SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อความสูงลาต้นของต้นพุดพิชญา
นาเสนอครูผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตาแหน่งครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1.นางสาวเกวลิน ลอรัชวี เลขที่ 1
2.นางสาวทรรศิดา แก่นแก้ว เลขที่ 4
3.นาวสาวนภสร ซุ่นห้อง เลขที่ 8
4.นางสาวสิริยากร วัฒนเพ็ญไพบูลย์ เลขที่ 24
5.นายภูเบศ สุรธนะสกุล เลขที่ 38
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245)
ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ก
คานา
รายงานฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการเรียนรายวิชา ว30245 ชีววิทยา5 โดยมีจุดประสงค์ตาม
โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนตามพระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี
อีกทั้งเพื่อให้คณะผู้จัดทาได้ทาการศึกษา ค้นคว้า ทดลองผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อความสูง
ของลาต้นพุดพิชญาและนามาสร้างเป็นตารางและกราฟ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการเปรียบเทียบความสูงที่
เพิ่มขึ้นตามความเข้มข้นของฮอร์โมนที่แตกต่างกัน ซึ่งสามารถนาไปใช้ประกอบการเรียนการสอนของ
คณาจารย์และผู้ศึกษาได้
ทั้งนี้ขอขอบพระคุณอาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ตลอดจนผู้ที่ให้การ
สนับสนุนเสมอมาเป็นอย่างสูง ที่กรุณาให้คาแนะนาข้อเสนอแนะต่างๆ คณะผู้จัดทาหวังว่ารายงาน
โครงงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีความสนใจไม่มากก็น้อย
คณะผู้จัดทา
ข
บทคัดย่อ
โครงงานทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อความสูงลาต้น
ของต้นพุดพิชญา มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อสนองพระราชดาริในการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
เตรียมอุดมศึกษา ในพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 2) เพื่อศึกษาว่าฮอร์โมน
จิบเบอเรลลินมีผลต่อความสูงลาต้นของต้นพุดพิชญา 3) เพื่อศึกษาฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้น
เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นพุดพิชญา
การทดลองฉีดฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้นต่างๆในปริมาณเท่ากันให้ต้นพุดพิชญาในแต่ละ
ชุดการทดลอง โดยแบ่งเป็น ชุด high dose ชุด low dose และชุดควบคุม ซึ่งมีความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบ
เบอเรลลิน 0.001% 0.0005% และ 0 % มวล/ปริมาตร ตามลาดับ โดยเก็บข้อมูลด้วยวิธีการวัดความสูงลาต้น
จากโคนถึงยอด และนาข้อมูลดิบไปผ่านกระบวนการวิเคราะห์ต่อไป
ผลการทดลองพบว่าการทดลองชุด low dose มีการเจริญเติบโตมากที่สุด รองลงมาคือการทดลอง
ชุด high dose และชุดควบคุม ตามลาดับ จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลต่อ
ความสูงของลาต้นพุดพิชญา โดยฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้น 0.0005% มวล/ปริมาตร เหมาะสมต่อ
การเจริญเติบโตของต้นพุดพิชญามากที่สุด
ค
กิตติกรรมประกาศ
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อความสูงลา
ต้นของต้นพุดพิชญา จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจาก อาจารย์ประจารายวิชาชีววิทยา
ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ที่ช่วยให้คาปรึกษา และให้คาแนะนาในการปรับปรุง
พัฒนาโครงงานให้ดีขึ้น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ที่เอื้อเฟื้อสถานที่ในการทาโครงงาน
ขอขอบคุณผู้ปกครอง ที่ให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ และให้กาลังใจตลอดมา
คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
เรื่อง หน้า
คานา ก
บทคัดย่อ ข
กิตติกรรมประกาศ ค
บทที่1 บทนา 1
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4
บทที่3 การดาเนินงาน 10
บทที่4 ผลการทดลอง 13
บทที่5 สรุปและข้อเสนอแนะ 16
บรรณานุกรม 17
ภาคผนวก 18
1
บทที่ 1 บทนา
ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อความสูงลาต้นของต้นพุดพิชญา
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
1. นางสาวเกวลิน ลอรัชวี
2. นางสาวทรรศิดา แก่นแก้ว
3. นางสาวนภสร ซุ่นห้อง
4. นางสาวสิริยากร วัฒนเพ็ญไพบูลย์
5. นายภูเบศ สุรธนะสกุล
นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125
สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
อาจารย์ผู้สอน
นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
ที่มาและความสาคัญ
เนื่องจาก ต้นพุดพิชญาเป็นพืชในสกุลโมกซึ่งนาเข้าจากศรีลังกา มีดอกสีขาวบริสุทธิ์ เป็นความ
สวยงามของสิ่งแวดล้อม สามารถนาไปเป็นไม้ประดับใส่แจกันตกแต่งได้อีกทั้งยังทาหน้าที่เป็นผู้ผลิตซึ่งมี
ความสาคัญต่อระบบนิเวศเป็นอย่างมาก มีส่วนในการเพิ่มแก๊สออกซิเจนให้กับโลกของเราอีกด้วย
นอกจากนี้ ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินซึ่งเป็นฮอร์โมนพืชโมเลกุลขนาดใหญ่ เป็นตัวควบคุมการเจริญเติบโต มี
อิทธิพลกับพืชในหลายด้าน เช่น การยืดของข้อการงอก การพักตัว การออกดอก ออกผล เป็นต้น
โดยเป้าหมายในการศึกษาของโครงงานชิ้นนี้คือฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้นต่างๆ มีผลต่อการ
เจริญเติบโตของต้นพุดพิชญาหรือไม่
คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนจิบ
เบอเรลลินที่มีต่อความสูงลาต้นของต้นพุดพิชญา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่าฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผล
ต่อความสูงของต้นพุดพิชญาหรือไม่ และ ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้นเท่าใด มีผลต่อการเจริญของ
ลาต้นดีที่สุด คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมี
ประโยชน์ต่อเกษตรกร นักเรียน นักศึกษา นักวิจัย ที่มีความสนใจได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมในอนาคตต่อไป
คาถามการทาโครงงาน
สารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้นใดจะส่งผลให้ต้นพุดพิชญามีความสูงลาต้นมากที่สุด
สมมติฐานการทดลอง
ถ้าฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้น 0.001% m/v มีผลต่อการเจริญของลาต้นดีที่สุด ดังนั้น
สารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้น 0.001% m/v จะทาให้ลาต้นมีความสูงมากที่สุด
2
1
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
1. เพื่อศึกษาว่าฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลต่อความสูงลาต้นของต้นพุดพิชญาหรือไม่
2. เพื่อเปรียบเทียบฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้นต่างๆว่าจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้นใด มีผล
ต่อการเจริญของลาต้นดีที่สุด
ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องฮอร์โมนจิบเบอเรลลินและการเจริญเติบโตของต้นพุดพิชญา
2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้นต่างๆ
3. เป็นการส่งเสริมทักษะการทางานของสมาชิกในกลุ่ม รวมไปถึงการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าและ
ความสามัคคีภายในกลุ่ม
ขอบเขตของโครงงาน
การทาโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อ
ความสูงลาต้นของต้นพุดพิชญาโดยแบ่งชุดการทดลองเป็น 3 ชุด คือชุด high dose ชุด low dose และชุด
ควบคุม ซึ่งมีความเข้มข้น 0.001% 0.0005% และ 0 % มวล/ปริมาตร ตามลาดับ โดยจัดทาการทดลองขึ้นที่
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง
ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของจิบเบอเรลลิน
ตัวแปรตาม คือ ความสูงลาต้นของต้นพุดพิชญา
ตัวแปรควบคุม คือ อายุพืช ปริมาณดิน ขนาดกระถางต้นไม้อุณหภูมิ
ปริมาณน้าและความชื้น ปริมาณแสงแดด
ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน
14 มิถุนายน พ.ศ. 2560– 3 สิงหาคม พ.ศ. 2560
วิธีการเก็บข้อมูล
การใช้เชือกทาบวัดความสูงของต้นไม้โดยวัดจากโคนต้นจนถึงยอด ซึ่งคณะผู้รับผิดชอบโครงงาน
การทดลองฮอร์โมนพืชได้ทาสัญลักษณ์ไว้ที่โคนต้นเพื่อลดความคลาดเคลื่อน วัดความยาวเชือกที่ได้โดยใช้
ไม้บรรทัดที่มีมาตรฐาน พร้อมจดบันทึกผลการวัดความสูงลงในตารางแบบบันทึกที่ได้ออกแบบไว้
3
1
วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล
คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชได้นาความสูงที่วัดได้ในแต่ละยอดมาหาค่าเฉลี่ย
จะได้ความสูงเฉลี่ยของต้นไม้1ต้นไม้โดยนาความสูงแต่ละต้นที่อยู่ในชุดการทดลองเดียวกัน มาหาค่าเฉลี่ย
อีกครั้ง จะได้ความสูงเฉลี่ยของกลุ่มชุดการทดลองนั้นๆ โดยจะหาความสัมพันธ์ระหว่างความสูงลาต้นกับ
เวลาในรูปแบบกราฟเส้นและมีกราฟแท่งประกอบเพื่อความชัดเจน สังเกตและวิเคราะห์การเจริญเติบโตของ
ต้นพุดพิชญาโดยดูจากแนวโน้มความชันของกราฟเส้น
4
1
บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง
ต้นพุดพิชญา
1. ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Wrightia antidysenterica R.Br.
2. วงศ์ : APOCYNACEAE
ชื่อท้องถิ่น : Inda ,พุดพิชญา
4. ชื่อสามัญ : Coral Swirl
5. นาเข้าจากประเทศ : ศรีลังกา
6. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
1.) ชนิด/ขนาด : ไม้พุ่มขนาดกลาง เรือนยอดทรงพุ่มรูปไข่ สูง1-2เมตร
2.) ลาต้น : ลาต้นตั้งตรงกิ่งก้านสีน้าตาลแดง ผิวเรียบ มียางสีขาว
3.) ใบ : ใบเดี่ยว ออกลักษณะตรงข้าม รูปใบหอกแกมรูป
ขอบขนาน ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบเรียบ
ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีเขียวอ่อน มีขนาด
แผ่นใบกว้าง3.5เซนติเมตร ยาวเซนติเมตร
4.) ดอก : ออกเป็นช่อกระจุกออกตามซอกใบที่ปลายกิ่ง ช่อหนึ่ง
มี 5-6 ดอก กลีบเลี้ยงสีเขียวอ่อนปนเหลือง ดอกสีขาว
โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดแคบ ปลายแยกเป็น
5 กลีบ ดอกบานเต็มที่ขนาด 1.5-2.5 ซม. กลางดอกมี
รยางค์เป็นแผ่น รูปแถบคล้ายขี้ผึ้ง ปลายแยกเป็นริ้ว 2-5 ริ้ว
เกสรเพศผู้สีเหลือง ก้านดอกยาวประมาณ 2 ซม.
ออกดอกตลอดปี ไม่มีกลิ่น
5.) ที่อยู่ : บริเวณที่มีดินร่วนปนทราย ระบายน้าดี ไม่ทนดินเค็ม
มีแสงแดดตลอดวัน มีความชื้นและปริมาณน้าปานกลาง
6.) ขยายพันธุ์ : ปักชา ตอนกิ่ง
5
1
ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin)
1. ความหมาย
จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) เป็นฮอร์โมนพืชที่มีโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ บทบาททาง
สรีรวิทยาที่สาคัญของจิบเบอเรลลินคือช่วยเพิ่มความสูงของพืชที่เกิด จากการยืดตัวของข้อ
2. การค้นพบ
การค้นพบจิบเบอเรลลินเริ่มจากการศึกษาต้นข้าวที่เป็นโรค Bakanae ซึ่งมีลักษณะสูง ผอม เกิดจาก
เชื้อรา Gibberella fujikuroiในประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่ พ.ศ. 2471 เมื่อสกัดสารที่เชื้อรานี้สร้างขึ้นไปทดสอบกับ
พืชชนิดอื่นพบว่าทาให้พืชนั้นๆมีอาการอย่างเดียวกันคือต้นผอม สูง จึงตั้งชื่อสารที่พบนี้ว่าจิบเบอเรลลิน
สารที่พบชนิดแรกตั้งชื่อว่าจิบเบอเรลลินเอ ต่อมามีการพบอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิกจากราอีกหลาย
ชนิด การสกัดสารจิบเบอเรลลินจากพืชทาได้สาเร็จครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2511 โดยแยกได้จากเมล็ดถั่วใน
ปริมาณที่ต่ามาก
3.ลักษณะทางเคมี
จิบเบอเรลลินเป็นสารกลุ่มไดเทอร์พีนอยด์มีโครงสร้างหลักเป็นent-gibberellane ที่สังเคราะห์มา
จาก ent-kaurene โดยจิบเบอเรลลินเป็นอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิก(Gibberellic acid) ปัจจุบันพบแล้ว
มากกว่า80ชนิด
6
1
4.การสังเคราะห์
การสังเคราะห์จิบเบอเรลลินในพืชชั้นสูงเริ่มจากสร้าง Geranylgeranyl diphosphate (GGDP) ซึ่ง
เป็นสารตั้งต้นของสารกลุ่มดีเทอร์พีนอยด์โดยทั่วไป จากนั้นจึงเปลี่ยน GGDP ไปเป็น ent-kaurene แล้วจึง
เปลี่ยนเป็น GA12แล้วจึงเปลี่ยนต่อไปเป็นจิบเบอเรลลินตัวอื่นๆ
จากการศึกษาโดยวิธี Diffusion Technique แสดงให้เห็นว่าใบอ่อน ผลอ่อน และต้นอ่อนเป็นส่วน
ที่สร้าง จิบเบอเรลลินของพืช โดยรากพืชอาจจะสามารถสร้างจิบเบอเรลลิน ได้บ้าง แต่จิบเบอเรลลินมีผล
ต่อการเจริญของรากน้อยมาก และอาจจะระงับการสร้างรากแขนงพวก Adventitious Root ด้วย ในปัจจุบัน
ยังไม่มีการสังเคราะห์ จิบเบอเรลลิน เนื่องจากกระบวนการสร้างซับซ้อนและต้องใช้เอนไซม์หลายชนิด
ดังนั้นจิบเบอเรลลินที่พบในปัจจุบันจึงเป็นสารธรรมชาติทั้งสิ้น
มีจุลินทรีย์หลายชนิดที่สร้างจิบเบอเรลลินได้เช่น แบคทีเรีย ไซยาโนแบคทีเรีย ยีสต์ สาหร่ายสีเขียว
สาหร่ายสีน้าตาล สาหร่ายสีแดง รวมทั้งราไมคอไรซาในรากกล้วยไม้โดยในรามีวิธีการผลิตจิบเบอเรลลินค
ล้ายกับพืชชั้นสูงแม้ว่าเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องจะต่างออกไป
7
1
5. การระงับการสังเคราะห์จิบเบอเรลลิน
ในปัจจุบันมีสารชะงักการเจริญเติบโต เช่น CCC หรือ Cycocel AM0-1618 Phosfon-Dและ
SADH หรือ Alar ซึ่งใช้กันมากในการเกษตร สารเหล่านี้บางชนิดสามารถระงับ กระบวนการสังเคราะห์
จิบเบอเรลลินได้เช่น AMO-1618สามารถระงับการสังเคราะห์จิบเบอเรลลินในอาหารสารอง (Endosperm)
ของแตงกวาป่า โดยระงับในช่วงการเปลี่ยน Geranylgeranyl pyrophosphate ไปเป็น Kaurene ในทานอง
เดียวกัน CCC สามารถระงับกระบวนการนี้ได้ด้วย
6. การสลายตัวของจิบเบอเรลลิน
ความรู้ทางด้านนี้ยังมีไม่มากนัก แต่มีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าจิบเบอเรลลินมีกิจกรรมทาง
สรีรวิทยาอยู่ได้เป็นระยะเวลานานในเนื้อเยื่อพืช และในเนื้อเยื่อพืชที่มีจิบเบอเรลลินอยู่สูงจะไม่แสดงผลเสีย
อย่างไรก็ตามจิบเบอเรลลินสามารถเปลี่ยนจากชนิดหนึ่งไปเป็นจิบเบอเรลลินอีกชนิดหนึ่งได้ใน
เนื้อเยื่อพืช ยิ่งไปกว่านั้นในเนื้อเยื่อพืชยังมีจิบเบอเรลลินในรูปของไกลโคไซด์(Glycosides) ซึ่งอาจจะเป็น
วิธีการทาให้จิบเบอเรลลินไม่สามารถแสดงคุณสมบัติออกมา กรดจิบเบอเรลลิคซึ่งอยู่ในสภาพสารละลายถูก
ทาให้สลายตัวได้โดยใช้ Acid Hydrolysis ที่อุณหภูมิสูงและได้ผลิตภัณฑ์คือกรดจิบเบอเรลลีนิค
(Gibberellenic Acid) และกรดจิบเบอริค (Gibberic Acid)
7. บทบาทของจิบเบอเรลลินต่อพืช
- กระตุ้นการขยายตัวของเซลล์โดยการเพิ่มความยืดหยุ่นของผนังเซลล์ ทาให้เซลล์มีรูปร่างยืดยาว
ขึ้น
- กระตุ้นการเจริญของรากโดยเฉพาะการเจริญของรากแรกเกิด (Radicle) รากต้องการจิบเบอเรลลิน
ในปริมาณที่น้อยกว่าลาต้น เช่นรากต้องการ GA3 ในระดับนาโนโมลาร์ แต่ยอดต้องการในระดับ
ไมโครโมลาร์
- จิบเบอเรลลินมีผลต่อพัฒนาการของดอกโดยเฉพาะพัฒนาการของก้านชูเกสรตัวผู้และกลีบดอก
- กระตุ้นการติดผลในพืชหลายชนิด เช่น ส้ม มะเขือเทศ องุ่น การได้รับจิบเบอเรลลินช่วยให้เกิด
การติดผลโดยไม่ต้องผสมเกสรได้
8
1
- กระตุ้นการงอกของเมล็ด แสงสีแดงกระตุ้นการงอกของเมล็ดได้โดยกระตุ้นให้มีการสร้าง
จิบเบอเรลลินมากขึ้น
- การเปลี่ยนเพศดอก จิบเบอเรลลินช่วยทาให้พืชตระกูลแตงหรือพืชที่แยกดอกตัวผู้และดอกตัวเมีย
เกิดดอกตัวผู้มากขึ้นได้ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงพันธุ์พืช
- จิบเบอเรลลินช่วยทาลายระยะพักตัวของพืชทั้งการพักตัวของตาและเมล็ด โดยข่มฤทธิ์ของABA
ซึ่งทาให้เกิดระยะพักตัว
- หลังการงอก จิบเบอเรลลินสนับสนุนการยืดตัวของข้อและการแผ่ขยายของใบ
- ควบคุมให้พืชอยู่ในสภาวะอ่อนวัย เช่นการทาให้ใบของ Hedera helix คงอยู่ในสภาพของใบใน
ระยะอ่อนวัยซึ่งมีความสวยงามกว่าใบในระยะเต็มวัยพร้อมสืบพันธุ์ได้
- กระตุ้นการออกดอก การได้รับจิบเบอเรลลินสามารถทดแทนความต้องการช่วงแสงยาวในช่วง
กลางวันของพืช วันยาว และความต้องการความหนาวเย็นก่อนออกดอกของพืชได้
8.บทบาทของจิบเบอเรลลินต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ
จิบเบอเรลลินสามารถกระตุ้นการเจริญของแบคทีเรีย (เช่น Azotobactor Pseudomonas) ยีสต์ และรา
ได้เช่นกัน จิบเบอเรลลินยังสามารถกระตุ้นการตรึงไนโตรเจนและการเจริญเติบโตของ Anabaena ได้ด้วย
9.การเคลื่อนที่ของจิบเบอเรลลิน
จิบเบอเรลลินสามารถเคลื่อนย้ายหรือเคลื่อนที่ในพืชได้ทั้งทางเบสิพีตัล และอะโครพีตัล และการ
เคลื่อนที่ไม่มีโพลาริตี้ การเคลื่อนย้ายเกิดขึ้นทั้งในส่วนของท่ออาหารและท่อน้าแต่การเคลื่อนที่ของจิบเบอ
เรลลินจากยอดอ่อนลงมาสู่ส่วนล่างของลาต้นนั้นไม่ได้เกิดในท่อน้า ท่ออาหารเพราะส่วนของยอดอ่อนเป็น
ส่วนที่ดึงอาหารและธาตุอาหารให้เคลื่อนที่ขึ้นไปแบบอะโครพีตัลดังนั้นจิบเบอเรลลินจึงไม่ได้เคลื่อนที่ทาง
ท่ออาหาร และยังไม่ทราบวิถีการเคลื่อนที่แน่ชัด
10.ประโยชน์ของจิบเบอเรลลิน
- เพิ่มผลผลิต : เพิ่มขนาดของใบผัก
- เพิ่มการติดผล : เป็นการติดผลโดยไม่ต้องผสมเกสร มักใช้กับมะเขือเทศ องุ่น ส้ม
- เพิ่มขนาดผล : ใช้กับองุ่นจากดอกคาร์ดินัลและลูซเพอร์เบทท์ในไทย
- เพิ่มความยาวของช่อดอกและผล: ตอบสนองได้ดีในองุ่น
- เปลี่ยนเพศดอก: ตอบสนองได้ดีในพืชตระกูลแตง เช่น แตงกวา ฟักทอง
- ชะลอการออกดอก : ชะลอการออกดอกในช่วงที่ไม่ต้องการ เพื่อให้มีการสะสมอาหารและพร้อม
สาหรับการออกดอกในเวลาต่อมา มักใช้กับ ส้ม มะม่วง แอปเปิล
9
1
- กระตุ้นการแทงช่อดอก : ใช้กับพืชที่มีการห่อปลีแน่นจนไม่สามารถแทงช่อดอกได้เช่น
กะหล่าปลี ผักกาดขาว ผักกาดหอมห่อ ผักกาดเขียวปลี
- ชะลอการแก่และการสุก: ช่วยในการเก็บรักษาผลผลิต
- ทาลายการพักตัวของตาและเมล็ด
10
1
บทที่ 3 การดาเนินงาน
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. กระถางต้นไม้ จานวน 9 กระถาง
2. ฟ็อกกี้ จานวน 3 อัน
3. ขวดน้า(ใส่น้า) 1 ลิตร จานวน 3 ขวด
4. เส้นเชือกในการวัดความสูง จานวน 1 เส้น
5. ไม้บรรทัด จานวน 1 อัน
6. ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน จานวน 15 มิลลิกรัม
7. ป้ายชื่อปักต้นไม้ จานวน 7 ป้าย
ขั้นตอนการทาโครงงาน
1. ประชุมวางแผนคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ ซึ่งคือ การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อ
ความสูงลาต้นของต้นพุดพิชญา
2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานดังนี้
2.1. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของต้นพุดพิชญา
2.2. ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(ชนิดเม็ด)
3. จัดซื้อต้นพุดพิชญาฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน และวัสดุอุปกรณ์อื่นๆที่จาเป็น
4. วางแผนรายละเอียดการทดลอง โดยแบ่งเป็น 3 ชุด ชุดละ 3 ต้น ดังนี้
4.1. ชุดที่ 1 (high dose) ฉีดสารละลายฮอร์โมนที่มีความเข้มข้น 0.001 % m/v
4.2. ชุดที่ 2 (low dose) ฉีดสารละลายฮอร์โมนที่มีความเข้มข้น 0.0005 % m/v
4.3. ชุดที่ 3 (control) ฉีดสารละลายฮอร์โมนที่มีความเข้มข้น 0 % m/v (น้า)
5. จัดหาสถานที่ที่ใช้ในการทาการทดลอง โดยจัดว่างเว้นระยะห่างพอสมควรเป็นลาดับดังนี้
คือเรียงจาก ชุด high dose ชุด low dose และชุดควบคุม เพื่อไม่ให้เป็นปัญหาในการฉีดฮอร์โมน
ที่มีความเข้มข้นต่างกัน และจัดทาป้ายชื่อต้นไม้
6. ปรึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา ในเรื่องของการจัดเตรียมสารละลาย
7. เตรียมวัสดุอุปกรณ์และสารเคมี เพื่อนามาเตรียมสารละลายซึ่งมีดังนี้
7.1. ฟ็อกกี้ จานวน 3 อัน
7.2. ขวดน้า(ใส่น้า) 1 ลิตร จานวน 3 ขวด
7.3.ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(ชนิดเม็ด) จานวน 15 มิลลิกรัม
11
โดยมีขั้นตอนการเตรียมสารละลายดังนี้
1. เตรียมสารละลายฮอร์โมนที่มีความเข้มข้น 0.001 % m/v โดยการใส่เม็ดฮอร์โมน
จานวน 10 มิลลิกรัมในขวดน้า1 ลิตร เขย่าให้เป็นเนื้อเดียวกัน
2. เตรียมสารละลายฮอร์โมนที่มีความเข้มข้น 0.0005 % m/v โดยการใส่เม็ดฮอร์โมน
จานวน 5 มิลลิกรัมในขวดน้า1 ลิตร เขย่าให้เป็นเนื้อเดียวกัน
3. นา ขวดทั้ง3 ขวดซึ่งมีความเข้มข้น 0.001 % m/v 0.0005 % m/v และ 0% m/v
แยกใส่ลงในฟ็อกกี้แต่ละอัน
8. ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง
8.1. ตอนที่ 1 การฉีดสารละลายฮอร์โมนความเข้มข้นต่างๆ
โดยจะฉีดฮอร์โมนความเข้มข้นต่างกันในปริมาณที่เท่ากันในแต่ละชุดทดลองในทุกๆวัน
เริ่มฉีดเมื่อวันที่ 14 มิ.ย. 2560 โดยมีเวรในการรับผิดชอบดังนี้
ตารางผู้รับผิดชอบฉีดฮอร์โมนพืชในแต่ละวัน
วันจันทร์ ภูเบศ
วันอังคาร เกวลิน
วันพุธ ทรรศิดา
วันพฤหัสบดี สิริยากร
วันศุกร์ นภสร
8.2. ตอนที่ 2 การเปรียบเทียบความสูงลาต้นของชุดทดลองต่างๆโดยการวัด
8.2.1. นาปากกาลบคาผิดไปทาเครื่องหมายบริเวณโคนต้นของทุกต้น
8.2.2. วัดความสูงครั้งแรกของแต่ละต้นโดยนาเชือกยาวมาวัดจากโคนสู่ยอด
8.2.3. นาความยาวของเชือกที่วัดได้ไปเปรียบเทียบกับความยาวไม้บรรทัดแล้วบันทึกผล
8.2.4. ทาการวัดซ้าในวันอังคารของทุกๆสัปดาห์
8.2.5. นาข้อมูลที่เฉลี่ยของแต่ละต้น เฉลี่ยของแต่ละชุดทดลอง พร้อมทั้ง ค่าเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นมาใส่
ในตาราง
หมายเหตุ ทาการวัดทุกๆกิ่งในแต่ละต้นแล้วนามาหาค่าเฉลี่ยเพื่อความแม่นยา
12
1
ตารางกาหนดการวัดความสูงของลาต้นพุดพิชญา
ครั้งที่ 1 14/6/2560
ครั้งที่ 2 20/6/2560
ครั้งที่ 3 27/6/2560
ครั้งที่ 4 4/7/2560
ครั้งที่ 5 11/7/2560
ครั้งที่ 6 18/7/2560
ครั้งที่ 7 1/8/2560
9. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เป็นระยะ
10. จัดทาเอกสารเป็นรูปเล่มโครงงานให้สมบูรณ์
11. จัดทาสื่ออภิปรายแสดงผลการทดลอง
12. นาเสนอโครงงาน
13
1
บทที่4 ผลการทดลอง
ตารางบันทึกผลการทดลอง
วัน/เดือน/ปี
ความสูงเฉลี่ยจากโคนต้นถึงปลายแต่ละกิ่งของต้นพุดพิชญา(Cm)
ชุดควบคุม ชุด Low Dose ชุด High Dose
1 2 3 เฉลี่ย 1 2 3 เฉลี่ย 1 2 3 เฉลี่ย
วันที่ 14 มิ.ย. 2560 31.3 31.1 29.9 30.8 31.8 33.8 32.1 32.6 31.6 29.4 32.9 31.3
วันที่ 20 มิ.ย. 2560 31.4 31.4 31.0 31.3 32.3 34.5 32.8 33.2 31.9 29.7 33.3 31.6
วันที่ 27 มิ.ย. 2560 31.6 31.5 31.1 31.4 32.6 35.4 33.7 33.7 32.3 30.1 33.6 32.0
วันที่ 4 ก.ค. 2560 31.7 31.7 31.3 31.6 32.9 36.0 34.3 34.4 32.8 30.3 34.1 32.4
วันที่ 11 ก.ค. 2560 31.9 32.0 31.5 31.8 33.2 36.7 34.6 34.8 33.1 30.8 34.4 32.8
วันที่ 18 ก.ค. 2560 32.1 32.3 31.7 32.0 33.6 37.2 35.3 35.4 33.5 31.1 34.8 33.1
วันที่ 1 ส.ค. 2560 32.2 32.5 31.9 32.2 34.1 37.9 36.1 36.0 33.9 31.6 35.1 33.5
ค่าความสูงเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นต่อ
ครั้งที่ตรวจ (Cm)
ชุดควบคุม ชุด Low Dose ชุด High Dose
0.2 0.5 0.3
30.8
31.3 31.4 31.6 31.8 32 32.2
32.6
33.2
33.7
34.4
34.8
35.4
36
31.3
31.6
32
32.4
32.8 33.1
33.5
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
วันที่ 14 มิ. ย.
2560
วันที่ 20 มิ. ย.
2560
วันที่ 27 มิ. ย.
2560
วันที่ 4 ก.ค.
2560
วันที่ 11 ก.ค.
2560
วันที่ 18 ก.ค.
2560
วันที่ 1 ส.ค.
2560
ความสูง(ซ.ม.)
เวลา
กราฟเส้นความสูงเฉลี่ยของต้นพุดพิชญา(ซ.ม.)
ชุดควบคุม ชุด Low Dose
14
1
กราฟแท่งแสดงผลการทดลอง
กราฟเส้นแสดงผลการทดลอง
30.8
31.3 31.4 31.6 31.8 32 32.2
32.6
33.2
33.7
34.4
34.8
35.4
36
31.3 31.6
32
32.4
32.8 33.1
33.5
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
วันที่ 14 มิ.ย.
2560
วันที่ 20 มิ.ย.
2560
วันที่ 27 มิ.ย.
2560
วันที่ 4 ก.ค.
2560
วันที่ 11 ก.ค.
2560
วันที่ 18 ก.ค.
2560
วันที่ 1 ส.ค.
2560
ความสูง(ซ.ม.)
เวลา
กราฟแผนภูมิแท่งของความสูงเฉลี่ยต้นพุดพิชญา (ซ.ม.)
ชุดควบคุม ชุด Low Dose ชุด High Dose
15
1
วิเคราะห์ผลการทดลอง
จากการทดลองใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินกับต้นพุดพิชญา พบว่าต้นพุดพิชญา กลุ่มLow Dose มีการ
เปลี่ยนแปลงความสูงมากที่สุด รองลงมาจะเป็นต้นพุดพิชญา กลุ่ม High Dose ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงความสูง
ระดับปานกลาง และสุดท้ายคือ ต้นพุดพิชญา กลุ่ม ควบคุมที่มีการเปลี่ยนแปลงความสูงเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
16
1
บทที่5 สรุปและข้อเสนอแนะ
สรุปผลการทดลอง
จากการศึกษาและติดตามผลการเพิ่มความสูงของต้นพุดพิชญา เมื่อใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน พบว่าชุด
Low dose มีการเพิ่มความสูงของลาต้นมากที่สุด ชุด Highdose มีการเพิ่มความสูงลาต้นรองลงมา และกลุ่มที่
มีการเพิ่มของความสูงลาต้นน้อยที่สุดคือชุดควบคุม ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลต่อ
ความสูงของต้นพุดพิชญา โดยจะทาให้ต้นพุดพิชญามีความสูงเพิ่มมากขึ้น แต่ต้องใช้ความเข้มข้นของ
ฮอร์โมนที่เหมาะสม
ข้อเสนอแนะ
เนื่องจากข้อจากัดและลักษณะของสถานที่ ทาให้ต้นพุดพิชญาแต่ละชุดอาจได้รับแสงในปริมาณที่ไม่
เท่ากัน อาจทาให้เกิดความลาดเคลื่อน จึงควรหาสถานที่เหมาะสมและสามารถจัดต้นไม้ทุกชุดให้ได้รับแสง
ในปริมาณที่ใกล้เคียงกันได้มากที่สุด
17
1
บรรณานุกรม
1. http://book.baanlaesuan.com/plant-library/indrajao_winter/
2. https://th.wikipedia.org/wiki/พุดพิชญา
3. https://sites.google.com/a/takongwit.ac.th/botanic/khxmul-phrrn-mi/057-phud-phichya
4. http://www.tankonyvtar.hu/en/tartalom/tamop412A/2011_0009_Levai_Laszlo_Veres_Szilvia-
Applied_Plant_Physiology/ch13.html
5. http://www.biologydiscussion.com/plants/gibberellins-discovery-chemical-nature-and-biosynthesis-
plants/23404
6. https://th.wikipedia.org/wiki/จิบเบอเรลลิน
7. http://www.student.chula.ac.th/~56370053/gibberellins.html
8. http://www.plantmediashop.com/store/article/view/อิทธิพลและประโยชน์ของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน
ในการผลิตพืช-51977-th.html
9. http://www.kasetkawna.com/article/188/ฮอร์โมนพืช-จิบเบอเรลลิน
18
1
ภาคผนวก
1. รูปแสดง การจัดหาซื้อต้นไม้และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ
2. รูปแสดง ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(ชนิดเม็ด)
3. รูปแสดง การผสมฮอร์โมนลงในขวดน้า ปริมาตร 1 ลิตร
19
1
4. รูปแสดงการเทสารละลายฮอร์โมนลงในอุปกรณ์ฉีด(ฟ็อกกี้)
5. รูปแสดง สารละลายฮอร์โมนความเข้มข้นต่างๆที่บรรจุอยู่ในอุปกรณ์ฉีด และ ขวดฮอร์โมน
6. รูปแสดง การวัดความสูงของลาต้นพุดพิชญา
20
1
7. รูปแสดงการฉีดสารละลายฮอร์โมน
8. รูปแสดง การดูแลต้นไม้กาจัดวัชพืช และหอยทาก
21
1
9. รูปแสดง หอยทาก
10. รูปแสดง การตรวจประเมินครั้งที่ 1
11. รูปแสดง การตรวจประเมินครั้งที่ 2
22
1
12. รูปแสดง ต้นพุดพิชญาก่อนการทดลอง
13. รูปแสดง ต้นพุดพิชญาหลังการทดลอง (ชุด high dose)
14. รูปแสดง ต้นพุดพิชญาหลังการทดลอง (ชุด low dose)
23
1
15. รูปแสดงต้นพุดพิชญาหลังการทดลอง (ชุดควบคุม)

More Related Content

What's hot

M6 143 60_6
M6 143 60_6M6 143 60_6
M6 143 60_6
Wichai Likitponrak
 
M6 126 60_3
M6 126 60_3M6 126 60_3
M6 126 60_3
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
Wichai Likitponrak
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
Wichai Likitponrak
 
M6 143 60_3
M6 143 60_3M6 143 60_3
M6 143 60_3
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_2
M6 78 60_2M6 78 60_2
M6 78 60_2
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_4
M6 125 60_4M6 125 60_4
M6 125 60_4
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
Wichai Likitponrak
 
M6 144 60_10
M6 144 60_10M6 144 60_10
M6 144 60_10
Wichai Likitponrak
 
M6 126 60_8
M6 126 60_8M6 126 60_8
M6 126 60_8
Wichai Likitponrak
 

What's hot (20)

M6 143 60_6
M6 143 60_6M6 143 60_6
M6 143 60_6
 
M6 126 60_3
M6 126 60_3M6 126 60_3
M6 126 60_3
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
 
Pptgst uprojectbanana62
Pptgst uprojectbanana62Pptgst uprojectbanana62
Pptgst uprojectbanana62
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
M6 143 60_8
M6 143 60_8M6 143 60_8
M6 143 60_8
 
Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
 
M6 143 60_3
M6 143 60_3M6 143 60_3
M6 143 60_3
 
M6 125 60_6
M6 125 60_6M6 125 60_6
M6 125 60_6
 
656 pre3
656 pre3656 pre3
656 pre3
 
M6 78 60_2
M6 78 60_2M6 78 60_2
M6 78 60_2
 
M6 125 60_4
M6 125 60_4M6 125 60_4
M6 125 60_4
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
Lesson2 plantrepro
Lesson2 plantreproLesson2 plantrepro
Lesson2 plantrepro
 
M6 78 60_4
M6 78 60_4M6 78 60_4
M6 78 60_4
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFIDโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
โครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง อุปกรณ์ระบบการเข้าชั้นเรียนด้วย RFID
 
Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561Lesson2plantreproduction2561
Lesson2plantreproduction2561
 
M6 144 60_10
M6 144 60_10M6 144 60_10
M6 144 60_10
 
Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62Lesson3 plantgrowth wichaitu62
Lesson3 plantgrowth wichaitu62
 
M6 126 60_8
M6 126 60_8M6 126 60_8
M6 126 60_8
 

Similar to M6 125 60_2

M6 144 60_7
M6 144 60_7M6 144 60_7
M6 144 60_7
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
Wichai Likitponrak
 
M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
Wichai Likitponrak
 
M6 126 60_10
M6 126 60_10M6 126 60_10
M6 126 60_10
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
Wichai Likitponrak
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
Wichai Likitponrak
 
M6 143 60_7
M6 143 60_7M6 143 60_7
M6 143 60_7
Wichai Likitponrak
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
Wichai Likitponrak
 
M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
Wichai Likitponrak
 

Similar to M6 125 60_2 (20)

M6 144 60_7
M6 144 60_7M6 144 60_7
M6 144 60_7
 
M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
 
M6 78 60_5
M6 78 60_5M6 78 60_5
M6 78 60_5
 
M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
 
M6 78 60_7
M6 78 60_7M6 78 60_7
M6 78 60_7
 
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำโครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
โครงงานเปรียบเทียบการใช้ปุ๋ยน้ำ
 
M6 126 60_10
M6 126 60_10M6 126 60_10
M6 126 60_10
 
M6 78 60_10
M6 78 60_10M6 78 60_10
M6 78 60_10
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
M6 143 60_7
M6 143 60_7M6 143 60_7
M6 143 60_7
 
M6 78 60_8
M6 78 60_8M6 78 60_8
M6 78 60_8
 
1 ปก
1 ปก1 ปก
1 ปก
 
M6 143 60_4
M6 143 60_4M6 143 60_4
M6 143 60_4
 
Herbarium Group2 Room825
Herbarium Group2 Room825Herbarium Group2 Room825
Herbarium Group2 Room825
 
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่มบท1พันธุกรรมเพิ่ม
บท1พันธุกรรมเพิ่ม
 
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖ บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
บทความเชียงใหม่สัตวเเพทยสาร ปีที่ ๑๑ ฉบับที่ ๑ พ.ศ. ๒๕๕๖
 
โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์โครงงานฉบับสมบูรณ์
โครงงานฉบับสมบูรณ์
 
บท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืชบท4ตอบสนองพืช
บท4ตอบสนองพืช
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
Pp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormonePp tbio5lessonplanthormone
Pp tbio5lessonplanthormone
 

More from Wichai Likitponrak

Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
Wichai Likitponrak
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
Wichai Likitponrak
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 
Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61Pptgst uprojectcoconut61
Pptgst uprojectcoconut61
 
Pptgst uprojectplastic62
Pptgst uprojectplastic62Pptgst uprojectplastic62
Pptgst uprojectplastic62
 

M6 125 60_2

  • 1. โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อความสูงลาต้นของต้นพุดพิชญา นาเสนอครูผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่งครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1.นางสาวเกวลิน ลอรัชวี เลขที่ 1 2.นางสาวทรรศิดา แก่นแก้ว เลขที่ 4 3.นาวสาวนภสร ซุ่นห้อง เลขที่ 8 4.นางสาวสิริยากร วัฒนเพ็ญไพบูลย์ เลขที่ 24 5.นายภูเบศ สุรธนะสกุล เลขที่ 38 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชาชีววิทยา 5 (ว 30245) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 2. ก คานา รายงานฉบับนี้จัดทาขึ้นเพื่อประกอบการเรียนรายวิชา ว30245 ชีววิทยา5 โดยมีจุดประสงค์ตาม โครงการสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียนตามพระราชดาริของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี อีกทั้งเพื่อให้คณะผู้จัดทาได้ทาการศึกษา ค้นคว้า ทดลองผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อความสูง ของลาต้นพุดพิชญาและนามาสร้างเป็นตารางและกราฟ เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการเปรียบเทียบความสูงที่ เพิ่มขึ้นตามความเข้มข้นของฮอร์โมนที่แตกต่างกัน ซึ่งสามารถนาไปใช้ประกอบการเรียนการสอนของ คณาจารย์และผู้ศึกษาได้ ทั้งนี้ขอขอบพระคุณอาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ อาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ตลอดจนผู้ที่ให้การ สนับสนุนเสมอมาเป็นอย่างสูง ที่กรุณาให้คาแนะนาข้อเสนอแนะต่างๆ คณะผู้จัดทาหวังว่ารายงาน โครงงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่มีความสนใจไม่มากก็น้อย คณะผู้จัดทา
  • 3. ข บทคัดย่อ โครงงานทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อความสูงลาต้น ของต้นพุดพิชญา มีวัตถุประสงค์คือ 1) เพื่อสนองพระราชดาริในการดาเนินงานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน เตรียมอุดมศึกษา ในพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี 2) เพื่อศึกษาว่าฮอร์โมน จิบเบอเรลลินมีผลต่อความสูงลาต้นของต้นพุดพิชญา 3) เพื่อศึกษาฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้น เหมาะสมต่อการเจริญเติบโตของต้นพุดพิชญา การทดลองฉีดฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้นต่างๆในปริมาณเท่ากันให้ต้นพุดพิชญาในแต่ละ ชุดการทดลอง โดยแบ่งเป็น ชุด high dose ชุด low dose และชุดควบคุม ซึ่งมีความเข้มข้นของฮอร์โมนจิบ เบอเรลลิน 0.001% 0.0005% และ 0 % มวล/ปริมาตร ตามลาดับ โดยเก็บข้อมูลด้วยวิธีการวัดความสูงลาต้น จากโคนถึงยอด และนาข้อมูลดิบไปผ่านกระบวนการวิเคราะห์ต่อไป ผลการทดลองพบว่าการทดลองชุด low dose มีการเจริญเติบโตมากที่สุด รองลงมาคือการทดลอง ชุด high dose และชุดควบคุม ตามลาดับ จากผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลต่อ ความสูงของลาต้นพุดพิชญา โดยฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้น 0.0005% มวล/ปริมาตร เหมาะสมต่อ การเจริญเติบโตของต้นพุดพิชญามากที่สุด
  • 4. ค กิตติกรรมประกาศ โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อความสูงลา ต้นของต้นพุดพิชญา จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือจาก อาจารย์ประจารายวิชาชีววิทยา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 อาจารย์วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ที่ช่วยให้คาปรึกษา และให้คาแนะนาในการปรับปรุง พัฒนาโครงงานให้ดีขึ้น โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ที่เอื้อเฟื้อสถานที่ในการทาโครงงาน ขอขอบคุณผู้ปกครอง ที่ให้ความช่วยเหลือในด้านต่าง ๆ และให้กาลังใจตลอดมา คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา
  • 5. สารบัญ เรื่อง หน้า คานา ก บทคัดย่อ ข กิตติกรรมประกาศ ค บทที่1 บทนา 1 บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง 4 บทที่3 การดาเนินงาน 10 บทที่4 ผลการทดลอง 13 บทที่5 สรุปและข้อเสนอแนะ 16 บรรณานุกรม 17 ภาคผนวก 18
  • 6. 1 บทที่ 1 บทนา ชื่อโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อความสูงลาต้นของต้นพุดพิชญา สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช 1. นางสาวเกวลิน ลอรัชวี 2. นางสาวทรรศิดา แก่นแก้ว 3. นางสาวนภสร ซุ่นห้อง 4. นางสาวสิริยากร วัฒนเพ็ญไพบูลย์ 5. นายภูเบศ สุรธนะสกุล นักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 125 สายการเรียนวิทยาศาสตร์ – คณิตศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา อาจารย์ผู้สอน นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ครู คศ.1 สาขาวิชาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่มาและความสาคัญ เนื่องจาก ต้นพุดพิชญาเป็นพืชในสกุลโมกซึ่งนาเข้าจากศรีลังกา มีดอกสีขาวบริสุทธิ์ เป็นความ สวยงามของสิ่งแวดล้อม สามารถนาไปเป็นไม้ประดับใส่แจกันตกแต่งได้อีกทั้งยังทาหน้าที่เป็นผู้ผลิตซึ่งมี ความสาคัญต่อระบบนิเวศเป็นอย่างมาก มีส่วนในการเพิ่มแก๊สออกซิเจนให้กับโลกของเราอีกด้วย นอกจากนี้ ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินซึ่งเป็นฮอร์โมนพืชโมเลกุลขนาดใหญ่ เป็นตัวควบคุมการเจริญเติบโต มี อิทธิพลกับพืชในหลายด้าน เช่น การยืดของข้อการงอก การพักตัว การออกดอก ออกผล เป็นต้น โดยเป้าหมายในการศึกษาของโครงงานชิ้นนี้คือฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้นต่างๆ มีผลต่อการ เจริญเติบโตของต้นพุดพิชญาหรือไม่ คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช จึงมีความสนใจที่จะศึกษาผลของฮอร์โมนจิบ เบอเรลลินที่มีต่อความสูงลาต้นของต้นพุดพิชญา โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาว่าฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผล ต่อความสูงของต้นพุดพิชญาหรือไม่ และ ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้นเท่าใด มีผลต่อการเจริญของ ลาต้นดีที่สุด คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชมีความมุ่งหวังเป็นอย่างยิ่งว่าผลที่ได้จะมี ประโยชน์ต่อเกษตรกร นักเรียน นักศึกษา นักวิจัย ที่มีความสนใจได้ศึกษาค้นคว้าเพิ่มเติมในอนาคตต่อไป คาถามการทาโครงงาน สารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้นใดจะส่งผลให้ต้นพุดพิชญามีความสูงลาต้นมากที่สุด สมมติฐานการทดลอง ถ้าฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้น 0.001% m/v มีผลต่อการเจริญของลาต้นดีที่สุด ดังนั้น สารละลายฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้น 0.001% m/v จะทาให้ลาต้นมีความสูงมากที่สุด
  • 7. 2 1 วัตถุประสงค์ของโครงงาน 1. เพื่อศึกษาว่าฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลต่อความสูงลาต้นของต้นพุดพิชญาหรือไม่ 2. เพื่อเปรียบเทียบฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้นต่างๆว่าจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้นใด มีผล ต่อการเจริญของลาต้นดีที่สุด ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้รับความรู้ความเข้าใจเรื่องฮอร์โมนจิบเบอเรลลินและการเจริญเติบโตของต้นพุดพิชญา 2. ได้ศึกษาเปรียบเทียบฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่ความเข้มข้นต่างๆ 3. เป็นการส่งเสริมทักษะการทางานของสมาชิกในกลุ่ม รวมไปถึงการแก้ปัญหาเฉพาะหน้าและ ความสามัคคีภายในกลุ่ม ขอบเขตของโครงงาน การทาโครงงานครั้งนี้คณะผู้รับผิดชอบมุ่งเน้นที่จะศึกษาเฉพาะฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีผลต่อ ความสูงลาต้นของต้นพุดพิชญาโดยแบ่งชุดการทดลองเป็น 3 ชุด คือชุด high dose ชุด low dose และชุด ควบคุม ซึ่งมีความเข้มข้น 0.001% 0.0005% และ 0 % มวล/ปริมาตร ตามลาดับ โดยจัดทาการทดลองขึ้นที่ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา ตัวแปรที่เกี่ยวข้อง ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของจิบเบอเรลลิน ตัวแปรตาม คือ ความสูงลาต้นของต้นพุดพิชญา ตัวแปรควบคุม คือ อายุพืช ปริมาณดิน ขนาดกระถางต้นไม้อุณหภูมิ ปริมาณน้าและความชื้น ปริมาณแสงแดด ช่วงระยะเวลาในการทาโครงงาน 14 มิถุนายน พ.ศ. 2560– 3 สิงหาคม พ.ศ. 2560 วิธีการเก็บข้อมูล การใช้เชือกทาบวัดความสูงของต้นไม้โดยวัดจากโคนต้นจนถึงยอด ซึ่งคณะผู้รับผิดชอบโครงงาน การทดลองฮอร์โมนพืชได้ทาสัญลักษณ์ไว้ที่โคนต้นเพื่อลดความคลาดเคลื่อน วัดความยาวเชือกที่ได้โดยใช้ ไม้บรรทัดที่มีมาตรฐาน พร้อมจดบันทึกผลการวัดความสูงลงในตารางแบบบันทึกที่ได้ออกแบบไว้
  • 8. 3 1 วิธีการวิเคราะห์ผลข้อมูล คณะผู้รับผิดชอบโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชได้นาความสูงที่วัดได้ในแต่ละยอดมาหาค่าเฉลี่ย จะได้ความสูงเฉลี่ยของต้นไม้1ต้นไม้โดยนาความสูงแต่ละต้นที่อยู่ในชุดการทดลองเดียวกัน มาหาค่าเฉลี่ย อีกครั้ง จะได้ความสูงเฉลี่ยของกลุ่มชุดการทดลองนั้นๆ โดยจะหาความสัมพันธ์ระหว่างความสูงลาต้นกับ เวลาในรูปแบบกราฟเส้นและมีกราฟแท่งประกอบเพื่อความชัดเจน สังเกตและวิเคราะห์การเจริญเติบโตของ ต้นพุดพิชญาโดยดูจากแนวโน้มความชันของกราฟเส้น
  • 9. 4 1 บทที่2 เอกสารที่เกี่ยวข้อง ต้นพุดพิชญา 1. ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Wrightia antidysenterica R.Br. 2. วงศ์ : APOCYNACEAE ชื่อท้องถิ่น : Inda ,พุดพิชญา 4. ชื่อสามัญ : Coral Swirl 5. นาเข้าจากประเทศ : ศรีลังกา 6. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ 1.) ชนิด/ขนาด : ไม้พุ่มขนาดกลาง เรือนยอดทรงพุ่มรูปไข่ สูง1-2เมตร 2.) ลาต้น : ลาต้นตั้งตรงกิ่งก้านสีน้าตาลแดง ผิวเรียบ มียางสีขาว 3.) ใบ : ใบเดี่ยว ออกลักษณะตรงข้าม รูปใบหอกแกมรูป ขอบขนาน ปลายใบแหลม โคนใบมน ขอบใบเรียบ ผิวใบด้านบนสีเขียวเข้ม ด้านล่างสีเขียวอ่อน มีขนาด แผ่นใบกว้าง3.5เซนติเมตร ยาวเซนติเมตร 4.) ดอก : ออกเป็นช่อกระจุกออกตามซอกใบที่ปลายกิ่ง ช่อหนึ่ง มี 5-6 ดอก กลีบเลี้ยงสีเขียวอ่อนปนเหลือง ดอกสีขาว โคนกลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอดแคบ ปลายแยกเป็น 5 กลีบ ดอกบานเต็มที่ขนาด 1.5-2.5 ซม. กลางดอกมี รยางค์เป็นแผ่น รูปแถบคล้ายขี้ผึ้ง ปลายแยกเป็นริ้ว 2-5 ริ้ว เกสรเพศผู้สีเหลือง ก้านดอกยาวประมาณ 2 ซม. ออกดอกตลอดปี ไม่มีกลิ่น 5.) ที่อยู่ : บริเวณที่มีดินร่วนปนทราย ระบายน้าดี ไม่ทนดินเค็ม มีแสงแดดตลอดวัน มีความชื้นและปริมาณน้าปานกลาง 6.) ขยายพันธุ์ : ปักชา ตอนกิ่ง
  • 10. 5 1 ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(Gibberellin) 1. ความหมาย จิบเบอเรลลิน (Gibberellin) เป็นฮอร์โมนพืชที่มีโครงสร้างโมเลกุลขนาดใหญ่ บทบาททาง สรีรวิทยาที่สาคัญของจิบเบอเรลลินคือช่วยเพิ่มความสูงของพืชที่เกิด จากการยืดตัวของข้อ 2. การค้นพบ การค้นพบจิบเบอเรลลินเริ่มจากการศึกษาต้นข้าวที่เป็นโรค Bakanae ซึ่งมีลักษณะสูง ผอม เกิดจาก เชื้อรา Gibberella fujikuroiในประเทศญี่ปุ่นตั้งแต่ พ.ศ. 2471 เมื่อสกัดสารที่เชื้อรานี้สร้างขึ้นไปทดสอบกับ พืชชนิดอื่นพบว่าทาให้พืชนั้นๆมีอาการอย่างเดียวกันคือต้นผอม สูง จึงตั้งชื่อสารที่พบนี้ว่าจิบเบอเรลลิน สารที่พบชนิดแรกตั้งชื่อว่าจิบเบอเรลลินเอ ต่อมามีการพบอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิกจากราอีกหลาย ชนิด การสกัดสารจิบเบอเรลลินจากพืชทาได้สาเร็จครั้งแรกเมื่อ พ.ศ. 2511 โดยแยกได้จากเมล็ดถั่วใน ปริมาณที่ต่ามาก 3.ลักษณะทางเคมี จิบเบอเรลลินเป็นสารกลุ่มไดเทอร์พีนอยด์มีโครงสร้างหลักเป็นent-gibberellane ที่สังเคราะห์มา จาก ent-kaurene โดยจิบเบอเรลลินเป็นอนุพันธ์ของกรดจิบเบอเรลลิก(Gibberellic acid) ปัจจุบันพบแล้ว มากกว่า80ชนิด
  • 11. 6 1 4.การสังเคราะห์ การสังเคราะห์จิบเบอเรลลินในพืชชั้นสูงเริ่มจากสร้าง Geranylgeranyl diphosphate (GGDP) ซึ่ง เป็นสารตั้งต้นของสารกลุ่มดีเทอร์พีนอยด์โดยทั่วไป จากนั้นจึงเปลี่ยน GGDP ไปเป็น ent-kaurene แล้วจึง เปลี่ยนเป็น GA12แล้วจึงเปลี่ยนต่อไปเป็นจิบเบอเรลลินตัวอื่นๆ จากการศึกษาโดยวิธี Diffusion Technique แสดงให้เห็นว่าใบอ่อน ผลอ่อน และต้นอ่อนเป็นส่วน ที่สร้าง จิบเบอเรลลินของพืช โดยรากพืชอาจจะสามารถสร้างจิบเบอเรลลิน ได้บ้าง แต่จิบเบอเรลลินมีผล ต่อการเจริญของรากน้อยมาก และอาจจะระงับการสร้างรากแขนงพวก Adventitious Root ด้วย ในปัจจุบัน ยังไม่มีการสังเคราะห์ จิบเบอเรลลิน เนื่องจากกระบวนการสร้างซับซ้อนและต้องใช้เอนไซม์หลายชนิด ดังนั้นจิบเบอเรลลินที่พบในปัจจุบันจึงเป็นสารธรรมชาติทั้งสิ้น มีจุลินทรีย์หลายชนิดที่สร้างจิบเบอเรลลินได้เช่น แบคทีเรีย ไซยาโนแบคทีเรีย ยีสต์ สาหร่ายสีเขียว สาหร่ายสีน้าตาล สาหร่ายสีแดง รวมทั้งราไมคอไรซาในรากกล้วยไม้โดยในรามีวิธีการผลิตจิบเบอเรลลินค ล้ายกับพืชชั้นสูงแม้ว่าเอนไซม์ที่เกี่ยวข้องจะต่างออกไป
  • 12. 7 1 5. การระงับการสังเคราะห์จิบเบอเรลลิน ในปัจจุบันมีสารชะงักการเจริญเติบโต เช่น CCC หรือ Cycocel AM0-1618 Phosfon-Dและ SADH หรือ Alar ซึ่งใช้กันมากในการเกษตร สารเหล่านี้บางชนิดสามารถระงับ กระบวนการสังเคราะห์ จิบเบอเรลลินได้เช่น AMO-1618สามารถระงับการสังเคราะห์จิบเบอเรลลินในอาหารสารอง (Endosperm) ของแตงกวาป่า โดยระงับในช่วงการเปลี่ยน Geranylgeranyl pyrophosphate ไปเป็น Kaurene ในทานอง เดียวกัน CCC สามารถระงับกระบวนการนี้ได้ด้วย 6. การสลายตัวของจิบเบอเรลลิน ความรู้ทางด้านนี้ยังมีไม่มากนัก แต่มีหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าจิบเบอเรลลินมีกิจกรรมทาง สรีรวิทยาอยู่ได้เป็นระยะเวลานานในเนื้อเยื่อพืช และในเนื้อเยื่อพืชที่มีจิบเบอเรลลินอยู่สูงจะไม่แสดงผลเสีย อย่างไรก็ตามจิบเบอเรลลินสามารถเปลี่ยนจากชนิดหนึ่งไปเป็นจิบเบอเรลลินอีกชนิดหนึ่งได้ใน เนื้อเยื่อพืช ยิ่งไปกว่านั้นในเนื้อเยื่อพืชยังมีจิบเบอเรลลินในรูปของไกลโคไซด์(Glycosides) ซึ่งอาจจะเป็น วิธีการทาให้จิบเบอเรลลินไม่สามารถแสดงคุณสมบัติออกมา กรดจิบเบอเรลลิคซึ่งอยู่ในสภาพสารละลายถูก ทาให้สลายตัวได้โดยใช้ Acid Hydrolysis ที่อุณหภูมิสูงและได้ผลิตภัณฑ์คือกรดจิบเบอเรลลีนิค (Gibberellenic Acid) และกรดจิบเบอริค (Gibberic Acid) 7. บทบาทของจิบเบอเรลลินต่อพืช - กระตุ้นการขยายตัวของเซลล์โดยการเพิ่มความยืดหยุ่นของผนังเซลล์ ทาให้เซลล์มีรูปร่างยืดยาว ขึ้น - กระตุ้นการเจริญของรากโดยเฉพาะการเจริญของรากแรกเกิด (Radicle) รากต้องการจิบเบอเรลลิน ในปริมาณที่น้อยกว่าลาต้น เช่นรากต้องการ GA3 ในระดับนาโนโมลาร์ แต่ยอดต้องการในระดับ ไมโครโมลาร์ - จิบเบอเรลลินมีผลต่อพัฒนาการของดอกโดยเฉพาะพัฒนาการของก้านชูเกสรตัวผู้และกลีบดอก - กระตุ้นการติดผลในพืชหลายชนิด เช่น ส้ม มะเขือเทศ องุ่น การได้รับจิบเบอเรลลินช่วยให้เกิด การติดผลโดยไม่ต้องผสมเกสรได้
  • 13. 8 1 - กระตุ้นการงอกของเมล็ด แสงสีแดงกระตุ้นการงอกของเมล็ดได้โดยกระตุ้นให้มีการสร้าง จิบเบอเรลลินมากขึ้น - การเปลี่ยนเพศดอก จิบเบอเรลลินช่วยทาให้พืชตระกูลแตงหรือพืชที่แยกดอกตัวผู้และดอกตัวเมีย เกิดดอกตัวผู้มากขึ้นได้ซึ่งเป็นประโยชน์ต่อการปรับปรุงพันธุ์พืช - จิบเบอเรลลินช่วยทาลายระยะพักตัวของพืชทั้งการพักตัวของตาและเมล็ด โดยข่มฤทธิ์ของABA ซึ่งทาให้เกิดระยะพักตัว - หลังการงอก จิบเบอเรลลินสนับสนุนการยืดตัวของข้อและการแผ่ขยายของใบ - ควบคุมให้พืชอยู่ในสภาวะอ่อนวัย เช่นการทาให้ใบของ Hedera helix คงอยู่ในสภาพของใบใน ระยะอ่อนวัยซึ่งมีความสวยงามกว่าใบในระยะเต็มวัยพร้อมสืบพันธุ์ได้ - กระตุ้นการออกดอก การได้รับจิบเบอเรลลินสามารถทดแทนความต้องการช่วงแสงยาวในช่วง กลางวันของพืช วันยาว และความต้องการความหนาวเย็นก่อนออกดอกของพืชได้ 8.บทบาทของจิบเบอเรลลินต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆ จิบเบอเรลลินสามารถกระตุ้นการเจริญของแบคทีเรีย (เช่น Azotobactor Pseudomonas) ยีสต์ และรา ได้เช่นกัน จิบเบอเรลลินยังสามารถกระตุ้นการตรึงไนโตรเจนและการเจริญเติบโตของ Anabaena ได้ด้วย 9.การเคลื่อนที่ของจิบเบอเรลลิน จิบเบอเรลลินสามารถเคลื่อนย้ายหรือเคลื่อนที่ในพืชได้ทั้งทางเบสิพีตัล และอะโครพีตัล และการ เคลื่อนที่ไม่มีโพลาริตี้ การเคลื่อนย้ายเกิดขึ้นทั้งในส่วนของท่ออาหารและท่อน้าแต่การเคลื่อนที่ของจิบเบอ เรลลินจากยอดอ่อนลงมาสู่ส่วนล่างของลาต้นนั้นไม่ได้เกิดในท่อน้า ท่ออาหารเพราะส่วนของยอดอ่อนเป็น ส่วนที่ดึงอาหารและธาตุอาหารให้เคลื่อนที่ขึ้นไปแบบอะโครพีตัลดังนั้นจิบเบอเรลลินจึงไม่ได้เคลื่อนที่ทาง ท่ออาหาร และยังไม่ทราบวิถีการเคลื่อนที่แน่ชัด 10.ประโยชน์ของจิบเบอเรลลิน - เพิ่มผลผลิต : เพิ่มขนาดของใบผัก - เพิ่มการติดผล : เป็นการติดผลโดยไม่ต้องผสมเกสร มักใช้กับมะเขือเทศ องุ่น ส้ม - เพิ่มขนาดผล : ใช้กับองุ่นจากดอกคาร์ดินัลและลูซเพอร์เบทท์ในไทย - เพิ่มความยาวของช่อดอกและผล: ตอบสนองได้ดีในองุ่น - เปลี่ยนเพศดอก: ตอบสนองได้ดีในพืชตระกูลแตง เช่น แตงกวา ฟักทอง - ชะลอการออกดอก : ชะลอการออกดอกในช่วงที่ไม่ต้องการ เพื่อให้มีการสะสมอาหารและพร้อม สาหรับการออกดอกในเวลาต่อมา มักใช้กับ ส้ม มะม่วง แอปเปิล
  • 14. 9 1 - กระตุ้นการแทงช่อดอก : ใช้กับพืชที่มีการห่อปลีแน่นจนไม่สามารถแทงช่อดอกได้เช่น กะหล่าปลี ผักกาดขาว ผักกาดหอมห่อ ผักกาดเขียวปลี - ชะลอการแก่และการสุก: ช่วยในการเก็บรักษาผลผลิต - ทาลายการพักตัวของตาและเมล็ด
  • 15. 10 1 บทที่ 3 การดาเนินงาน วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 1. กระถางต้นไม้ จานวน 9 กระถาง 2. ฟ็อกกี้ จานวน 3 อัน 3. ขวดน้า(ใส่น้า) 1 ลิตร จานวน 3 ขวด 4. เส้นเชือกในการวัดความสูง จานวน 1 เส้น 5. ไม้บรรทัด จานวน 1 อัน 6. ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน จานวน 15 มิลลิกรัม 7. ป้ายชื่อปักต้นไม้ จานวน 7 ป้าย ขั้นตอนการทาโครงงาน 1. ประชุมวางแผนคัดเลือกหัวข้อโครงงานที่สนใจ ซึ่งคือ การศึกษาผลของฮอร์โมนจิบเบอเรลลินที่มีต่อ ความสูงลาต้นของต้นพุดพิชญา 2. ศึกษาและค้นคว้าหาข้อมูลเกี่ยวกับโครงงานดังนี้ 2.1. ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ของต้นพุดพิชญา 2.2. ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(ชนิดเม็ด) 3. จัดซื้อต้นพุดพิชญาฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน และวัสดุอุปกรณ์อื่นๆที่จาเป็น 4. วางแผนรายละเอียดการทดลอง โดยแบ่งเป็น 3 ชุด ชุดละ 3 ต้น ดังนี้ 4.1. ชุดที่ 1 (high dose) ฉีดสารละลายฮอร์โมนที่มีความเข้มข้น 0.001 % m/v 4.2. ชุดที่ 2 (low dose) ฉีดสารละลายฮอร์โมนที่มีความเข้มข้น 0.0005 % m/v 4.3. ชุดที่ 3 (control) ฉีดสารละลายฮอร์โมนที่มีความเข้มข้น 0 % m/v (น้า) 5. จัดหาสถานที่ที่ใช้ในการทาการทดลอง โดยจัดว่างเว้นระยะห่างพอสมควรเป็นลาดับดังนี้ คือเรียงจาก ชุด high dose ชุด low dose และชุดควบคุม เพื่อไม่ให้เป็นปัญหาในการฉีดฮอร์โมน ที่มีความเข้มข้นต่างกัน และจัดทาป้ายชื่อต้นไม้ 6. ปรึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา ในเรื่องของการจัดเตรียมสารละลาย 7. เตรียมวัสดุอุปกรณ์และสารเคมี เพื่อนามาเตรียมสารละลายซึ่งมีดังนี้ 7.1. ฟ็อกกี้ จานวน 3 อัน 7.2. ขวดน้า(ใส่น้า) 1 ลิตร จานวน 3 ขวด 7.3.ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(ชนิดเม็ด) จานวน 15 มิลลิกรัม
  • 16. 11 โดยมีขั้นตอนการเตรียมสารละลายดังนี้ 1. เตรียมสารละลายฮอร์โมนที่มีความเข้มข้น 0.001 % m/v โดยการใส่เม็ดฮอร์โมน จานวน 10 มิลลิกรัมในขวดน้า1 ลิตร เขย่าให้เป็นเนื้อเดียวกัน 2. เตรียมสารละลายฮอร์โมนที่มีความเข้มข้น 0.0005 % m/v โดยการใส่เม็ดฮอร์โมน จานวน 5 มิลลิกรัมในขวดน้า1 ลิตร เขย่าให้เป็นเนื้อเดียวกัน 3. นา ขวดทั้ง3 ขวดซึ่งมีความเข้มข้น 0.001 % m/v 0.0005 % m/v และ 0% m/v แยกใส่ลงในฟ็อกกี้แต่ละอัน 8. ขั้นตอนกระบวนการทาการทดลอง 8.1. ตอนที่ 1 การฉีดสารละลายฮอร์โมนความเข้มข้นต่างๆ โดยจะฉีดฮอร์โมนความเข้มข้นต่างกันในปริมาณที่เท่ากันในแต่ละชุดทดลองในทุกๆวัน เริ่มฉีดเมื่อวันที่ 14 มิ.ย. 2560 โดยมีเวรในการรับผิดชอบดังนี้ ตารางผู้รับผิดชอบฉีดฮอร์โมนพืชในแต่ละวัน วันจันทร์ ภูเบศ วันอังคาร เกวลิน วันพุธ ทรรศิดา วันพฤหัสบดี สิริยากร วันศุกร์ นภสร 8.2. ตอนที่ 2 การเปรียบเทียบความสูงลาต้นของชุดทดลองต่างๆโดยการวัด 8.2.1. นาปากกาลบคาผิดไปทาเครื่องหมายบริเวณโคนต้นของทุกต้น 8.2.2. วัดความสูงครั้งแรกของแต่ละต้นโดยนาเชือกยาวมาวัดจากโคนสู่ยอด 8.2.3. นาความยาวของเชือกที่วัดได้ไปเปรียบเทียบกับความยาวไม้บรรทัดแล้วบันทึกผล 8.2.4. ทาการวัดซ้าในวันอังคารของทุกๆสัปดาห์ 8.2.5. นาข้อมูลที่เฉลี่ยของแต่ละต้น เฉลี่ยของแต่ละชุดทดลอง พร้อมทั้ง ค่าเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นมาใส่ ในตาราง หมายเหตุ ทาการวัดทุกๆกิ่งในแต่ละต้นแล้วนามาหาค่าเฉลี่ยเพื่อความแม่นยา
  • 17. 12 1 ตารางกาหนดการวัดความสูงของลาต้นพุดพิชญา ครั้งที่ 1 14/6/2560 ครั้งที่ 2 20/6/2560 ครั้งที่ 3 27/6/2560 ครั้งที่ 4 4/7/2560 ครั้งที่ 5 11/7/2560 ครั้งที่ 6 18/7/2560 ครั้งที่ 7 1/8/2560 9. สรุปผล อภิปราย และเสนอต่อ อาจารย์ที่ปรึกษา เป็นระยะ 10. จัดทาเอกสารเป็นรูปเล่มโครงงานให้สมบูรณ์ 11. จัดทาสื่ออภิปรายแสดงผลการทดลอง 12. นาเสนอโครงงาน
  • 18. 13 1 บทที่4 ผลการทดลอง ตารางบันทึกผลการทดลอง วัน/เดือน/ปี ความสูงเฉลี่ยจากโคนต้นถึงปลายแต่ละกิ่งของต้นพุดพิชญา(Cm) ชุดควบคุม ชุด Low Dose ชุด High Dose 1 2 3 เฉลี่ย 1 2 3 เฉลี่ย 1 2 3 เฉลี่ย วันที่ 14 มิ.ย. 2560 31.3 31.1 29.9 30.8 31.8 33.8 32.1 32.6 31.6 29.4 32.9 31.3 วันที่ 20 มิ.ย. 2560 31.4 31.4 31.0 31.3 32.3 34.5 32.8 33.2 31.9 29.7 33.3 31.6 วันที่ 27 มิ.ย. 2560 31.6 31.5 31.1 31.4 32.6 35.4 33.7 33.7 32.3 30.1 33.6 32.0 วันที่ 4 ก.ค. 2560 31.7 31.7 31.3 31.6 32.9 36.0 34.3 34.4 32.8 30.3 34.1 32.4 วันที่ 11 ก.ค. 2560 31.9 32.0 31.5 31.8 33.2 36.7 34.6 34.8 33.1 30.8 34.4 32.8 วันที่ 18 ก.ค. 2560 32.1 32.3 31.7 32.0 33.6 37.2 35.3 35.4 33.5 31.1 34.8 33.1 วันที่ 1 ส.ค. 2560 32.2 32.5 31.9 32.2 34.1 37.9 36.1 36.0 33.9 31.6 35.1 33.5 ค่าความสูงเฉลี่ยที่เพิ่มขึ้นต่อ ครั้งที่ตรวจ (Cm) ชุดควบคุม ชุด Low Dose ชุด High Dose 0.2 0.5 0.3
  • 19. 30.8 31.3 31.4 31.6 31.8 32 32.2 32.6 33.2 33.7 34.4 34.8 35.4 36 31.3 31.6 32 32.4 32.8 33.1 33.5 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 วันที่ 14 มิ. ย. 2560 วันที่ 20 มิ. ย. 2560 วันที่ 27 มิ. ย. 2560 วันที่ 4 ก.ค. 2560 วันที่ 11 ก.ค. 2560 วันที่ 18 ก.ค. 2560 วันที่ 1 ส.ค. 2560 ความสูง(ซ.ม.) เวลา กราฟเส้นความสูงเฉลี่ยของต้นพุดพิชญา(ซ.ม.) ชุดควบคุม ชุด Low Dose 14 1 กราฟแท่งแสดงผลการทดลอง กราฟเส้นแสดงผลการทดลอง 30.8 31.3 31.4 31.6 31.8 32 32.2 32.6 33.2 33.7 34.4 34.8 35.4 36 31.3 31.6 32 32.4 32.8 33.1 33.5 28 29 30 31 32 33 34 35 36 37 วันที่ 14 มิ.ย. 2560 วันที่ 20 มิ.ย. 2560 วันที่ 27 มิ.ย. 2560 วันที่ 4 ก.ค. 2560 วันที่ 11 ก.ค. 2560 วันที่ 18 ก.ค. 2560 วันที่ 1 ส.ค. 2560 ความสูง(ซ.ม.) เวลา กราฟแผนภูมิแท่งของความสูงเฉลี่ยต้นพุดพิชญา (ซ.ม.) ชุดควบคุม ชุด Low Dose ชุด High Dose
  • 20. 15 1 วิเคราะห์ผลการทดลอง จากการทดลองใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลินกับต้นพุดพิชญา พบว่าต้นพุดพิชญา กลุ่มLow Dose มีการ เปลี่ยนแปลงความสูงมากที่สุด รองลงมาจะเป็นต้นพุดพิชญา กลุ่ม High Dose ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงความสูง ระดับปานกลาง และสุดท้ายคือ ต้นพุดพิชญา กลุ่ม ควบคุมที่มีการเปลี่ยนแปลงความสูงเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
  • 21. 16 1 บทที่5 สรุปและข้อเสนอแนะ สรุปผลการทดลอง จากการศึกษาและติดตามผลการเพิ่มความสูงของต้นพุดพิชญา เมื่อใช้ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน พบว่าชุด Low dose มีการเพิ่มความสูงของลาต้นมากที่สุด ชุด Highdose มีการเพิ่มความสูงลาต้นรองลงมา และกลุ่มที่ มีการเพิ่มของความสูงลาต้นน้อยที่สุดคือชุดควบคุม ซึ่งสามารถสรุปได้ว่าฮอร์โมนจิบเบอเรลลินมีผลต่อ ความสูงของต้นพุดพิชญา โดยจะทาให้ต้นพุดพิชญามีความสูงเพิ่มมากขึ้น แต่ต้องใช้ความเข้มข้นของ ฮอร์โมนที่เหมาะสม ข้อเสนอแนะ เนื่องจากข้อจากัดและลักษณะของสถานที่ ทาให้ต้นพุดพิชญาแต่ละชุดอาจได้รับแสงในปริมาณที่ไม่ เท่ากัน อาจทาให้เกิดความลาดเคลื่อน จึงควรหาสถานที่เหมาะสมและสามารถจัดต้นไม้ทุกชุดให้ได้รับแสง ในปริมาณที่ใกล้เคียงกันได้มากที่สุด
  • 22. 17 1 บรรณานุกรม 1. http://book.baanlaesuan.com/plant-library/indrajao_winter/ 2. https://th.wikipedia.org/wiki/พุดพิชญา 3. https://sites.google.com/a/takongwit.ac.th/botanic/khxmul-phrrn-mi/057-phud-phichya 4. http://www.tankonyvtar.hu/en/tartalom/tamop412A/2011_0009_Levai_Laszlo_Veres_Szilvia- Applied_Plant_Physiology/ch13.html 5. http://www.biologydiscussion.com/plants/gibberellins-discovery-chemical-nature-and-biosynthesis- plants/23404 6. https://th.wikipedia.org/wiki/จิบเบอเรลลิน 7. http://www.student.chula.ac.th/~56370053/gibberellins.html 8. http://www.plantmediashop.com/store/article/view/อิทธิพลและประโยชน์ของฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน ในการผลิตพืช-51977-th.html 9. http://www.kasetkawna.com/article/188/ฮอร์โมนพืช-จิบเบอเรลลิน
  • 23. 18 1 ภาคผนวก 1. รูปแสดง การจัดหาซื้อต้นไม้และวัสดุอุปกรณ์ต่างๆ 2. รูปแสดง ฮอร์โมนจิบเบอเรลลิน(ชนิดเม็ด) 3. รูปแสดง การผสมฮอร์โมนลงในขวดน้า ปริมาตร 1 ลิตร
  • 24. 19 1 4. รูปแสดงการเทสารละลายฮอร์โมนลงในอุปกรณ์ฉีด(ฟ็อกกี้) 5. รูปแสดง สารละลายฮอร์โมนความเข้มข้นต่างๆที่บรรจุอยู่ในอุปกรณ์ฉีด และ ขวดฮอร์โมน 6. รูปแสดง การวัดความสูงของลาต้นพุดพิชญา
  • 25. 20 1 7. รูปแสดงการฉีดสารละลายฮอร์โมน 8. รูปแสดง การดูแลต้นไม้กาจัดวัชพืช และหอยทาก
  • 26. 21 1 9. รูปแสดง หอยทาก 10. รูปแสดง การตรวจประเมินครั้งที่ 1 11. รูปแสดง การตรวจประเมินครั้งที่ 2
  • 27. 22 1 12. รูปแสดง ต้นพุดพิชญาก่อนการทดลอง 13. รูปแสดง ต้นพุดพิชญาหลังการทดลอง (ชุด high dose) 14. รูปแสดง ต้นพุดพิชญาหลังการทดลอง (ชุด low dose)