาคใต้)
อยู่ในอาณาจักรพืช (Plantae) ชั้น Magnoliopsida อันดับ Sapindales วงศ์ Rutaceae สกุล Citrus ซึ่งเป็น
สกุลเดียวกับส้ม มีถิ่นกาเนิดในประเทศลาว อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิยมใช้
ใบมะกรูดและผิวมะกรูดเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องปรุงอาหารหลายชนิด
ลักษณะทางพันธุ์ศาสตร์
มะกรูดเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก เป็นไม้เนื้อแข็ง ลาต้นและกิ่งมีหนามยาวเล็กน้อย ใบเป็นใบประกอบชนิดลดรูป มีใบย่อย 1
ใบ เรียงสลับ รูปไข่ คือมีลักษณะคล้ายกับใบไม้ 2 ใบ ต่อกันอยู่ คอดกิ่วที่กลางใบเป็นตอนๆ มีก้านแผ่ออกใหญ่เท่ากับแผ่นใบ
ทาให้เห็นใบเป็น 2 ตอน กว้าง 2.5-4 เซนติเมตร ยาว 4-7 เซนติเมตร ใบสีเขียวแก่พื้นผิวใบเรียบเกลี้ยง เป็นมัน ค่อนข้างหนา มี
5
กลิ่นหอมมากเพราะมีต่อมน้ามันอยู่ ซึ่งผลแบบนี้เรียกว่า hesperitium (ผลแบบส้ม) ใบด้านบนสีเข้ม ใต้ใบสีอ่อน ดอก
ออกเป็นกระจุก 3 – 5 ดอก กลีบดอกสีขาว เกสรสีเหลือง ร่วงง่าย มีกลิ่นหอม มีผลสีเขียวเข้มคล้ายมะนาวผิวเปลือกนอกขรุขระ
ขั้วหัวท้ายของผลเป็นจุก ผลอ่อนมีเป็นสีเขียวแก่ เมื่อผลสุกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองสด พันธุ์ที่มีผลเล็ก ผิวจะขรุขระน้อยกว่าและ
ไม่มีจุกที่ขั้ว ภายในมีเมล็ดจานวนมาก
สรรพคุณ
ราก - กระทุ้งพิษ แก้ฝีภายในและแก้เสมหะเป็นพิษ
ใบ - มีน้ามันหอมระเหย
ผล, น้าคั้นจากผิว - ใช้แต่งกลิ่น สระผมรักษาชันนะตุ รังแค ทาให้ผมสะอาด
ผิว - ปรุงเป็นยาขับลมในลาไส้ แก้แน่น
- เป็นยาบารุงหัวใจ
2. เนื้อหาเกี่ยวกับฮอร์โมนที่เลือกใช้
ออกซิน (Auxin)
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับออกซินนั้นเกิดขึ้นจากงานของ Charles Darwin ซึ่งศึกษาเรื่อง Phototropism ซึ่ง
พืชจะโค้งงอเข้าหาแสง Darwin ทดลองกับต้นกล้าของ Phalaris canariensis และพบว่าโคลีออพไทล์ ของพืช
ชนิดนี้จะตอบสนองต่อการได้รับแสงเพียงด้านเดียวทาให้เกิดการโค้งเข้าหาแสง Darwin สรุปว่า เมื่อต้นกล้า
ได้รับแสงจะทาให้มี "อิทธิพล" (Influence) บางอย่างส่งผ่านจากส่วนยอดมายังส่วนล่างของโคลีออพไทล์ ทาให้
เกิดการโค้งงอเข้าหาแสง ซึ่งนักวิทยาศาสตร์รุ่นต่อมาได้ศึกษาถึง "อิทธิพล" ดังกล่าว ต่อมา Boysen-Jensen และ
6
Paal ได้ศึกษาและแสดงให้เห็นว่า "อิทธิพล" ดังกล่าวนี้มีสภาพเป็นสารเคมี ซึ่งในสภาพที่โคลีออพไทล์ได้รับ
แสงเท่ากันทั้งสองด้าน สารเคมีนี้จะเคลื่อนที่ลงสู่ส่วนล่างของ โคลีออพไทล์ในอัตราเท่ากันทุกด้านและทา
หน้าที่เป็นสารกระตุ้นการเจริญเติบโต ในปี ค.ศ.1926 Went ได้ทางานทดลองและสามารถแยกสารชนิดนี้ออก
จากโคลีออพไทล์ได้โดยตัดส่วนยอดของโคลีออพไทล์ ของข้าวโอ๊ตแล้ววางลงบนวุ้นจะทาให้สารเคมีที่กระตุ้น
การเจริญเติบโตไหลลงสู่วุ้น เมื่อนาวุ้นไปวางลงที่ ด้านหนึ่งของโคลีออพไทล์ที่ไม่มียอดด้านใดด้านหนึ่งจะทา
ให้โคลีออพไทล์ดังกล่าวโค้งได้เขาสรุปว่า สารเคมีได้ซึมลงสู่วุ้นแล้วซึมจากวุ้นลงสู่ส่วนของโคลีออพไทล์
วิธีการดังกล่าวนอกจากเป็นวิธีการแรกที่แยกสารเคมีชนิดนี้ได้แล้ว ยังเป็นวิธีการวัดปริมาณของฮอร์โมนได้ด้วย
เป็นวิธีที่เรียกว่า Bioassay
สารเคมีดังกล่าวได้รับการตั้งชื่อว่า ออกซิน ซึ่งในปัจจุบันพบในพืชชั้นสูงทั่วๆ ไป และมีความสาคัญต่อ
การเจริญเติบโตของพืช สังเคราะห์ได้จากส่วนเนื้อเยื่อเจริญของลาต้น ปลายราก ใบอ่อน ดอกและผล และพบ
มากที่บริเวณเนื้อเยื่อเจริญ โคลีออพไทด์และคัพภะ รวมทั้งใบที่กาลังเจริญด้วย
การสังเคราะห์ออกซิน
ในปี ค.ศ.1934ได้พบว่า ออกซินมีลักษณะทางเคมีเป็นสาร Indole-3-acetic acid หรือ เรียกย่อๆ ว่า IAA
ซึ่งในปัจจุบันเชื่อว่าเป็นออกซินส่วนใหญ่ที่พบในพืชและในสภาพธรรมชาติ อยู่ในรูป Indole ทั้งสิ้น โดยที่ IAA
เป็นสารที่สาคัญที่สุด นอกจากนั้นยังพบในรูปของ Indole-3-acetaldehyde หรือ IAAld Indole-3-Pyruvic acid
7
หรือ IPyA และ Indole-3-acetonitrile หรือ IAN ซึ่งสารทั้ง 3 ชนิดนี้สามารถ เปลี่ยนเป็น IAA ได้ พืชสังเคราะห์
ออกซินที่ใบอ่อน จุดกาเนิดของใบและเมล็ดซึ่งกาลังเจริญเติบโต การสังเคราะห์ออกซินนั้น มีกรดอะมิโน L-
Tryptophan เป็นสารเริ่มต้น (Precursor) L-Tryptophan เป็นกรดอะมิโนที่มีโครงสร้างของ Indole อยู่ การ
สังเคราะห์ออกซิน ซึ่งในการสังเคราะห์ IAA นั้น จะมี IAAld และ IPyA เป็นสารที่พบในระหว่างการสังเคราะห์
ในพืชบางชนิด เช่น ข้าวโอ๊ต ยาสูบ มะเขือเทศ ทานตะวัน และข้าวบาร์เลย์พบว่า Tryptophan สามารถ
เปลี่ยนเป็น Tryptamineได้ในพืชตระกูลกะหล่า Tryptamine อาจจะเปลี่ยนไปเป็น Indoleacetaldoxime แล้ว
เปลี่ยนไปเป็น IAN แล้วจึงเปลี่ยนเป็นIAA
การศึกษาเรื่องการสังเคราะห์ออกซินมักศึกษาจากเนื้อเยื่อปลายรากหรือปลายยอด และพบว่า IAA นี้
สังเคราะห์ได้ทั้งในส่วนไซโตซอล (Cytosol) ไมโตคอนเดรีย และคลอโรพลาสต์ ในการศึกษาในปัจจุบันพบว่า
Phenyl acetic acid หรือ PAA มีคุณสมบัติของออกซินด้วย และสามารถสังเคราะห์ได้จาก L-Phenylalanine โดย
พบในคลอโรพลาสต์ และไมโตคอนเดรียของทานตะวัน
สารสังเคราะห์ที่มีคุณสมบัติของออกซินมีหลายชนิดที่สาคัญทางการเกษตร เช่น สาร 2,4-
dichlorophenoxyacetic acid หรือ 2,4-D ซึ่งใช้ในการกาจัดวัชพืช IBA หรือ Indole butyric acid ใช้ในการเร่งให้
ส่วนที่จะนาไปปักชาเกิดรากเร็วขึ้น และ NAA หรือ Naphthalene acetic acid จะช่วยในการติดผลของผลไม้บาง
ชนิด เช่น แอปเปิล
ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างของโมเลกุลและการมีคุณสมบัติของออกซิน
เนื่องจากมีสารที่เกิดในธรรมชาติและสารสังเคราะห์จานวนมากมีคุณสมบัติของออกซิน จึงจาเป็นต้องรู้
โครงสร้างของโมเลกุลที่จะก่อให้เกิดคุณสมบัติของออกซินได้ซึ่งมีการศึกษากันมาก ในขั้นต้น เข้าใจว่าสารที่จะ
มีคุณสมบัติของออกซินต้องประกอบด้วยวงแหวนที่ไม่อิ่มตัวมี side chain เป็นกรด ซึ่งต่อมาพบว่าไม่ใช่สาเหตุที่
แท้จริง เพราะมีสารหลายชนิดที่ไม่มีลักษณะ ดังกล่าว แต่มีคุณสมบัติของออกซิน จากการศึกษาของ Thimann
ในปี ค.ศ. 1963 ได้สรุปว่า โครงสร้างของโมเลกุลที่สาคัญของสารที่จะมีคุณสมบัติของออกซินคือ ต้อง
ประกอบด้วยประจุลบ (Strong Negative Charge) ซึ่งเกิดจากการแตกตัวของกลุ่มคาร์บอกซิล และประจุลบ
จะต้องอยู่ห่างจากประจุบวก(Weaker Positive Charge) บนวงแหวนด้วยระยะทางประมาณ 5.5 Angstrom
สมมติฐานของ Thimann นับว่าใช้อธิบายโครงสร้างโมเลกุลของสารที่มีคุณสมบัติของออกซินได้ครบ
8
5
การสลายตัวของ IAA
ปริมาณของ IAA ในพืชนั้นไม่เพียงแต่ขึ้นอยู่กับอัตราการสังเคราะห์เท่านั้น แต่ยังขึ้นอยู่กับอัตราการ
สลายตัว ซึ่งการสลายตัวของ IAA นั้น สามารถเกิดขึ้นได้หลายวิธี
1. Photo-oxidation IAA ที่อยู่ในสภาพสารละลายจะสลายตัวได้เมื่อได้รับแสง การเกิด Photo-oxidation
ของ IAA จะถูกเร่งโดยการปรากฏของรงควัตถุตามธรรมชาติ หรือที่สังเคราะห์ได้ จึงอาจจะเป็นไปได้ว่าการที่
รงควัตถุของพืชดูดซับพลังงานจากแสงแล้วทาให้เกิดการออกซิไดซ์ IAA ซึ่งรงควัตถุที่เกี่ยวข้อง คือ ไรโบฟ
ลาวินและไวโอลาแซนธิน (Riboflavin และViolaxanthin) สารที่เกิดขึ้นเมื่อ IAA สลายตัวโดยแสงคือ 3-
methylene-2-oxindole และ Indole acetaldehyde
2. การออกซิไดซ์โดยเอนไซม์ (Enzymic Oxidation of IAA) พืชหลายชนิดมีเอนไซม์เรียกว่า IAA-
oxidase ซึ่งจะคะตะไลท์สลาย IAA ได้คาร์บอนไดออกไซด์ และเป็นปฏิกิริยาที่ใช้ออกซิเจน IAA-oxidase มี
คุณสมบัติคล้ายเอนไซม์ประเภทเพอร์ออกซิเดส (Peroxidase) และเป็นเอนไซม์ที่ต้องการแมงกานีสเป็นโค-แฟค
เตอร์ กระบวนการออกซิไดซ์ โดย IAA-oxidase ยังไม่เป็นที่เข้าใจกันมากนัก จากการทดลอง In vitro พบว่า
ผลิตภัณฑ์ที่ได้ คือ 3-methylene-2-oxindole และถูกเมตาโบไลซ์ต่อไป เป็น 3-methyl-2-oxindole มีการทดลอง
หลายครั้งที่ยืนยันว่า IAA-oxidase จะเพิ่มขึ้นเมื่ออายุของพืชเพิ่มมากขึ้น นอกจากนั้นยังมีความสัมพันธ์แบบ
ผกผันระหว่างอัตราการเจริญเติบโตและปริมาณของ IAA-oxidase ในเนื้อเยื่อของรากจะมี IAA ในปริมาณต่า แต่
มี IAA-oxidase เป็นจานวนมาก
3. รวมกับสารชนิดอื่นในไซโตพลาสต์
4. เปลี่ยนเป็นอนุพันธ์ชนิดอื่น
การวัดปริมาณออกซิน
1. Bioassay คือ การวัดปริมาณออกซินโดยใช้ชิ้นส่วนของพืช เช่น โคลีออพไทล์ของข้าวโอ๊ตหรือพืชใบ
เลี้ยงเดี่ยวอื่นๆ แล้ววัดความโค้งของยอดโดยการวางออกซินที่ต้องการวัดปริมาณลงบนส่วนของโคลีออพไทล์
ซึ่งตัดยอดออกแล้ว มุมที่โค้งจะบอกปริมาณของออกซินได้โดยเปรียบเทียบจากเส้นมาตรฐาน (Standard Curve)
9
2. การวัดจากคุณสมบัติทางฟิสิกส์ คือ การวัดปริมาณของออกซินโดยใช้การดูดกลืนแสงของ IAA ซึ่ง
เมื่อมีความเข้มข้นต่างกันจะดูดกลืนแสงได้ต่างกัน โดยใช้ความยาวคลื่นแสงที่ 280 nm หรือสกัดจนเป็นสาร
บริสุทธิ์แล้วจึงใช้เครื่อง Gas Chromatograph ร่วมกับ Mass Spectrometry ในการจาแนกและหาปริมาณ
3. การวัดโดยวิธีเคมี โดยให้ออกซินทาปฏิกิริยากับ Salkowski's Reagent (acidified ferric chloride) หรือ
ใช้ Ehrllch's Reagent ซึ่งจะเกิดสีขึ้นมา จากนั้นวัดความเข้มของสีแล้วเปรียบเทียบกับเส้นมาตรฐาน
การเคลื่อนที่ของออกซินในต้นพืช
จากส่วนของพืชที่มีการสังเคราะห์ ฮอร์โมนจะเคลื่อนย้ายไปสู่ส่วนอื่นๆ และมีผลกระทบต่อเนื้อเยื่อที่
ได้รับฮอร์โมน การเคลื่อนที่จะถูกควบคุมอย่างดี การเคลื่อนที่ของออกซินจะเป็นแบบโพลาไรซ์ (Polarized) คือ
เคลื่อนที่ไปตามยาวของลาต้นโดยไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่งมากกว่าทิศทางตรงกันข้าม ซึ่งการเคลื่อนที่แบบ
โพลาร์ (Polar) นี้จะเกี่ยวข้องกับการเจริญและการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพของพืชทั้งต้น
การเคลื่อนที่ของออกซินในส่วนที่อยู่เหนือดิน จะเป็นแบบโพลาร์ เบสิพีตัล (Polar Basipetal) คือ จะ
เคลื่อนที่จากแหล่งผลิตที่ยอดไปสู่โคนต้น ซึ่งการทดลองที่แสดงว่ามีการเคลื่อนที่แบบนี้สามารถทาได้โดยใช้
ก้อนวุ้นที่เป็นแหล่งให้ออกซินและรับออกซิน (Donor-Receiver Agar Block) คือ ใช้ก้อนวุ้นที่มีออกซินอยู่วาง
บนท่อนของเนื้อเยื่อ ส่วนก้อนวุ้นอีกก้อนซึ่งทาหน้าที่รับออกซินอยู่อีกปลายหนึ่งของท่อนเนื้อเยื่อ ออกซินจะ
เคลื่อนที่จากก้อนวุ้นที่มีออกซินผ่านเนื้อเยื่อลงไปสู่ก้อนวุ้นที่ไม่มีออกซิน ซึ่งจากวิธีการนี้สามารถคานวณ
ความเร็วของการเคลื่อนที่ของออกซินในเนื้อเยื่อได้ เพราะทราบความยาวของท่อนเนื้อเยื่อ ความเร็วในการ
เคลื่อนที่แสดงเป็นระยะทางต่อหน่วยเวลา ซึ่งความเร็วในการเคลื่อนที่ของออกซินจะประมาณ 0.5-1.5
เซนติเมตรต่อชั่วโมง
การเคลื่อนที่ของออกซินจะเกิดแบบเบสิพีตัลก็เมื่อท่อนเนื้อเยื่อวางอยู่ในลักษณะปกติของลักษณะทาง
สัณฐานวิทยาเท่านั้น คือ ก้อนวุ้นที่เป็นก้อนที่รับออกซินจะต้องอยู่ทางด้านโคนของท่อนเนื้อเยื่อ ถ้าหากกลับ
ท่อนเนื้อเยื่อเอาด้านโคนกลับขึ้นเป็นด้านยอด การเคลื่อนที่แบบเบสิพีตัลจะลดลงทันที
อัตราการเคลื่อนที่ของสารสังเคราะห์ที่มีคุณสมบัติของออกซิน จะช้ากว่าการเคลื่อนที่ของ IAA แต่
ลักษณะการเคลื่อนที่ของสารสังเคราะห์ เช่น 2,4-D IBA และ NAA ก็เกิดในลักษณะโพลาร์เช่นเดียวกับสาร
10
0
IAA
การเคลื่อนที่ของออกซินในส่วนที่อยู่เหนือดินของพืช เกิดแบบอะโครพีตัล (Acropetal) ได้บ้างแต่น้อย
มาก การเคลื่อนที่แบบโพลาร์จะลดลงเมื่ออายุของพืชเพิ่มมากขึ้น ในปัจจุบันยังไม่ทราบแน่ชัดว่าออกซินเค
ลื่อนที่ผ่านไปในส่วนใดของเนื้อเยื่ออาจจะเป็นแบบจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งเพราะการเคลื่อนที่ช้ากว่า
การเคลื่อนที่ของสารในท่ออาหาร (Phloem) ซึ่งประมาณ 10-100 เซนติเมตรต่อชั่วโมง และการเคลื่อนที่ของสาร
ในท่ออาหารจะเป็นแบบอะโครพีตัล มากกว่า ดังนั้นออกซินจึงไม่ได้เคลื่อนที่ในท่ออาหาร แต่การเคลื่อนที่ใน
รากอาจจะเป็นแบบตาม Phloem และเป็นที่เด่นชัดว่าออกซินไม่ได้เคลื่อนที่ในท่อน้าของพืชเพราะการไหลของ
น้าจะเป็นไปในทิศทางที่ขึ้นสู่ยอด และนอกจากนั้นท่อน้ายังเป็นเนื้อเยื่อที่ตายแล้วไม่มีพลังงานที่จะทาให้ออก
ซินเคลื่อนที่แบบโพลาร์ได้ ในกรณีของโคลีออพไทล์ของพืชนั้นชี้ให้เห็นว่าออกซินเคลื่อนที่ผ่านเซลล์ทุกเซลล์
ลงมา แต่ในกรณีของลาต้นนั้นยังไม่มีหลักฐานชี้ให้เห็นเด่นชัดนัก แต่อาจจะเป็นไปได้ว่าโปรแคมเบียม
(Procambium) และแคมเบียม (Cambium)โดยเฉพาะส่วนที่จะกลายเป็นท่ออาหารอาจจะเป็นทางเคลื่อนที่ของ
ออกซิน
การเคลื่อนที่ของออกซินในรากก็มีลักษณะเป็นโพลาร์ แต่เป็นแบบ อะโครพีตัล ซึ่งกลับกันกับกรณีของ
ลาต้น ความเร็วของออกซินที่เคลื่อนที่ไปในรากพืชประมาณ 1 เซนติเมตรต่อชั่วโมง โดยคาดว่าเกิดในส่วนของ
แคมเบียมและท่ออาหารที่เกิดใหม่
การเคลื่อนที่ของออกซินเป็นกระบวนการที่ต้องใช้พลังงานโดยมีหลักฐานที่สนับสนุนดังนี้
1. การเคลื่อนที่เร็วกว่าการซึม 10 เท่า
2. เคลื่อนที่ได้ดีในสภาพที่มีออกซิเจนเท่านั้น และการเคลื่อนที่หยุดได้โดยสารบางชนิด (Inhibitor)
3. เคลื่อนที่จากบริเวณที่มีปริมาณมากไปสู่บริเวณที่มีปริมาณน้อย (Gradient)
4. เกิด Saturation Effect ได้
11
1
กลไกการทางานของออกซิน
โดยทั่วไปฮอร์โมนจะสามารถก่อให้เกิดผลต่อการเจริญเติบโตได้ในปริมาณที่ต่ามาก จึงสรุปกันว่าการ
ทางานของฮอร์โมนต้องเกี่ยวข้องกับการขยายสัญญาณของฮอร์โมน (Large Amplification) แล้วฮอร์โมน
สามารถทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโมเลกุลจานวนมากขึ้นได้ โดยทั่วไปฮอร์โมนจะมีผลต่อการเจริญเติบโต
โดยผ่านมาทางการควบคุมการสังเคราะห์โปรตีนหรือกรดนิวคลีอิคควบคุม "pace-setter" ของเอนไซม์และ
ควบคุมการยอมให้สารเข้าออกจากเซลล์ของเยื่อหุ้มเซลล์
กลไกในการทางานของออกซินในระยะที่ผ่านมาจะมีแนวความคิดเป็นสองอย่าง คือ แนวคิดที่เกี่ยวข้อง
กับผนังเซลล์เป็นส่วนที่รับผลกระทบของออกซินและขยายตัว ส่วนอีกแนวคิดหนึ่งมุ่งไปที่ผลของออกซินต่อเม
ตาบอลิสม์ของกรดนิวคลีอิค ในปัจจุบันได้นาสองแนวคิดมาวิเคราะห์ ร่วมกันเพื่อศึกษากลไกในการทางานของ
ออกซิน และยังศึกษาผลของออกซินต่อเยื่อหุ้มเซลล์ด้วย
การขยายตัวของเซลล์จะสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงปริมาณและกิจกรรมของเอนไซม์ โดยที่ออกซินจะ
มีบทบาทต่อ กระบวนการเมตาบอลิสม์ของกรดนิวคลีอิค โดยการศึกษาจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อที่เป็นไส้ของ
ต้นยาสูบ (Tobacco Pith) ซึ่งจะเจริญไปเป็นกลุ่มเนื้อเยื่อ (Callus) นั้นพบว่ามีปริมาณของ RNA เพิ่มมาก
ขึ้น ทั้งนี้เพราะออกซินจะกระตุ้นให้มีการสังเคราะห์ RNA มากขึ้น แล้วส่งผลไปถึงการเจริญของกลุ่มเนื้อเยื่อ
ถ้าหากใช้สารระงับการสังเคราะห์โปรตีนหรือ RNA ความสามารถในการกระตุ้นการเจริญเติบโตของออกซินจะ
หายไป
การทดลองอีกเรื่องที่ชี้ให้เห็นว่าออกซินกระตุ้นให้มีการสร้าง RNA คือ การใช้นิวเคลียส หรือโครมาติน
เลี้ยงไว้ในสารที่เป็นสารเริ่มต้นของ RNA เช่น ATP CTP GTP และ UTP ซึ่งสารเริ่มต้นเหล่านี้จะมีสาร
กัมมันตรังสีปรากฏอยู่ด้วย RNA ที่เกิดขึ้นมาใหม่จะมีสารกัมมันตรังสีด้วย ซึ่งการที่จะเกิด RNA ใหม่ขึ้นได้นี้
เซลล์จะต้องได้รับออกซินก่อนที่นิวเคลียสหรือโครมาตินจะถูกแยกออกจากเซลล์เท่านั้น ซึ่งแสดงให้เห็นว่าออก
ซินไปกระตุ้นการสังเคราะห์ RNA
ดังนั้นจึงเป็นที่ชัดเจนว่าออกซินมีผลต่อระดับเอนไซม์ โดยผ่านทางการสังเคราะห์ RNA นอกจากนั้น
ออกซินยังมีผลกระทบต่อกิจกรรมของเอนไซม์โดยตรง เช่น การกระตุ้นให้เอนไซม์เกิดกิจกรรมหรือเปลี่ยนรูป
มาอยู่ในรูปที่มีกิจกรรมได้ แต่ไม่ว่าออกซินจะมีผลกระทบต่อเอนไซม์แบบใดก็ตาม นักวิทยาศาสตร์ได้มุ่งความ
12
1
สนใจไปสู่เอนไซม์ที่สัมพันธ์กับกระบวนการขยายตัวของเซลล์ เซลล์พืชจะมีผนังเซลล์อยู่ข้างนอกสุด ดังนั้น
การเจริญของเซลล์จะเกิดขึ้นได้เมื่อคุณสมบัติของผนังเซลล์เปลี่ยนไปในทางที่ก่อให้เกิดการขยายตัวของโป
รโตพลาสต์ จากความจริงดังกล่าวการศึกษาทางด้านนี้จึงมุ่งไปสู่ผลกระทบของออกซินต่อคุณสมบัติของผนัง
เซลล์
เซลล์พืชทุกชนิดที่ผ่านขั้นตอนของเนื้อเยื่อเจริญมาแล้วจะผ่านขั้นตอนการเจริญเติบโต 2 ขั้นคือ การ
แบ่งเซลล์และการขยายตัวแวคคิวโอขึ้นภายในเซลล์ (Vacuolation) ในการศึกษาการเจริญเติบโตของโคลีออพ
ไทล์ของข้าวโอ๊ต พบว่าการแบ่งเซลล์จะหยุดเมื่อมีความยาว 10 มิลลิเมตร การเจริญเติบโตที่เกิดขึ้นหลังจากนั้น
จะเนื่องมาจากการขยายขนาดของเซลล์ ดังนั้นในการศึกษาถึงผลกระทบของออกซินต่อการเจริญเติบโตของพืช
จึงเน้นไปที่ผลต่อการขยายตัวของเซลล์ ในระหว่างการขยายขนาดของเซลล์เพราะการขยายตัวของแวคคิว
โอ หรืออาจจะเกิดช่องว่างภายในเซลล์ขึ้น ที่ผนังเซลล์จะเกิดการยืดตัวชนิดที่ไม่สามารถหดได้อีก มีการ
ทดลองหลายการทดลองสนับสนุนว่าออกซินเพิ่มการยืดตัวของผนังเซลล์ (Plasticity)
ในระหว่างการขยายตัวของเซลล์นั้น ไม่เพียงแต่ผนังเซลล์ยืดตัวเท่านั้น แต่ยังมีการเพิ่มความหนาของ
ผนังเซลล์เพราะมีสารใหม่ ๆ ไปเกาะด้วย ซึ่งการเจริญดังกล่าวนี้ก็เป็นผลจากการกระตุ้นของออกซิน ซึ่งจะ
เกิดขึ้นเมื่อการยืดตัวของเซลล์หยุดลงแล้ว
จากที่ได้กล่าวแล้วว่าผนังเซลล์ประกอบด้วยเซลล์ลูโลสไมโครไฟบริลฝังตัวอยู่ในส่วนที่เป็นแมททริกซ์
(Matrix) และโปรตีน ดังนั้นถ้าพิจารณาดูผนังเซลล์จะมีลักษณะเหมือนคอนกรีตเสริมเหล็กโดยเซลลูโลสจะเป็น
ส่วนของเหล็ก โมเลกุลของเซลลูโลสยึดติดกันด้วยแขนไฮโดรเจน (Hydrogen bond) ในขณะที่ส่วนของแมทท
ริกซ์เกาะกันด้วยแขนโควาเลนท์ (Covalent bond) และในเนื้อเยื่อใบเลี้ยงของพืชใบเลี้ยงคู่ เซลลูโลสเกาะอยู่
กับแมททริกซ์โดยแขนไฮโดรเจน ดังนั้นการที่ออกซินจะทาให้เซลล์ยืดตัวนั้นต้องทาลายแขนเหล่านี้
เสียก่อน ในปัจจุบันเป็นที่ทราบกันแล้วว่าแม้ว่าการขยายตัวของเซลล์เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์โปรตีนและ
RNA รวมทั้งพลังงานจากการหายใจก็ตาม แต่ถ้าให้ออกซินจากภายนอกต่อลาต้นหรือโคลีออพไทล์อัตราการ
เจริญเติบโตจะเพิ่มขึ้นหลังจากระยะเวลา "lag" เพียง 2-3 นาทีเท่านั้น ซึ่งเป็นไปไม่ได้ที่การเจริญเติบโตถูกเร่ง
โดยการเปลี่ยนอัตราของการ Transcription และ Translation แต่ดูเหมือนว่าออกซินจะไปมีผลต่อระบบที่ปรากฏ
อยู่ในพืชแล้ว (Pre-formed System) ดังนั้นจากเหตุผลข้างต้น การทาลายการเกาะกันของโครงสร้างของผนัง
13
1
เซลล์จะไม่เกี่ยวข้องกับเอนไซม์
ในการทดลองต่อมานักวิทยาศาสตร์ได้นาเอาโคลีออพไทล์หรือลาต้นที่ไม่ได้รับแสงไปแช่ลงใน
สภาพที่มี pH ประมาณ 3 ปรากฏว่าโคลีออพไทล์และลาต้นสามารถยืดตัวได้ และเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า "Acid
Growth Effect" ซึ่งให้ผลเหมือนกับการให้ออกซินแก่พืช การทดลองนี้ได้นาไปสู่การศึกษาที่แสดงว่า ออกซิ
นกระตุ้นการปลดปล่อย H+
หรือโปรตอนจากเนื้อเยื่อ ทาให้ pH ของผนังเซลล์ต่าลง ซึ่งการปลดปล่อย H+
นี้
ต้องใช้พลังงานจากการหายใจด้วย สมมุติฐานเกี่ยวกับ "Proton-Pump" นี้ คาดว่าเกิดในเยื่อหุ้มเซลล์
ในการยอมรับปรากฏการณ์ข้างต้นว่าเป็นการทางานของออกซินในการกระตุ้นอัตราการ
เจริญเติบโตของพืช ต้องสามารถอธิบายเหตุผลว่าออกซินกระตุ้นการปลดปล่อย H+
ได้อย่างไรหรือทาไมการ
สังเคราะห์โปรตีนและ RNA จึงจาเป็นต่อการยืดตัวของเซลล์ และการเปลี่ยน pH ทาให้คุณสมบัติของผนังเซลล์
เปลี่ยนไปได้อย่างไร
คาตอบว่าออกซินกระตุ้นการปลดปล่อย H+
อย่างไรนั้น ยังไม่ทราบแน่ชัด ยังต้องมีการทดลอง
อีกมากเพื่ออธิบาย การเจริญของเซลล์ต้องการ RNA และโปรตีนในช่วงที่เซลล์ยืดตัว เพราะในการยืดตัวของ
เซลล์นั้นผนังเซลล์ไม่ได้บางลงไป แต่ยังคงหนาเท่าเดิมหรือหนาขึ้น ดังนั้นจึงต้องมีการสร้างผนังเซลล์เพิ่มขึ้น
ด้วย ในการสร้างผนังเซลล์นั้นต้องใช้เอนไซม์และ RNA pH ต่ามีผลต่อการเปลี่ยนคุณสมบัติของผนังเซลล์ใน
แง่ที่ว่า แขนที่เกาะกันของผนังเซลล์นั้นอาจจะถูกทาลายในสภาพที่ pH ต่า หรืออาจจะเป็น pH ที่เหมาะสม
สาหรับเอนไซม์ ที่จะทาให้ผนังเซลล์เปลี่ยนไป
การตอบสนองของพืชต่อออกซิน
1. การตอบสนองในระดับเซลล์ ออกซินทาให้เกิดการขยายตัวของเซลล์ (Cell enlargement) เช่น ทาให้
เกิดการขยายตัวของใบ ทาให้ผลเจริญเติบโต เช่น กรณีของสตรอเบอรี่ ถ้าหากกาจัดแหล่งของออกซิน ซึ่งคือ
ส่วนของเมล็ดที่อยู่ภายนอกของผล (ผลแห้งแบบ Achene) จะทาให้เนื้อเยื่อของผลบริเวณที่ไม่มีเมล็ดรอบนอก
ไม่เจริญเติบโต ออกซินทาให้เกิดการแบ่งเซลล์ได้ในบางกรณี เช่น กระตุ้นการแบ่งเซลล์ของแคมเบียมและก
ระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพ เช่น กระตุ้นให้เกิดท่อน้าและท่ออาหาร กระตุ้นให้เกิดรากจากการปัก
ชาพืช เช่น การใช้ IBA ในการเร่งรากของกิ่งชา แล้วยังกระตุ้นให้เกิดแคลลัส (Callus) ในการเพาะเลี้ยง
เนื้อเยื่อ แต่การตอบสนองในระดับเซลล์ที่เกิดเสมอคือ การขยายตัวของเซลล์
14
1
2. การตอบสนองของอวัยวะหรือพืชทั้งต้น
2.1 เกี่ยวข้องกับการตอบสนองของพืชต่อแสง (Phototropism) Geotropism ดังได้กล่าวมาแล้ว
2.2 การที่ตายอดข่มไม่ให้ตาข้างเจริญเติบโต (Apical Dominance)
2.3 การติดผล เช่น กรณีของมะเขือเทศ ออกซินในรูปของ 4 CPA จะเร่งให้เกิดผลแบบ
Pathenocarpic และในเงาะถ้าใช้ NAA 4.5 เปอร์เซ็นต์ จะเร่งการเจริญของเกสรตัวผู้ทาให้สามารถผสมกับเกสร
ตัวเมียได้ ในดอกที่ได้รับ NAA เกสรตัวเมียจะไม่เจริญเพราะได้รับ NAA ที่มีความเข้มข้นสูงเกินไป แต่เกสรตัว
ผู้ยังเจริญได้ ทาให้การติดผลเกิดมากขึ้น
2.4 ป้องกันการร่วงของผลโดยออกซินจะยับยั้งไม่ให้เกิด Abcission layer ขึ้นมา เช่น การใช้ 2,
4-D ป้องกันผลส้มไม่ให้ร่วง หรือ NAA สามารถป้องกันการร่วงของผลมะม่วง
2.5 ป้องกันการร่วงของใบ
2.6ในบางกรณีออกซินสามารถทาให้สัดส่วนของดอกตัวเมีย และตัวผู้เปลี่ยนไปโดยออกซิน
จะกระตุ้นให้มีดอกตัวเมียมากขึ้น
15
1
บทที่ 3 การดาเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. กระถางต้นไม้และที่รอง : สาหรับใส่ต้นมะกรูดจานวน 9 ชุด
2. ต้นมะกรูด : ต้นมะกรูด ประมาณ 26 นิ้ว จานวน 9 ต้น
3. ขวดสเปรย์( Foggy ) จานวน 3 ขวด
4. ดินปลูกต้นไม้
5. ป้ายพลาสติก : ป้ายสาหรับใส่รายละเอียดของการทดลองของต้นไม้แต่ละกลุ่มทดลองจานวน 3 แผ่น
ป้าย
6. วัสดุรองก้น : ใบไม้แห้ง และ ก้อนกรวด
7. ฮอร์โมนออกซิน
8. กระบอกฉีดยา ( Syringe) : สาหรับการผสมฮอร์โมนให้ได้ในปริมาณที่ต้องการ
9. กระบอกตวง
10. ไหมพรม : สาหรับผูกยอดของต้นมะกรูดที่แตกออกมาระหว่างการทดลองเพื่อบันทึกผลการทดลอง
11. น้า
12. สมุดบันทึก
ขั้นตอนการทาโครงงาน
1. ประชุมวางแผนคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ ซึ่งคือ การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อส่วนยอด
ของต้นมะกรูด
2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานดังนี้
2.1. ต้นมะกรูด
2.2. ฮอร์โมนออกซิน
3. วางแผนรายละเอียดการทดลอง คือ เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของต้นมะกรูดที่ได้รับปริมาณออกซินที่
แตกต่างกัน
4. หาสถานที่ที่ใช้ในการทาทดลอง
16
5. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทาการทดลองเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของต้นมะกรูดที่ได้รับปริมาณออก
ซินที่แตกต่างกัน
5.1. กระถางต้นไม้และที่รอง : สาหรับใส่ต้นมะกรูดจานวน 9 ชุด
5.2. ต้นมะกรูด : ต้นมะกรูด ประมาณ 26 นิ้ว จานวน 9 ต้น
5.3. ขวดสเปรย์( Foggy ) จานวน 3 ขวด
5.4. ดินปลูกต้นไม้
5.5. ป้ายพลาสติก : ป้ายสาหรับใส่รายละเอียดของการทดลองของต้นไม้แต่ละกลุ่มทดลองจานวน 3 แผ่น
ป้าย
5.6. วัสดุรองก้น : ใบไม้แห้ง และ ก้อนกรวด
5.7. ฮอร์โมนออกซิน
5.8. กระบอกฉีดยา ( Syringe) : สาหรับการผสมฮอร์โมนให้ได้ในปริมาณที่ต้องการ
5.9. กระบอกตวง
5.10.ไหมพรม : สาหรับผูกยอดของต้นมะกรูดที่แตกออกมาระหว่างการทดลองเพื่อบันทึกผลการทดลอง
5.11.น้า
5.12.สมุดบันทึก
6. ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง
6.1. นาต้นมะกรูดลงปลูกใน ดิน และ กระถาง ที่จัดเตรียมไว้
6.2. แบ่งต้นมะกรูดออกเป็น 3กลุ่มการทดลอง กลุ่มการทดลองละ 3ต้น คือ
6.2.1.กลุ่มที่ไม่ได้ได้รับฮอร์โมนออกซิโทนซิน หรือกลุ่มควบคุม (Control dose 0 %w/w)
6.2.2.กลุ่มที่ได้รับฮอร์โมนออกซิโทนซิน ความเข้มข้นน้อย (Low dose 0.6 %w/w)
6.2.3.กลุ่มที่ได้รับฮอร์โมนออกซิโทนซิน ความเข้มข้นมาก (High dose 4.5 %w/w)
6.3. ใช้กระบอกฉีดยาดูดออกซิโทซินจากขวดไปใส่ใน ขวดสเปรย์ และผสมน้าให้ได้ความเข้มข้นตามที่ต้องการจากนั้นติด
ป้ายกากับข้อมูล ความเข้มข้นไว้บนขวดสเปรย์ แต่ละขวด
6.4. ฉีดพ่น ฮอร์โมน ตามกลุ่มการทดลองที่กาหนดไว้
6.5. รดน้า และ พ่นฮอร์โมนตามวันเวลาที่กาหนด ตลอดระยะเวลาการทดลอง
6.6. สังเกตยอดของต้นมะกรูดที่แตกออกมาใหม่หลังจากเริ่มทาการทดลอง นาเชือกไปผูกระบุตาแหน่งไว้ และบันทึกผล
การทดลองที่ได้
17
7. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เป็นระยะ
8. จัดทาเอกสารเป็นรูปเล่มโครงงานให้สมบูรณ์
9. จัดทาสื่ออภิปรายแสดงผลการทดลอง
10. นาเสนอโครงงาน
18
บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
วันที่สังเกต
ผล/จานวน
ยอดที่เพิ่ม
กลุ่ม High dose (4.5 %v/v) กลุ่ม Low dose (0.6 %v/v) กลุ่ม Control (0 %v/v) ผู้บันทึก
กระถาง
ที่1
กระถาง
ที่2
กระถาง
ที่3
กระถาง
ที่1
กระถาง
ที่2
กระถาง
ที่3
กระถาง
ที่1
กระถาง
ที่2
กระถาง
ที่3
สังเกตผลครั้ง
ที่1
(ไหมพรมสี
ดา)
12 มิ.ย. 2560
0 ยอด 0 ยอด 0 ยอด 0 ยอด 0 ยอด 0 ยอด 0 ยอด 0 ยอด 0 ยอด รตา
สังเกตผลครั้ง
ที่2
(ไหมพรมสี
แดง)
26 มิ.ย. 2560
0 ยอด 3 ยอด 2 ยอด 1 ยอด 0 ยอด - (ตาย) 0 ยอด 0 ยอด 0 ยอด ศิริพิชญ์
สังเกตผลครั้ง
ที่3
(ไหมพรมสี
เหลือง)
10 ก.ค. 2560
2 ยอด 0 ยอด 0 ยอด 1 ยอด 0 ยอด - 0 ยอด 0 ยอด 0 ยอด ภูลม
สังเกตผลครั้ง
ที่4
(ไหมพรมสี
ฟ้า)
24 ก.ค. 2560
0 ยอด 1 ยอด 0 ยอด 0 ยอด 0 ยอด - 1 ยอด 0 ยอด 0 ยอด คีตบดินทร์
รวม 2 ยอด 4 ยอด 2 ยอด 2 ยอด 0 ยอด - 1 ยอด 0 ยอด 0 ยอด
เฉลี่ย ประมาณ 3 ยอด ประมาณ 1 ยอด ประมาณ 0 ยอด
หมายเหตุ : สีไหมพรมที่ใช้ผูกในแต่ละครั้งเป็น ‘marker’ เพื่อให้การสังเกตผลสามารถทาได้ง่ายขึ้น
19
กราฟแท่งแสดงผลการทดลอง
วิเคราะห์ผลการทดลอง
จากผลการทดลองชุด high dose มีจานวนยอดเฉลี่ยเยอะที่สุดรองลงมาเป็น ชุด low dose และน้อยที่สุดเป็น
ชุดควบคุม ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า ฮอร์โมนauxinมีผลกระตุ้นการแตกยอดของต้นมะกรูด โดยถ้าความเข้มข้นของ
ฮอร์โมน auxin เยอะจะยิ่งทาให้ต้นมะกรูดแตกยอดเยอะ
กลุ่ม High dose กลุ่ม Low dose กลุ่ม Control dose
0
0.5
1
1.5
2
2.5
3
Series 1
Series 2
Series 3
20
บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
สรุปผลการทดลอง
จากการสังเกตผลการเปรียบเทียบจานวนยอดอ่อนที่แตกออกมาของต้นมะกรูดทั้ง 3 กลุ่ม ซึ่งได้แก่ กลุ่ม
high dose กลุ่ม low dose และกลุ่ม control พบว่าตลอดช่วงเวลา ที่ได้ทาการสังเกตและบันทึกผลการทดลองมา
อย่างต่อเนื่องนั้น พืชกลุ่ม high dose มีจานวนยอดอ่อนแตกออกมามากที่สุด เป็นเพราะได้รับฮอร์โมนออกซินก
ระตุ้นในปริมาณมากที่สุด ส่วนในกลุ่ม low dose มีจานวนยอดอ่อนแตกออกมารองลงมาจากพืชกลุ่ม high dose
เนื่องจากได้รับฮอร์โมนออกซินกระตุ้นในปริมาณรองลงมา และในพืชกลุ่ม control แทบไม่มียอดอ่อนแตก
ออกมาเลย เพราะไม่มีฮอร์โมนออกซินช่วนกระตุ้น ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า ฮอร์โมนออกซินนั้นมีผลต่อพืชในการ
กระตุ้นการเจริญเติบโตช่วยชักนาการยืดขยายเซลล์เนื้อเยื่อหุ้มยอดแรกเกิด และเร่งการเติบโตของพืชในส่วน
ยอดได้อีกด้วย
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
ในการทาโครงงานครั้งนี้ได้พบกับอุปสรรคเล็กน้อยในระหว่างการดาเนินงาน ดังนี้ เริ่มจากในช่วง
ขั้นตอนที่ดาเนินการซื้ออุปกรณ์ที่ต้องใช้ ตอนแรกมีเป้าหมายทดลองเกี่ยวกับฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน แต่เกิด
ปัญหาคือไม่สามารถหาซื้อฮอร์โมนจิบเบอเรลลินได้ จึงแก้ปัญหาโดยการเปลี่ยนชินฮอร์โมนเป้าหมายเป็นออก
ซินแทน อีกปัญหาหนึ่งคือ ต้นมะกรูดที่ซื้อมาบางต้นเริ่มเหี่ยวตั้งแต่วันแรกๆ จึงได้แก้ปัญหาโดยการเปลี่ยน
ตาแหน่งวางกระถางให้อยู่ในที่ที่โดนแสงอาทิตย์มากขึ้น และทาการรดน้าให้บ่อยขึ้น และยังมีปัญหาที่เกิด
เกี่ยวกับต้นไม้อีกคือ มีต้นไม้ตายระหว่างการทางาน และมีศัตรูพืชมากินใบอ่อนที่งอกใหม่ แต่ปัญหาพวกนี้เป็น
เรื่องปกติของต้นไม้จึงปล่อยให้ทุกอย่างเป็นไปตามธรรมชาติแบบที่มันควรจะเป็น
จากปัญหาที่พบในการทาโครงงานครั้งนี้ ทาให้เรารู้ว่าสิ่งใดควรทาต่อไปหรือสิ่งใดควรหลีกเลี่ยง และ
สามารถนาไปต่อยอดในการทาโครงงานครั้งถัดไปได้ โดยก่อนที่จะตัดสินใจทาโครงงานเรื่องอะไร ให้วางแผน
และศึกษาข้อมูลให้ดีก่อนว่าเกินความสามารถที่มีอยู่หรือไม่ และเมื่อเลือกอุปกรณ์ในการทาการทดลอง ให้เลือก
ซื้อจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ และตรวจสอบคุณภาพของอุปกรณ์ให้ดีก่อนซื้อ เพื่อที่จะได้ไม่เกิดปัญหาในภายหลัง
21
บรรณานุกรม
ฮอร์โมนพืช. 2554. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา :
http://web.agri.cmu.ac.th/hort/course/359311/PPHY10_hormone.htm. [10 กรกฎาคม 2560].
ออกซิน (auxin). 2554. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://sites.google.com/site/selllaeakarbaengsell/hnwy-
thi-2-kar-txb- snxng-khxng-phuch-tx-sar-khwbkhum-kar-ceriy-teibto/1-3-xxk-sin-auxin [10 กรกฎาคม
2560].
ประโยชน์ของออกซิน. 2558. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://topicauxin.blogspot.com/p/blog-
page_12.html [13 กรกฎาคม 2560].
สารออกซิน. 2558. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา :
http://www.kasetloongkim.com/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=1816 [13 กรกฎาคม 2560].
ออกซิน . 2559. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา :
http://www.allaboutrose.com/horticultural/physiology/hormone/auxin [13 กรกฎาคม 2560].
เรืองวุฒิ. 2557. [ระบบออนไลน์]. ประโยชน์ของออกซินที่ใช้ในการผลิตพืช. แหล่งที่มา :
http://www.plantmediashop.com/store/article/view/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82
%E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B9%8C%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%
B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8%
B5%E0%B9%88%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%81%E0
%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%9E%E0%B8
%B7%E0%B8%8A-51976-th.html [13 กรกฎาคม 2560].
22
ภาคผนวก
รูปแสดงกลุ่มการทดลองทั้ง 3 กลุ่ม
รูปแสดงการย้ายต้นไม้ลงกระถาง
23
รูปแสดงการตรวจตอดตามฮอร์โมน
รูปแสดงการฉีดฮอร์โมน
24
รูปแสดงการผูกไหมพรมที่ต้นไม้
รูปแสดงอุปสรรคระหว่างการทาโครงงาน : ต้นไม้ตาย
25
รูปแสดงอุปสรรคระหว่างการทาโครงงาน : ศัตรูพืชกัดกินใบไม้
รูปแสดงยอดอ่อนที่งอกใหม่
26
รูปแสดงการออกดอกของต้นมะกรูด
รูปแสดงการออกผลของต้นมะกรูด
27

More Related Content

What's hot

Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
Wichai Likitponrak
 
M6 143 60_6
M6 143 60_6M6 143 60_6
M6 143 60_6
Wichai Likitponrak
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_2
M6 125 60_2M6 125 60_2
M6 125 60_2
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_7
M6 144 60_7M6 144 60_7
M6 144 60_7
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_6
M6 144 60_6M6 144 60_6
M6 144 60_6
Wichai Likitponrak
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
พัน พัน
 
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
Nong Max Z Kamilia
 
M6 144 60_3
M6 144 60_3M6 144 60_3
M6 144 60_3
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_4
M6 144 60_4M6 144 60_4
M6 144 60_4
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
 
M6 143 60_6
M6 143 60_6M6 143 60_6
M6 143 60_6
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลงโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง ขยะหอมไล่แมลง
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
M6 125 60_2
M6 125 60_2M6 125 60_2
M6 125 60_2
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
M6 144 60_7
M6 144 60_7M6 144 60_7
M6 144 60_7
 
M6 144 60_6
M6 144 60_6M6 144 60_6
M6 144 60_6
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
Herbarium group 1 room 341
Herbarium group 1 room 341Herbarium group 1 room 341
Herbarium group 1 room 341
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มดโครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
โครงงานวิทยาศาสตร์เรื่อง เปลือกไข่ไล่มด
 
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
 
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์  58
กิตติกรรมประกาศ บทคัดย่อ โครงงานทดลองวิทยาศาสตร์ 58
 
M6 144 60_3
M6 144 60_3M6 144 60_3
M6 144 60_3
 
M6 144 60_4
M6 144 60_4M6 144 60_4
M6 144 60_4
 
โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์โครงงานวิทยาศาสตร์
โครงงานวิทยาศาสตร์
 

Similar to M6 125 60_7

M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
Wichai Likitponrak
 
M6 126 60_3
M6 126 60_3M6 126 60_3
M6 126 60_3
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
Wichai Likitponrak
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
Wichai Likitponrak
 
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
Wichai Likitponrak
 
M6 126 60_10
M6 126 60_10M6 126 60_10
M6 126 60_10
Wichai Likitponrak
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
Anana Anana
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
Wichai Likitponrak
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
Kaka619
 
Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
Wichai Likitponrak
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
Nick Nook
 
M6 143 60_7
M6 143 60_7M6 143 60_7
M6 143 60_7
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 9_77_60
Plant hor 9_77_60Plant hor 9_77_60
Plant hor 9_77_60
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60
Wichai Likitponrak
 

Similar to M6 125 60_7 (20)

M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
 
M6 126 60_3
M6 126 60_3M6 126 60_3
M6 126 60_3
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
 
M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
4 plantrespo plan
4 plantrespo plan4 plantrespo plan
4 plantrespo plan
 
M6 126 60_10
M6 126 60_10M6 126 60_10
M6 126 60_10
 
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืชสารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
สารควบคุมการเจริญเติบโตของพืช
 
Photosynthesis process
Photosynthesis processPhotosynthesis process
Photosynthesis process
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
M6 143 60_7
M6 143 60_7M6 143 60_7
M6 143 60_7
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
Plant hor 9_77_60
Plant hor 9_77_60Plant hor 9_77_60
Plant hor 9_77_60
 
Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60
 

More from Wichai Likitponrak

Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 
Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61
 

M6 125 60_7

  • 1. โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อส่วนยอดของต้นมะกรูด นาเสนอครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. น.ส.รตา พูลทวีเกียรติ์ เลขที่ 15 2. น.ส.ศิริพิชญ์ จินดามพร เลขที่ 19 3. น.ส.อาลักษยา จินตวลากร เลขที่ 25 4. นายคีตบดินทร์ เจนณะสมบัติ เลขที่ 28 5. นายภูลม กาญจนางกูรพันธุ์ เลขที่ 39 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 2. คานา โครงงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา 5 (ว30245) จัดทาขึ้นเพื่อศึกษาความเข้มข้นของ ฮอร์โมนออกซินที่เหมาะสมต่อการงอกส่วนยอดของต้นมะกรูด เนื่องจากต้นมะกรูดเป็นพืชที่มีความสาคัญต่อ วิถีชีวิตของคนไทยอย่างมากโดยเฉพาะการประกอบอาหาร เช่นน้ามะกรูดมีรสเปรี้ยวสามารถใช้ปรุงรสเปรี้ยว แทนมะนาวได้ส่วนเปลือกของมะกรูดนิยมนาผิวมาประกอบอาหารเนื่องจากมีกลิ่นหอม และภูมิปัญญาชาวบ้าน ที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากคือแชมพูมะกรูดนั่นเอง นอกจากนี้ฮอร์โมนออกซินเป็นฮอร์โมนพืชที่กระตุ้นการ เจริญเติบโต ชักนาการยืดขยายเซลล์ลาต้นและเนื้อเยื่อหุ้มยอดแรกเกิดเร่งการเติบโตของพืชทั้งในส่วนรากและ ลาต้นยอด คณะผู้จัดทาจึงเลือกฮอร์โมนออกซินที่ความเข้มข้นแตกต่างกันมาทดลองกับต้นมะกรูด โดยศึกษา ความเข้มข้นที่เหมาะสมจากจานวนยอดที่เกิดใหม่ของยอดต้นมะกรูด โดยแบ่งเป็น 3 ชุดการทดลองได้แก่ low dose ชุดควบคุม และhigh dose และบันทึกผลการทดลองอย่างต่อเนื่อง คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่าโครงงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์แก่ผู้ที่ศึกษาไม่มากก็น้อยหากผิดพลาด ประการใดคณะผู้จัดทาต้องขออภัยไว้ณ ที่นี้ด้วย คณะผู้จัดทา
  • 3. บทคัดย่อ ต้นมะกรูดเป็นพืชที่มีความสาคัญต่อวิถีชีวิตของคนไทยอย่างมากโดยเฉพาะการประกอบอาหาร เช่นน้า มะกรูดมีรสเปรี้ยวสามารถใช้ปรุงรสเปรี้ยวแทนมะนาวได้ ส่วนเปลือกของมะกรูดนิยมนาผิวมาประกอบอาหาร เนื่องจากมีกลิ่นหอม และภูมิปัญญาชาวบ้านที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากคือแชมพูมะกรูดนั่นเอง นอกจากนี้ฮอร์โมนออกซินเป็นฮอร์โมนพืชที่กระตุ้นการเจริญเติบโต ชักนาการยืดขยายเซลล์ลาต้นและ เนื้อเยื่อหุ้มยอดแรกเกิดเร่งการเติบโตของพืชทั้งในส่วนรากและลาต้นยอด คณะผู้จัดทาจึงเลือกฮอร์โมนออกซิ นที่ความเข้มข้นแตกต่างกันมาทดลองกับต้นมะกรูด โดยศึกษาความเข้มข้นที่เหมาะสมจากจานวนยอดที่เกิด ใหม่ของยอดต้นมะกรูด โดยแบ่งเป็น 3 ชุดการทดลองได้แก่ low dose ชุดควบคุม และhigh dose และบันทึกผล การทดลองอย่างต่อเนื่อง จากการทดลองพบว่าพืชกลุ่ม high dose มีจานวนยอดอ่อนแตกออกมามากที่สุด ส่วนในกลุ่ม low dose มีจานวนยอดอ่อนแตกออกมารองลงมา และในพืชกลุ่ม control แทบไม่มียอดอ่อนแตกออกมาเลย ดังนั้น จึง สรุปได้ว่า ฮอร์โมนออกซินนั้นมีผลต่อพืชในการกระตุ้นการเจริญเติบโตช่วยชักนาการยืดขยายเซลล์เนื้อเยื่อหุ้ม ยอดแรกเกิด และเร่งการเติบโตของพืชในส่วนยอดได้อีกด้วย
  • 4. กิตติกรรมประกาศ โครงงานเรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อส่วนยอดของต้นมะกรูด จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้า ไม่ได้รับการช่วยเหลือจากครูที่ปรึกษาโครงงาน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ครูประจาวิชา ที่ช่วยให้คาปรึกษา ช่วย แก้ไขปัญหาต่างๆ เกี่ยวกับโครงงาน ตลอดจนแนะนาแนวทางในการทาโครงงาน ขอขอบคุณบิดามารดา ผู้ปกครอง คุณครู และเพื่อนๆร่วมห้อง ที่ให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ และให้ กาลังใจตลอดมา คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา
  • 5. สารบัญ หน้า บทที่ 1 บทนา 1 ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1 สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1 อาจารย์ผู้สอน 1 ที่มาและความสาคัญ 1 คาถามการทาโครงงาน 2 สมมติฐานการทดลอง 2 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 2 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 2 ขอบเขตของโครงงาน 2 ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง 2 ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน 2 วิธีการเก็บข้อมูล 3 วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล 4 บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 5 เนื้อหาเกี่ยวกับต้นไม้ที่เลือกมาใช้ 5 เนื้อหาเกี่ยวกับฮอร์โมนที่เลือกใช้ 7 บทที่ 3 การดาเนินงาน 16 วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 16 ขั้นตอนการทาโครงงาน 16 บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง 19 ตารางบันทึกผลการทดลอง 19 กราฟแท่งแสดงผลการทดลอง 19 วิเคราะห์ผลการทดลอง 20 บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม 21
  • 7. บทที่ 1 บทนา ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อจานวนยอดของต้นมะกรูด สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1.น.ส.รตา พูลทวีเกียรติ์ เลขที่ 15 2.น.ส.ศิริพิชญ์ จินดามพร เลขที่ 19 3.น.ส.อาลักษยา จินตวลากร เลขที่ 25 4.นายคีตบดินทร์ เจนณะสมบัติ เลขที่ 28 5.นายภูลม กาญจนางกูรพันธุ์ เลขที่ 39 นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อาจารย์ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่มาและความสาคัญ เนื่องจากต้นมะกรูดเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็กที่มีความสาคัญต่อวิถีชีวิตของคนไทยอย่างมากโดยเฉพาะ การประกอบอาหาร น้ามะกรูดมีรสเปรี้ยวสามารถใช้ปรุงรสเปรี้ยวแทนมะนาวได้เช่น น้าพริกปลาร้า น้าพริก มะกรูด ส่วนเปลือกของมะกรูดนิยมนาผิวมาประกอบอาหารบางชนิดด้วยเพราะในมะกรูดมีน้ามันหอมระเหยอยู่ มากจึงใส่ในต้มยา แกงเผ็ด และแกงเทโพ โดยภูมิปัญญาชาวบ้านสมัยก่อนที่มีชื่อเสียงโด่งดังมากคือการใช้ มะกรูดคั้นมาเป็นยาสระผมช่วยให้ผมนุ่มสลวยและดกดาได้อีกด้วย นอกจากนี้ฮอร์โมนออกซินเป็นฮอร์โมนพืชที่กระตุ้นการเจริญเติบโต ทาให้มีการแบ่งเซลล์และยืดตัว ของเซลล์ ชักนาการยืดขยายเซลล์ลาต้นและเนื้อเยื่อหุ้มยอดแรกเกิดเร่งการเติบโตของพืชทั้งในส่วนรากและลา ต้นยอด คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่ มีต่อส่วนยอดของต้นมะกรูด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความเข้มข้นที่เหมาะสมที่ทาให้ได้ยอดที่เกิดใหม่มาก ที่สุด คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมีประโยชน์ต่อ การศึกษาและเกษตรกรรมในอนาคตต่อไป 1
  • 8. คาถามการทาโครงงาน สารละลายฮอร์โมนฮอร์โมนที่ความเข้มข้นใดจะส่งผลให้ต้นมะกรูดมีจานวนยอดที่เกิดใหม่มากที่สุด สมมติฐานการทดลอง ถ้าฮอร์โมนออกซินที่มีความเข้มข้น 4.5% โดยปริมาตร มีผลต่อยอดอ่อนเจริญดีที่สุด ดังนั้น สารละลาย ฮอร์โมน ออกซินที่มีความเข้มข้น 4.5% โดยปริมาตร จะทาให้ยอดอ่อนมี จานวนยอดอ่อนมากที่สุด วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อศึกษากลไกการทางานของฮอร์โมนออกซิน 2. เพื่อเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของต้นมะกรูดที่ได้รับปริมาณออกซินที่แตกต่างกัน ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องกลไกการทางานของฮอร์โมนออกซินต่อพืช 2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของต้นมะกรูดที่ได้รับปริมาณออกซินที่แตกต่างกัน 3. เป็นการส่งเสริมการเรียนรู้เกี่ยวกับการทางานฮอร์โมนพืช การเปลี่ยนแปลงของพืชที่เกิดจากฮอร์โมน ขอบเขตของโครงงาน การทาโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะกลไกการทางานของฮอร์โมนออกซินที่ มีผลต่อต้นมะกรูด ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นฮอร์โมนออกซินที่ต้นมะกรูดได้รับ ตัวแปรตาม คือ จานวนยอดที่แตกออกมาใหม่ของต้นมะกรูด ตัวแปรควบคุม คือ สายพันธุ์ และ อายุของต้นมะกรูด, ปริมาณน้า ดิน แร่ธาตุ อากาศ และแสง สว่างที่ต้นมะกรูดได้รับ ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน ช่วงวันที่ 12 มิถุนายน 2560 ถึงวันที่ 3 กรกฎาคม 2560 2
  • 10. เก็บข้อมูลครั้งที่ 3 ใช้ไหมพรมสีเหลือง เก็บข้อมูลครั้งที่ 4 ใช้ไหมพรมสีฟ้า วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล การหาความสัมพันธ์ระหว่างความเข้มข้นของฮอร์โมนออกซินกับจานวนยอดที่เกิดใหม่ในรูปแบบ กราฟแท่ง 4
  • 11. บทที่ 2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1. เนื้อหาเกี่ยวกับต้นไม้ที่เลือกมาใช้ ต้นมะกรูด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Citrus x hystrix L. ชื่อสามัญ : Leech lime, Mauritus papeda ชื่ออื่น : มะขุน, มะขูด (ภาคเหนือ), มะขู (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), ส้มกรูด, ส้มมั่วผี (ภาคใต้) อยู่ในอาณาจักรพืช (Plantae) ชั้น Magnoliopsida อันดับ Sapindales วงศ์ Rutaceae สกุล Citrus ซึ่งเป็น สกุลเดียวกับส้ม มีถิ่นกาเนิดในประเทศลาว อินโดนีเซีย มาเลเซีย และไทย ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิยมใช้ ใบมะกรูดและผิวมะกรูดเป็นส่วนหนึ่งของเครื่องปรุงอาหารหลายชนิด ลักษณะทางพันธุ์ศาสตร์ มะกรูดเป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก เป็นไม้เนื้อแข็ง ลาต้นและกิ่งมีหนามยาวเล็กน้อย ใบเป็นใบประกอบชนิดลดรูป มีใบย่อย 1 ใบ เรียงสลับ รูปไข่ คือมีลักษณะคล้ายกับใบไม้ 2 ใบ ต่อกันอยู่ คอดกิ่วที่กลางใบเป็นตอนๆ มีก้านแผ่ออกใหญ่เท่ากับแผ่นใบ ทาให้เห็นใบเป็น 2 ตอน กว้าง 2.5-4 เซนติเมตร ยาว 4-7 เซนติเมตร ใบสีเขียวแก่พื้นผิวใบเรียบเกลี้ยง เป็นมัน ค่อนข้างหนา มี 5
  • 12. กลิ่นหอมมากเพราะมีต่อมน้ามันอยู่ ซึ่งผลแบบนี้เรียกว่า hesperitium (ผลแบบส้ม) ใบด้านบนสีเข้ม ใต้ใบสีอ่อน ดอก ออกเป็นกระจุก 3 – 5 ดอก กลีบดอกสีขาว เกสรสีเหลือง ร่วงง่าย มีกลิ่นหอม มีผลสีเขียวเข้มคล้ายมะนาวผิวเปลือกนอกขรุขระ ขั้วหัวท้ายของผลเป็นจุก ผลอ่อนมีเป็นสีเขียวแก่ เมื่อผลสุกจะเปลี่ยนเป็นสีเหลืองสด พันธุ์ที่มีผลเล็ก ผิวจะขรุขระน้อยกว่าและ ไม่มีจุกที่ขั้ว ภายในมีเมล็ดจานวนมาก สรรพคุณ ราก - กระทุ้งพิษ แก้ฝีภายในและแก้เสมหะเป็นพิษ ใบ - มีน้ามันหอมระเหย ผล, น้าคั้นจากผิว - ใช้แต่งกลิ่น สระผมรักษาชันนะตุ รังแค ทาให้ผมสะอาด ผิว - ปรุงเป็นยาขับลมในลาไส้ แก้แน่น - เป็นยาบารุงหัวใจ 2. เนื้อหาเกี่ยวกับฮอร์โมนที่เลือกใช้ ออกซิน (Auxin) ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับออกซินนั้นเกิดขึ้นจากงานของ Charles Darwin ซึ่งศึกษาเรื่อง Phototropism ซึ่ง พืชจะโค้งงอเข้าหาแสง Darwin ทดลองกับต้นกล้าของ Phalaris canariensis และพบว่าโคลีออพไทล์ ของพืช ชนิดนี้จะตอบสนองต่อการได้รับแสงเพียงด้านเดียวทาให้เกิดการโค้งเข้าหาแสง Darwin สรุปว่า เมื่อต้นกล้า ได้รับแสงจะทาให้มี "อิทธิพล" (Influence) บางอย่างส่งผ่านจากส่วนยอดมายังส่วนล่างของโคลีออพไทล์ ทาให้ เกิดการโค้งงอเข้าหาแสง ซึ่งนักวิทยาศาสตร์รุ่นต่อมาได้ศึกษาถึง "อิทธิพล" ดังกล่าว ต่อมา Boysen-Jensen และ 6
  • 13. Paal ได้ศึกษาและแสดงให้เห็นว่า "อิทธิพล" ดังกล่าวนี้มีสภาพเป็นสารเคมี ซึ่งในสภาพที่โคลีออพไทล์ได้รับ แสงเท่ากันทั้งสองด้าน สารเคมีนี้จะเคลื่อนที่ลงสู่ส่วนล่างของ โคลีออพไทล์ในอัตราเท่ากันทุกด้านและทา หน้าที่เป็นสารกระตุ้นการเจริญเติบโต ในปี ค.ศ.1926 Went ได้ทางานทดลองและสามารถแยกสารชนิดนี้ออก จากโคลีออพไทล์ได้โดยตัดส่วนยอดของโคลีออพไทล์ ของข้าวโอ๊ตแล้ววางลงบนวุ้นจะทาให้สารเคมีที่กระตุ้น การเจริญเติบโตไหลลงสู่วุ้น เมื่อนาวุ้นไปวางลงที่ ด้านหนึ่งของโคลีออพไทล์ที่ไม่มียอดด้านใดด้านหนึ่งจะทา ให้โคลีออพไทล์ดังกล่าวโค้งได้เขาสรุปว่า สารเคมีได้ซึมลงสู่วุ้นแล้วซึมจากวุ้นลงสู่ส่วนของโคลีออพไทล์ วิธีการดังกล่าวนอกจากเป็นวิธีการแรกที่แยกสารเคมีชนิดนี้ได้แล้ว ยังเป็นวิธีการวัดปริมาณของฮอร์โมนได้ด้วย เป็นวิธีที่เรียกว่า Bioassay สารเคมีดังกล่าวได้รับการตั้งชื่อว่า ออกซิน ซึ่งในปัจจุบันพบในพืชชั้นสูงทั่วๆ ไป และมีความสาคัญต่อ การเจริญเติบโตของพืช สังเคราะห์ได้จากส่วนเนื้อเยื่อเจริญของลาต้น ปลายราก ใบอ่อน ดอกและผล และพบ มากที่บริเวณเนื้อเยื่อเจริญ โคลีออพไทด์และคัพภะ รวมทั้งใบที่กาลังเจริญด้วย การสังเคราะห์ออกซิน ในปี ค.ศ.1934ได้พบว่า ออกซินมีลักษณะทางเคมีเป็นสาร Indole-3-acetic acid หรือ เรียกย่อๆ ว่า IAA ซึ่งในปัจจุบันเชื่อว่าเป็นออกซินส่วนใหญ่ที่พบในพืชและในสภาพธรรมชาติ อยู่ในรูป Indole ทั้งสิ้น โดยที่ IAA เป็นสารที่สาคัญที่สุด นอกจากนั้นยังพบในรูปของ Indole-3-acetaldehyde หรือ IAAld Indole-3-Pyruvic acid 7
  • 14. หรือ IPyA และ Indole-3-acetonitrile หรือ IAN ซึ่งสารทั้ง 3 ชนิดนี้สามารถ เปลี่ยนเป็น IAA ได้ พืชสังเคราะห์ ออกซินที่ใบอ่อน จุดกาเนิดของใบและเมล็ดซึ่งกาลังเจริญเติบโต การสังเคราะห์ออกซินนั้น มีกรดอะมิโน L- Tryptophan เป็นสารเริ่มต้น (Precursor) L-Tryptophan เป็นกรดอะมิโนที่มีโครงสร้างของ Indole อยู่ การ สังเคราะห์ออกซิน ซึ่งในการสังเคราะห์ IAA นั้น จะมี IAAld และ IPyA เป็นสารที่พบในระหว่างการสังเคราะห์ ในพืชบางชนิด เช่น ข้าวโอ๊ต ยาสูบ มะเขือเทศ ทานตะวัน และข้าวบาร์เลย์พบว่า Tryptophan สามารถ เปลี่ยนเป็น Tryptamineได้ในพืชตระกูลกะหล่า Tryptamine อาจจะเปลี่ยนไปเป็น Indoleacetaldoxime แล้ว เปลี่ยนไปเป็น IAN แล้วจึงเปลี่ยนเป็นIAA การศึกษาเรื่องการสังเคราะห์ออกซินมักศึกษาจากเนื้อเยื่อปลายรากหรือปลายยอด และพบว่า IAA นี้ สังเคราะห์ได้ทั้งในส่วนไซโตซอล (Cytosol) ไมโตคอนเดรีย และคลอโรพลาสต์ ในการศึกษาในปัจจุบันพบว่า Phenyl acetic acid หรือ PAA มีคุณสมบัติของออกซินด้วย และสามารถสังเคราะห์ได้จาก L-Phenylalanine โดย พบในคลอโรพลาสต์ และไมโตคอนเดรียของทานตะวัน สารสังเคราะห์ที่มีคุณสมบัติของออกซินมีหลายชนิดที่สาคัญทางการเกษตร เช่น สาร 2,4- dichlorophenoxyacetic acid หรือ 2,4-D ซึ่งใช้ในการกาจัดวัชพืช IBA หรือ Indole butyric acid ใช้ในการเร่งให้ ส่วนที่จะนาไปปักชาเกิดรากเร็วขึ้น และ NAA หรือ Naphthalene acetic acid จะช่วยในการติดผลของผลไม้บาง ชนิด เช่น แอปเปิล ความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างของโมเลกุลและการมีคุณสมบัติของออกซิน เนื่องจากมีสารที่เกิดในธรรมชาติและสารสังเคราะห์จานวนมากมีคุณสมบัติของออกซิน จึงจาเป็นต้องรู้ โครงสร้างของโมเลกุลที่จะก่อให้เกิดคุณสมบัติของออกซินได้ซึ่งมีการศึกษากันมาก ในขั้นต้น เข้าใจว่าสารที่จะ มีคุณสมบัติของออกซินต้องประกอบด้วยวงแหวนที่ไม่อิ่มตัวมี side chain เป็นกรด ซึ่งต่อมาพบว่าไม่ใช่สาเหตุที่ แท้จริง เพราะมีสารหลายชนิดที่ไม่มีลักษณะ ดังกล่าว แต่มีคุณสมบัติของออกซิน จากการศึกษาของ Thimann ในปี ค.ศ. 1963 ได้สรุปว่า โครงสร้างของโมเลกุลที่สาคัญของสารที่จะมีคุณสมบัติของออกซินคือ ต้อง ประกอบด้วยประจุลบ (Strong Negative Charge) ซึ่งเกิดจากการแตกตัวของกลุ่มคาร์บอกซิล และประจุลบ จะต้องอยู่ห่างจากประจุบวก(Weaker Positive Charge) บนวงแหวนด้วยระยะทางประมาณ 5.5 Angstrom สมมติฐานของ Thimann นับว่าใช้อธิบายโครงสร้างโมเลกุลของสารที่มีคุณสมบัติของออกซินได้ครบ 8 5
  • 15. การสลายตัวของ IAA ปริมาณของ IAA ในพืชนั้นไม่เพียงแต่ขึ้นอยู่กับอัตราการสังเคราะห์เท่านั้น แต่ยังขึ้นอยู่กับอัตราการ สลายตัว ซึ่งการสลายตัวของ IAA นั้น สามารถเกิดขึ้นได้หลายวิธี 1. Photo-oxidation IAA ที่อยู่ในสภาพสารละลายจะสลายตัวได้เมื่อได้รับแสง การเกิด Photo-oxidation ของ IAA จะถูกเร่งโดยการปรากฏของรงควัตถุตามธรรมชาติ หรือที่สังเคราะห์ได้ จึงอาจจะเป็นไปได้ว่าการที่ รงควัตถุของพืชดูดซับพลังงานจากแสงแล้วทาให้เกิดการออกซิไดซ์ IAA ซึ่งรงควัตถุที่เกี่ยวข้อง คือ ไรโบฟ ลาวินและไวโอลาแซนธิน (Riboflavin และViolaxanthin) สารที่เกิดขึ้นเมื่อ IAA สลายตัวโดยแสงคือ 3- methylene-2-oxindole และ Indole acetaldehyde 2. การออกซิไดซ์โดยเอนไซม์ (Enzymic Oxidation of IAA) พืชหลายชนิดมีเอนไซม์เรียกว่า IAA- oxidase ซึ่งจะคะตะไลท์สลาย IAA ได้คาร์บอนไดออกไซด์ และเป็นปฏิกิริยาที่ใช้ออกซิเจน IAA-oxidase มี คุณสมบัติคล้ายเอนไซม์ประเภทเพอร์ออกซิเดส (Peroxidase) และเป็นเอนไซม์ที่ต้องการแมงกานีสเป็นโค-แฟค เตอร์ กระบวนการออกซิไดซ์ โดย IAA-oxidase ยังไม่เป็นที่เข้าใจกันมากนัก จากการทดลอง In vitro พบว่า ผลิตภัณฑ์ที่ได้ คือ 3-methylene-2-oxindole และถูกเมตาโบไลซ์ต่อไป เป็น 3-methyl-2-oxindole มีการทดลอง หลายครั้งที่ยืนยันว่า IAA-oxidase จะเพิ่มขึ้นเมื่ออายุของพืชเพิ่มมากขึ้น นอกจากนั้นยังมีความสัมพันธ์แบบ ผกผันระหว่างอัตราการเจริญเติบโตและปริมาณของ IAA-oxidase ในเนื้อเยื่อของรากจะมี IAA ในปริมาณต่า แต่ มี IAA-oxidase เป็นจานวนมาก 3. รวมกับสารชนิดอื่นในไซโตพลาสต์ 4. เปลี่ยนเป็นอนุพันธ์ชนิดอื่น การวัดปริมาณออกซิน 1. Bioassay คือ การวัดปริมาณออกซินโดยใช้ชิ้นส่วนของพืช เช่น โคลีออพไทล์ของข้าวโอ๊ตหรือพืชใบ เลี้ยงเดี่ยวอื่นๆ แล้ววัดความโค้งของยอดโดยการวางออกซินที่ต้องการวัดปริมาณลงบนส่วนของโคลีออพไทล์ ซึ่งตัดยอดออกแล้ว มุมที่โค้งจะบอกปริมาณของออกซินได้โดยเปรียบเทียบจากเส้นมาตรฐาน (Standard Curve) 9
  • 16. 2. การวัดจากคุณสมบัติทางฟิสิกส์ คือ การวัดปริมาณของออกซินโดยใช้การดูดกลืนแสงของ IAA ซึ่ง เมื่อมีความเข้มข้นต่างกันจะดูดกลืนแสงได้ต่างกัน โดยใช้ความยาวคลื่นแสงที่ 280 nm หรือสกัดจนเป็นสาร บริสุทธิ์แล้วจึงใช้เครื่อง Gas Chromatograph ร่วมกับ Mass Spectrometry ในการจาแนกและหาปริมาณ 3. การวัดโดยวิธีเคมี โดยให้ออกซินทาปฏิกิริยากับ Salkowski's Reagent (acidified ferric chloride) หรือ ใช้ Ehrllch's Reagent ซึ่งจะเกิดสีขึ้นมา จากนั้นวัดความเข้มของสีแล้วเปรียบเทียบกับเส้นมาตรฐาน การเคลื่อนที่ของออกซินในต้นพืช จากส่วนของพืชที่มีการสังเคราะห์ ฮอร์โมนจะเคลื่อนย้ายไปสู่ส่วนอื่นๆ และมีผลกระทบต่อเนื้อเยื่อที่ ได้รับฮอร์โมน การเคลื่อนที่จะถูกควบคุมอย่างดี การเคลื่อนที่ของออกซินจะเป็นแบบโพลาไรซ์ (Polarized) คือ เคลื่อนที่ไปตามยาวของลาต้นโดยไปในทิศทางใดทิศทางหนึ่งมากกว่าทิศทางตรงกันข้าม ซึ่งการเคลื่อนที่แบบ โพลาร์ (Polar) นี้จะเกี่ยวข้องกับการเจริญและการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพของพืชทั้งต้น การเคลื่อนที่ของออกซินในส่วนที่อยู่เหนือดิน จะเป็นแบบโพลาร์ เบสิพีตัล (Polar Basipetal) คือ จะ เคลื่อนที่จากแหล่งผลิตที่ยอดไปสู่โคนต้น ซึ่งการทดลองที่แสดงว่ามีการเคลื่อนที่แบบนี้สามารถทาได้โดยใช้ ก้อนวุ้นที่เป็นแหล่งให้ออกซินและรับออกซิน (Donor-Receiver Agar Block) คือ ใช้ก้อนวุ้นที่มีออกซินอยู่วาง บนท่อนของเนื้อเยื่อ ส่วนก้อนวุ้นอีกก้อนซึ่งทาหน้าที่รับออกซินอยู่อีกปลายหนึ่งของท่อนเนื้อเยื่อ ออกซินจะ เคลื่อนที่จากก้อนวุ้นที่มีออกซินผ่านเนื้อเยื่อลงไปสู่ก้อนวุ้นที่ไม่มีออกซิน ซึ่งจากวิธีการนี้สามารถคานวณ ความเร็วของการเคลื่อนที่ของออกซินในเนื้อเยื่อได้ เพราะทราบความยาวของท่อนเนื้อเยื่อ ความเร็วในการ เคลื่อนที่แสดงเป็นระยะทางต่อหน่วยเวลา ซึ่งความเร็วในการเคลื่อนที่ของออกซินจะประมาณ 0.5-1.5 เซนติเมตรต่อชั่วโมง การเคลื่อนที่ของออกซินจะเกิดแบบเบสิพีตัลก็เมื่อท่อนเนื้อเยื่อวางอยู่ในลักษณะปกติของลักษณะทาง สัณฐานวิทยาเท่านั้น คือ ก้อนวุ้นที่เป็นก้อนที่รับออกซินจะต้องอยู่ทางด้านโคนของท่อนเนื้อเยื่อ ถ้าหากกลับ ท่อนเนื้อเยื่อเอาด้านโคนกลับขึ้นเป็นด้านยอด การเคลื่อนที่แบบเบสิพีตัลจะลดลงทันที อัตราการเคลื่อนที่ของสารสังเคราะห์ที่มีคุณสมบัติของออกซิน จะช้ากว่าการเคลื่อนที่ของ IAA แต่ ลักษณะการเคลื่อนที่ของสารสังเคราะห์ เช่น 2,4-D IBA และ NAA ก็เกิดในลักษณะโพลาร์เช่นเดียวกับสาร 10 0
  • 17. IAA การเคลื่อนที่ของออกซินในส่วนที่อยู่เหนือดินของพืช เกิดแบบอะโครพีตัล (Acropetal) ได้บ้างแต่น้อย มาก การเคลื่อนที่แบบโพลาร์จะลดลงเมื่ออายุของพืชเพิ่มมากขึ้น ในปัจจุบันยังไม่ทราบแน่ชัดว่าออกซินเค ลื่อนที่ผ่านไปในส่วนใดของเนื้อเยื่ออาจจะเป็นแบบจากเซลล์หนึ่งไปยังอีกเซลล์หนึ่งเพราะการเคลื่อนที่ช้ากว่า การเคลื่อนที่ของสารในท่ออาหาร (Phloem) ซึ่งประมาณ 10-100 เซนติเมตรต่อชั่วโมง และการเคลื่อนที่ของสาร ในท่ออาหารจะเป็นแบบอะโครพีตัล มากกว่า ดังนั้นออกซินจึงไม่ได้เคลื่อนที่ในท่ออาหาร แต่การเคลื่อนที่ใน รากอาจจะเป็นแบบตาม Phloem และเป็นที่เด่นชัดว่าออกซินไม่ได้เคลื่อนที่ในท่อน้าของพืชเพราะการไหลของ น้าจะเป็นไปในทิศทางที่ขึ้นสู่ยอด และนอกจากนั้นท่อน้ายังเป็นเนื้อเยื่อที่ตายแล้วไม่มีพลังงานที่จะทาให้ออก ซินเคลื่อนที่แบบโพลาร์ได้ ในกรณีของโคลีออพไทล์ของพืชนั้นชี้ให้เห็นว่าออกซินเคลื่อนที่ผ่านเซลล์ทุกเซลล์ ลงมา แต่ในกรณีของลาต้นนั้นยังไม่มีหลักฐานชี้ให้เห็นเด่นชัดนัก แต่อาจจะเป็นไปได้ว่าโปรแคมเบียม (Procambium) และแคมเบียม (Cambium)โดยเฉพาะส่วนที่จะกลายเป็นท่ออาหารอาจจะเป็นทางเคลื่อนที่ของ ออกซิน การเคลื่อนที่ของออกซินในรากก็มีลักษณะเป็นโพลาร์ แต่เป็นแบบ อะโครพีตัล ซึ่งกลับกันกับกรณีของ ลาต้น ความเร็วของออกซินที่เคลื่อนที่ไปในรากพืชประมาณ 1 เซนติเมตรต่อชั่วโมง โดยคาดว่าเกิดในส่วนของ แคมเบียมและท่ออาหารที่เกิดใหม่ การเคลื่อนที่ของออกซินเป็นกระบวนการที่ต้องใช้พลังงานโดยมีหลักฐานที่สนับสนุนดังนี้ 1. การเคลื่อนที่เร็วกว่าการซึม 10 เท่า 2. เคลื่อนที่ได้ดีในสภาพที่มีออกซิเจนเท่านั้น และการเคลื่อนที่หยุดได้โดยสารบางชนิด (Inhibitor) 3. เคลื่อนที่จากบริเวณที่มีปริมาณมากไปสู่บริเวณที่มีปริมาณน้อย (Gradient) 4. เกิด Saturation Effect ได้ 11 1
  • 18. กลไกการทางานของออกซิน โดยทั่วไปฮอร์โมนจะสามารถก่อให้เกิดผลต่อการเจริญเติบโตได้ในปริมาณที่ต่ามาก จึงสรุปกันว่าการ ทางานของฮอร์โมนต้องเกี่ยวข้องกับการขยายสัญญาณของฮอร์โมน (Large Amplification) แล้วฮอร์โมน สามารถทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของโมเลกุลจานวนมากขึ้นได้ โดยทั่วไปฮอร์โมนจะมีผลต่อการเจริญเติบโต โดยผ่านมาทางการควบคุมการสังเคราะห์โปรตีนหรือกรดนิวคลีอิคควบคุม "pace-setter" ของเอนไซม์และ ควบคุมการยอมให้สารเข้าออกจากเซลล์ของเยื่อหุ้มเซลล์ กลไกในการทางานของออกซินในระยะที่ผ่านมาจะมีแนวความคิดเป็นสองอย่าง คือ แนวคิดที่เกี่ยวข้อง กับผนังเซลล์เป็นส่วนที่รับผลกระทบของออกซินและขยายตัว ส่วนอีกแนวคิดหนึ่งมุ่งไปที่ผลของออกซินต่อเม ตาบอลิสม์ของกรดนิวคลีอิค ในปัจจุบันได้นาสองแนวคิดมาวิเคราะห์ ร่วมกันเพื่อศึกษากลไกในการทางานของ ออกซิน และยังศึกษาผลของออกซินต่อเยื่อหุ้มเซลล์ด้วย การขยายตัวของเซลล์จะสัมพันธ์กับการเปลี่ยนแปลงปริมาณและกิจกรรมของเอนไซม์ โดยที่ออกซินจะ มีบทบาทต่อ กระบวนการเมตาบอลิสม์ของกรดนิวคลีอิค โดยการศึกษาจากการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อที่เป็นไส้ของ ต้นยาสูบ (Tobacco Pith) ซึ่งจะเจริญไปเป็นกลุ่มเนื้อเยื่อ (Callus) นั้นพบว่ามีปริมาณของ RNA เพิ่มมาก ขึ้น ทั้งนี้เพราะออกซินจะกระตุ้นให้มีการสังเคราะห์ RNA มากขึ้น แล้วส่งผลไปถึงการเจริญของกลุ่มเนื้อเยื่อ ถ้าหากใช้สารระงับการสังเคราะห์โปรตีนหรือ RNA ความสามารถในการกระตุ้นการเจริญเติบโตของออกซินจะ หายไป การทดลองอีกเรื่องที่ชี้ให้เห็นว่าออกซินกระตุ้นให้มีการสร้าง RNA คือ การใช้นิวเคลียส หรือโครมาติน เลี้ยงไว้ในสารที่เป็นสารเริ่มต้นของ RNA เช่น ATP CTP GTP และ UTP ซึ่งสารเริ่มต้นเหล่านี้จะมีสาร กัมมันตรังสีปรากฏอยู่ด้วย RNA ที่เกิดขึ้นมาใหม่จะมีสารกัมมันตรังสีด้วย ซึ่งการที่จะเกิด RNA ใหม่ขึ้นได้นี้ เซลล์จะต้องได้รับออกซินก่อนที่นิวเคลียสหรือโครมาตินจะถูกแยกออกจากเซลล์เท่านั้น ซึ่งแสดงให้เห็นว่าออก ซินไปกระตุ้นการสังเคราะห์ RNA ดังนั้นจึงเป็นที่ชัดเจนว่าออกซินมีผลต่อระดับเอนไซม์ โดยผ่านทางการสังเคราะห์ RNA นอกจากนั้น ออกซินยังมีผลกระทบต่อกิจกรรมของเอนไซม์โดยตรง เช่น การกระตุ้นให้เอนไซม์เกิดกิจกรรมหรือเปลี่ยนรูป มาอยู่ในรูปที่มีกิจกรรมได้ แต่ไม่ว่าออกซินจะมีผลกระทบต่อเอนไซม์แบบใดก็ตาม นักวิทยาศาสตร์ได้มุ่งความ 12 1
  • 19. สนใจไปสู่เอนไซม์ที่สัมพันธ์กับกระบวนการขยายตัวของเซลล์ เซลล์พืชจะมีผนังเซลล์อยู่ข้างนอกสุด ดังนั้น การเจริญของเซลล์จะเกิดขึ้นได้เมื่อคุณสมบัติของผนังเซลล์เปลี่ยนไปในทางที่ก่อให้เกิดการขยายตัวของโป รโตพลาสต์ จากความจริงดังกล่าวการศึกษาทางด้านนี้จึงมุ่งไปสู่ผลกระทบของออกซินต่อคุณสมบัติของผนัง เซลล์ เซลล์พืชทุกชนิดที่ผ่านขั้นตอนของเนื้อเยื่อเจริญมาแล้วจะผ่านขั้นตอนการเจริญเติบโต 2 ขั้นคือ การ แบ่งเซลล์และการขยายตัวแวคคิวโอขึ้นภายในเซลล์ (Vacuolation) ในการศึกษาการเจริญเติบโตของโคลีออพ ไทล์ของข้าวโอ๊ต พบว่าการแบ่งเซลล์จะหยุดเมื่อมีความยาว 10 มิลลิเมตร การเจริญเติบโตที่เกิดขึ้นหลังจากนั้น จะเนื่องมาจากการขยายขนาดของเซลล์ ดังนั้นในการศึกษาถึงผลกระทบของออกซินต่อการเจริญเติบโตของพืช จึงเน้นไปที่ผลต่อการขยายตัวของเซลล์ ในระหว่างการขยายขนาดของเซลล์เพราะการขยายตัวของแวคคิว โอ หรืออาจจะเกิดช่องว่างภายในเซลล์ขึ้น ที่ผนังเซลล์จะเกิดการยืดตัวชนิดที่ไม่สามารถหดได้อีก มีการ ทดลองหลายการทดลองสนับสนุนว่าออกซินเพิ่มการยืดตัวของผนังเซลล์ (Plasticity) ในระหว่างการขยายตัวของเซลล์นั้น ไม่เพียงแต่ผนังเซลล์ยืดตัวเท่านั้น แต่ยังมีการเพิ่มความหนาของ ผนังเซลล์เพราะมีสารใหม่ ๆ ไปเกาะด้วย ซึ่งการเจริญดังกล่าวนี้ก็เป็นผลจากการกระตุ้นของออกซิน ซึ่งจะ เกิดขึ้นเมื่อการยืดตัวของเซลล์หยุดลงแล้ว จากที่ได้กล่าวแล้วว่าผนังเซลล์ประกอบด้วยเซลล์ลูโลสไมโครไฟบริลฝังตัวอยู่ในส่วนที่เป็นแมททริกซ์ (Matrix) และโปรตีน ดังนั้นถ้าพิจารณาดูผนังเซลล์จะมีลักษณะเหมือนคอนกรีตเสริมเหล็กโดยเซลลูโลสจะเป็น ส่วนของเหล็ก โมเลกุลของเซลลูโลสยึดติดกันด้วยแขนไฮโดรเจน (Hydrogen bond) ในขณะที่ส่วนของแมทท ริกซ์เกาะกันด้วยแขนโควาเลนท์ (Covalent bond) และในเนื้อเยื่อใบเลี้ยงของพืชใบเลี้ยงคู่ เซลลูโลสเกาะอยู่ กับแมททริกซ์โดยแขนไฮโดรเจน ดังนั้นการที่ออกซินจะทาให้เซลล์ยืดตัวนั้นต้องทาลายแขนเหล่านี้ เสียก่อน ในปัจจุบันเป็นที่ทราบกันแล้วว่าแม้ว่าการขยายตัวของเซลล์เกี่ยวข้องกับการสังเคราะห์โปรตีนและ RNA รวมทั้งพลังงานจากการหายใจก็ตาม แต่ถ้าให้ออกซินจากภายนอกต่อลาต้นหรือโคลีออพไทล์อัตราการ เจริญเติบโตจะเพิ่มขึ้นหลังจากระยะเวลา "lag" เพียง 2-3 นาทีเท่านั้น ซึ่งเป็นไปไม่ได้ที่การเจริญเติบโตถูกเร่ง โดยการเปลี่ยนอัตราของการ Transcription และ Translation แต่ดูเหมือนว่าออกซินจะไปมีผลต่อระบบที่ปรากฏ อยู่ในพืชแล้ว (Pre-formed System) ดังนั้นจากเหตุผลข้างต้น การทาลายการเกาะกันของโครงสร้างของผนัง 13 1
  • 20. เซลล์จะไม่เกี่ยวข้องกับเอนไซม์ ในการทดลองต่อมานักวิทยาศาสตร์ได้นาเอาโคลีออพไทล์หรือลาต้นที่ไม่ได้รับแสงไปแช่ลงใน สภาพที่มี pH ประมาณ 3 ปรากฏว่าโคลีออพไทล์และลาต้นสามารถยืดตัวได้ และเรียกปรากฏการณ์นี้ว่า "Acid Growth Effect" ซึ่งให้ผลเหมือนกับการให้ออกซินแก่พืช การทดลองนี้ได้นาไปสู่การศึกษาที่แสดงว่า ออกซิ นกระตุ้นการปลดปล่อย H+ หรือโปรตอนจากเนื้อเยื่อ ทาให้ pH ของผนังเซลล์ต่าลง ซึ่งการปลดปล่อย H+ นี้ ต้องใช้พลังงานจากการหายใจด้วย สมมุติฐานเกี่ยวกับ "Proton-Pump" นี้ คาดว่าเกิดในเยื่อหุ้มเซลล์ ในการยอมรับปรากฏการณ์ข้างต้นว่าเป็นการทางานของออกซินในการกระตุ้นอัตราการ เจริญเติบโตของพืช ต้องสามารถอธิบายเหตุผลว่าออกซินกระตุ้นการปลดปล่อย H+ ได้อย่างไรหรือทาไมการ สังเคราะห์โปรตีนและ RNA จึงจาเป็นต่อการยืดตัวของเซลล์ และการเปลี่ยน pH ทาให้คุณสมบัติของผนังเซลล์ เปลี่ยนไปได้อย่างไร คาตอบว่าออกซินกระตุ้นการปลดปล่อย H+ อย่างไรนั้น ยังไม่ทราบแน่ชัด ยังต้องมีการทดลอง อีกมากเพื่ออธิบาย การเจริญของเซลล์ต้องการ RNA และโปรตีนในช่วงที่เซลล์ยืดตัว เพราะในการยืดตัวของ เซลล์นั้นผนังเซลล์ไม่ได้บางลงไป แต่ยังคงหนาเท่าเดิมหรือหนาขึ้น ดังนั้นจึงต้องมีการสร้างผนังเซลล์เพิ่มขึ้น ด้วย ในการสร้างผนังเซลล์นั้นต้องใช้เอนไซม์และ RNA pH ต่ามีผลต่อการเปลี่ยนคุณสมบัติของผนังเซลล์ใน แง่ที่ว่า แขนที่เกาะกันของผนังเซลล์นั้นอาจจะถูกทาลายในสภาพที่ pH ต่า หรืออาจจะเป็น pH ที่เหมาะสม สาหรับเอนไซม์ ที่จะทาให้ผนังเซลล์เปลี่ยนไป การตอบสนองของพืชต่อออกซิน 1. การตอบสนองในระดับเซลล์ ออกซินทาให้เกิดการขยายตัวของเซลล์ (Cell enlargement) เช่น ทาให้ เกิดการขยายตัวของใบ ทาให้ผลเจริญเติบโต เช่น กรณีของสตรอเบอรี่ ถ้าหากกาจัดแหล่งของออกซิน ซึ่งคือ ส่วนของเมล็ดที่อยู่ภายนอกของผล (ผลแห้งแบบ Achene) จะทาให้เนื้อเยื่อของผลบริเวณที่ไม่มีเมล็ดรอบนอก ไม่เจริญเติบโต ออกซินทาให้เกิดการแบ่งเซลล์ได้ในบางกรณี เช่น กระตุ้นการแบ่งเซลล์ของแคมเบียมและก ระตุ้นให้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางคุณภาพ เช่น กระตุ้นให้เกิดท่อน้าและท่ออาหาร กระตุ้นให้เกิดรากจากการปัก ชาพืช เช่น การใช้ IBA ในการเร่งรากของกิ่งชา แล้วยังกระตุ้นให้เกิดแคลลัส (Callus) ในการเพาะเลี้ยง เนื้อเยื่อ แต่การตอบสนองในระดับเซลล์ที่เกิดเสมอคือ การขยายตัวของเซลล์ 14 1
  • 21. 2. การตอบสนองของอวัยวะหรือพืชทั้งต้น 2.1 เกี่ยวข้องกับการตอบสนองของพืชต่อแสง (Phototropism) Geotropism ดังได้กล่าวมาแล้ว 2.2 การที่ตายอดข่มไม่ให้ตาข้างเจริญเติบโต (Apical Dominance) 2.3 การติดผล เช่น กรณีของมะเขือเทศ ออกซินในรูปของ 4 CPA จะเร่งให้เกิดผลแบบ Pathenocarpic และในเงาะถ้าใช้ NAA 4.5 เปอร์เซ็นต์ จะเร่งการเจริญของเกสรตัวผู้ทาให้สามารถผสมกับเกสร ตัวเมียได้ ในดอกที่ได้รับ NAA เกสรตัวเมียจะไม่เจริญเพราะได้รับ NAA ที่มีความเข้มข้นสูงเกินไป แต่เกสรตัว ผู้ยังเจริญได้ ทาให้การติดผลเกิดมากขึ้น 2.4 ป้องกันการร่วงของผลโดยออกซินจะยับยั้งไม่ให้เกิด Abcission layer ขึ้นมา เช่น การใช้ 2, 4-D ป้องกันผลส้มไม่ให้ร่วง หรือ NAA สามารถป้องกันการร่วงของผลมะม่วง 2.5 ป้องกันการร่วงของใบ 2.6ในบางกรณีออกซินสามารถทาให้สัดส่วนของดอกตัวเมีย และตัวผู้เปลี่ยนไปโดยออกซิน จะกระตุ้นให้มีดอกตัวเมียมากขึ้น 15 1
  • 22. บทที่ 3 การดาเนินงาน วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 1. กระถางต้นไม้และที่รอง : สาหรับใส่ต้นมะกรูดจานวน 9 ชุด 2. ต้นมะกรูด : ต้นมะกรูด ประมาณ 26 นิ้ว จานวน 9 ต้น 3. ขวดสเปรย์( Foggy ) จานวน 3 ขวด 4. ดินปลูกต้นไม้ 5. ป้ายพลาสติก : ป้ายสาหรับใส่รายละเอียดของการทดลองของต้นไม้แต่ละกลุ่มทดลองจานวน 3 แผ่น ป้าย 6. วัสดุรองก้น : ใบไม้แห้ง และ ก้อนกรวด 7. ฮอร์โมนออกซิน 8. กระบอกฉีดยา ( Syringe) : สาหรับการผสมฮอร์โมนให้ได้ในปริมาณที่ต้องการ 9. กระบอกตวง 10. ไหมพรม : สาหรับผูกยอดของต้นมะกรูดที่แตกออกมาระหว่างการทดลองเพื่อบันทึกผลการทดลอง 11. น้า 12. สมุดบันทึก ขั้นตอนการทาโครงงาน 1. ประชุมวางแผนคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ ซึ่งคือ การศึกษาผลของฮอร์โมนออกซินที่มีต่อส่วนยอด ของต้นมะกรูด 2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานดังนี้ 2.1. ต้นมะกรูด 2.2. ฮอร์โมนออกซิน 3. วางแผนรายละเอียดการทดลอง คือ เปรียบเทียบการเจริญเติบโตของต้นมะกรูดที่ได้รับปริมาณออกซินที่ แตกต่างกัน 4. หาสถานที่ที่ใช้ในการทาทดลอง 16
  • 23. 5. จัดหาวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ในการทาการทดลองเปรียบเทียบการเจริญเติบโตของต้นมะกรูดที่ได้รับปริมาณออก ซินที่แตกต่างกัน 5.1. กระถางต้นไม้และที่รอง : สาหรับใส่ต้นมะกรูดจานวน 9 ชุด 5.2. ต้นมะกรูด : ต้นมะกรูด ประมาณ 26 นิ้ว จานวน 9 ต้น 5.3. ขวดสเปรย์( Foggy ) จานวน 3 ขวด 5.4. ดินปลูกต้นไม้ 5.5. ป้ายพลาสติก : ป้ายสาหรับใส่รายละเอียดของการทดลองของต้นไม้แต่ละกลุ่มทดลองจานวน 3 แผ่น ป้าย 5.6. วัสดุรองก้น : ใบไม้แห้ง และ ก้อนกรวด 5.7. ฮอร์โมนออกซิน 5.8. กระบอกฉีดยา ( Syringe) : สาหรับการผสมฮอร์โมนให้ได้ในปริมาณที่ต้องการ 5.9. กระบอกตวง 5.10.ไหมพรม : สาหรับผูกยอดของต้นมะกรูดที่แตกออกมาระหว่างการทดลองเพื่อบันทึกผลการทดลอง 5.11.น้า 5.12.สมุดบันทึก 6. ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง 6.1. นาต้นมะกรูดลงปลูกใน ดิน และ กระถาง ที่จัดเตรียมไว้ 6.2. แบ่งต้นมะกรูดออกเป็น 3กลุ่มการทดลอง กลุ่มการทดลองละ 3ต้น คือ 6.2.1.กลุ่มที่ไม่ได้ได้รับฮอร์โมนออกซิโทนซิน หรือกลุ่มควบคุม (Control dose 0 %w/w) 6.2.2.กลุ่มที่ได้รับฮอร์โมนออกซิโทนซิน ความเข้มข้นน้อย (Low dose 0.6 %w/w) 6.2.3.กลุ่มที่ได้รับฮอร์โมนออกซิโทนซิน ความเข้มข้นมาก (High dose 4.5 %w/w) 6.3. ใช้กระบอกฉีดยาดูดออกซิโทซินจากขวดไปใส่ใน ขวดสเปรย์ และผสมน้าให้ได้ความเข้มข้นตามที่ต้องการจากนั้นติด ป้ายกากับข้อมูล ความเข้มข้นไว้บนขวดสเปรย์ แต่ละขวด 6.4. ฉีดพ่น ฮอร์โมน ตามกลุ่มการทดลองที่กาหนดไว้ 6.5. รดน้า และ พ่นฮอร์โมนตามวันเวลาที่กาหนด ตลอดระยะเวลาการทดลอง 6.6. สังเกตยอดของต้นมะกรูดที่แตกออกมาใหม่หลังจากเริ่มทาการทดลอง นาเชือกไปผูกระบุตาแหน่งไว้ และบันทึกผล การทดลองที่ได้ 17
  • 24. 7. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เป็นระยะ 8. จัดทาเอกสารเป็นรูปเล่มโครงงานให้สมบูรณ์ 9. จัดทาสื่ออภิปรายแสดงผลการทดลอง 10. นาเสนอโครงงาน 18
  • 25. บทที่ 4 ผลการทดลองและการวิเคราะห์ผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง วันที่สังเกต ผล/จานวน ยอดที่เพิ่ม กลุ่ม High dose (4.5 %v/v) กลุ่ม Low dose (0.6 %v/v) กลุ่ม Control (0 %v/v) ผู้บันทึก กระถาง ที่1 กระถาง ที่2 กระถาง ที่3 กระถาง ที่1 กระถาง ที่2 กระถาง ที่3 กระถาง ที่1 กระถาง ที่2 กระถาง ที่3 สังเกตผลครั้ง ที่1 (ไหมพรมสี ดา) 12 มิ.ย. 2560 0 ยอด 0 ยอด 0 ยอด 0 ยอด 0 ยอด 0 ยอด 0 ยอด 0 ยอด 0 ยอด รตา สังเกตผลครั้ง ที่2 (ไหมพรมสี แดง) 26 มิ.ย. 2560 0 ยอด 3 ยอด 2 ยอด 1 ยอด 0 ยอด - (ตาย) 0 ยอด 0 ยอด 0 ยอด ศิริพิชญ์ สังเกตผลครั้ง ที่3 (ไหมพรมสี เหลือง) 10 ก.ค. 2560 2 ยอด 0 ยอด 0 ยอด 1 ยอด 0 ยอด - 0 ยอด 0 ยอด 0 ยอด ภูลม สังเกตผลครั้ง ที่4 (ไหมพรมสี ฟ้า) 24 ก.ค. 2560 0 ยอด 1 ยอด 0 ยอด 0 ยอด 0 ยอด - 1 ยอด 0 ยอด 0 ยอด คีตบดินทร์ รวม 2 ยอด 4 ยอด 2 ยอด 2 ยอด 0 ยอด - 1 ยอด 0 ยอด 0 ยอด เฉลี่ย ประมาณ 3 ยอด ประมาณ 1 ยอด ประมาณ 0 ยอด หมายเหตุ : สีไหมพรมที่ใช้ผูกในแต่ละครั้งเป็น ‘marker’ เพื่อให้การสังเกตผลสามารถทาได้ง่ายขึ้น 19
  • 26. กราฟแท่งแสดงผลการทดลอง วิเคราะห์ผลการทดลอง จากผลการทดลองชุด high dose มีจานวนยอดเฉลี่ยเยอะที่สุดรองลงมาเป็น ชุด low dose และน้อยที่สุดเป็น ชุดควบคุม ดังนั้นจึงสรุปได้ว่า ฮอร์โมนauxinมีผลกระตุ้นการแตกยอดของต้นมะกรูด โดยถ้าความเข้มข้นของ ฮอร์โมน auxin เยอะจะยิ่งทาให้ต้นมะกรูดแตกยอดเยอะ กลุ่ม High dose กลุ่ม Low dose กลุ่ม Control dose 0 0.5 1 1.5 2 2.5 3 Series 1 Series 2 Series 3 20
  • 27. บทที่ 5 สรุปผลการทดลองและข้อเสนอแนะเพิ่มเติม สรุปผลการทดลอง จากการสังเกตผลการเปรียบเทียบจานวนยอดอ่อนที่แตกออกมาของต้นมะกรูดทั้ง 3 กลุ่ม ซึ่งได้แก่ กลุ่ม high dose กลุ่ม low dose และกลุ่ม control พบว่าตลอดช่วงเวลา ที่ได้ทาการสังเกตและบันทึกผลการทดลองมา อย่างต่อเนื่องนั้น พืชกลุ่ม high dose มีจานวนยอดอ่อนแตกออกมามากที่สุด เป็นเพราะได้รับฮอร์โมนออกซินก ระตุ้นในปริมาณมากที่สุด ส่วนในกลุ่ม low dose มีจานวนยอดอ่อนแตกออกมารองลงมาจากพืชกลุ่ม high dose เนื่องจากได้รับฮอร์โมนออกซินกระตุ้นในปริมาณรองลงมา และในพืชกลุ่ม control แทบไม่มียอดอ่อนแตก ออกมาเลย เพราะไม่มีฮอร์โมนออกซินช่วนกระตุ้น ดังนั้น จึงสรุปได้ว่า ฮอร์โมนออกซินนั้นมีผลต่อพืชในการ กระตุ้นการเจริญเติบโตช่วยชักนาการยืดขยายเซลล์เนื้อเยื่อหุ้มยอดแรกเกิด และเร่งการเติบโตของพืชในส่วน ยอดได้อีกด้วย ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ในการทาโครงงานครั้งนี้ได้พบกับอุปสรรคเล็กน้อยในระหว่างการดาเนินงาน ดังนี้ เริ่มจากในช่วง ขั้นตอนที่ดาเนินการซื้ออุปกรณ์ที่ต้องใช้ ตอนแรกมีเป้าหมายทดลองเกี่ยวกับฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน แต่เกิด ปัญหาคือไม่สามารถหาซื้อฮอร์โมนจิบเบอเรลลินได้ จึงแก้ปัญหาโดยการเปลี่ยนชินฮอร์โมนเป้าหมายเป็นออก ซินแทน อีกปัญหาหนึ่งคือ ต้นมะกรูดที่ซื้อมาบางต้นเริ่มเหี่ยวตั้งแต่วันแรกๆ จึงได้แก้ปัญหาโดยการเปลี่ยน ตาแหน่งวางกระถางให้อยู่ในที่ที่โดนแสงอาทิตย์มากขึ้น และทาการรดน้าให้บ่อยขึ้น และยังมีปัญหาที่เกิด เกี่ยวกับต้นไม้อีกคือ มีต้นไม้ตายระหว่างการทางาน และมีศัตรูพืชมากินใบอ่อนที่งอกใหม่ แต่ปัญหาพวกนี้เป็น เรื่องปกติของต้นไม้จึงปล่อยให้ทุกอย่างเป็นไปตามธรรมชาติแบบที่มันควรจะเป็น จากปัญหาที่พบในการทาโครงงานครั้งนี้ ทาให้เรารู้ว่าสิ่งใดควรทาต่อไปหรือสิ่งใดควรหลีกเลี่ยง และ สามารถนาไปต่อยอดในการทาโครงงานครั้งถัดไปได้ โดยก่อนที่จะตัดสินใจทาโครงงานเรื่องอะไร ให้วางแผน และศึกษาข้อมูลให้ดีก่อนว่าเกินความสามารถที่มีอยู่หรือไม่ และเมื่อเลือกอุปกรณ์ในการทาการทดลอง ให้เลือก ซื้อจากแหล่งที่น่าเชื่อถือ และตรวจสอบคุณภาพของอุปกรณ์ให้ดีก่อนซื้อ เพื่อที่จะได้ไม่เกิดปัญหาในภายหลัง 21
  • 28. บรรณานุกรม ฮอร์โมนพืช. 2554. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://web.agri.cmu.ac.th/hort/course/359311/PPHY10_hormone.htm. [10 กรกฎาคม 2560]. ออกซิน (auxin). 2554. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา : https://sites.google.com/site/selllaeakarbaengsell/hnwy- thi-2-kar-txb- snxng-khxng-phuch-tx-sar-khwbkhum-kar-ceriy-teibto/1-3-xxk-sin-auxin [10 กรกฎาคม 2560]. ประโยชน์ของออกซิน. 2558. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://topicauxin.blogspot.com/p/blog- page_12.html [13 กรกฎาคม 2560]. สารออกซิน. 2558. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.kasetloongkim.com/modules.php?name=Content&pa=showpage&pid=1816 [13 กรกฎาคม 2560]. ออกซิน . 2559. [ระบบออนไลน์]. แหล่งที่มา : http://www.allaboutrose.com/horticultural/physiology/hormone/auxin [13 กรกฎาคม 2560]. เรืองวุฒิ. 2557. [ระบบออนไลน์]. ประโยชน์ของออกซินที่ใช้ในการผลิตพืช. แหล่งที่มา : http://www.plantmediashop.com/store/article/view/%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%82 %E0%B8%A2%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B9%8C%E0%B8%82%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0% B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%8B%E0%B8%B4%E0%B8%99%E0%B8%97%E0%B8% B5%E0%B9%88%E0%B9%83%E0%B8%8A%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%99%E0%B8%81%E0 %B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%9E%E0%B8 %B7%E0%B8%8A-51976-th.html [13 กรกฎาคม 2560]. 22