SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
Download to read offline
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนไซโทไคนินที่มีต่อ
จานวนใบของต้นชบา
สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช
น.ส.ชณาณัณฑ์ แกมทอง ห้อง 78 เลขที่ 3
น.ส.ชุติกาญจน์ แซ่ลิ้ม ห้อง 78 เลขที่ 7
นายภัทร โกมลภิส ห้อง 78 เลขที่ 34
นายมัชฌิมา จิระวิโรจน์ ห้อง 78 เลขที่ 37
คานา
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชเป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา ซึ่งจะทาให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้า
และทดลอง รวมไปถึงได้วิเคราะห์และอภิปรายผลเพื่อต่อยอดเป็นความรู้เพิ่มเติม รายงานเล่มนี้ประกอบไป
ด้วย ปัญหา ที่มาและความสาคัญ ข้อมูลรายละเอียดพืชและฮอร์โมนที่ใช้ทดลอง สมมติฐานการทดลอง
จุดประสงค์ของการทดลอง ตัวแปรการทดลอง อุปกรณ์ ระยะเวลาในการทดลอง วิธีการเก็บข้อมูล ขั้นตอน
การทดลอง ผลการทดลอง สรุปและข้อเสนอแนะ และบรรณานุกรม
โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนไซโทไคนินที่มีต่อจานวนใบของต้น
ชบา จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือและคาแนะนาจากอาจารย์ วิชัย ลิขิตพรรักษ์ อาจารย์ผู้
ตรวจดูความเรียบร้อยของโครงงาน ขอขอบคุณผู้ปกครองที่ให้การสนับสนุนเรื่องต้นไม้ และขอขอบคุณรงเรียน
เตรียมอุดมศึกษาที่อานวยความสะดวกในเรื่องสถานที่ในการทดลอง
คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดทา
สารบัญ
ที่มาและความสาคัญ 1
สมมติฐานการทดลอง 2
จุดประสงค์ของการทดลอง 2
ระยะเวลาในการทดลอง 2
ตัวแปรการทดลอง 2
ข้อมูลรายละเอียดพืชและฮอร์โมนที่ใช้ทดลอง 3
อุปกรณ์ 6
วิธีการเก็บข้อมูล 7
ขั้นตอนการทดลอง 7
ผลการทดลอง 8
สรุปและข้อเสนอแนะ 9
ภาคผนวก 10
บรรณานุกรม 11
1
ที่มาและความสาคัญ
เนื่องจากต้นชบาเป็นต้นไม้ที่เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย มีสีสันของต้นที่โดดเด่น และสามารถ
นาไปใช้ประโยชน์ได้ในหลายๆด้าน เช่น ส่วนของใบชบา สามารถช่วยรักษาแผลไฟไหม้น้าร้อนลวกได้ ด้วยการ
ใช้ใบชบา นามาตาให้แหลก แล้วนามาพอกบริเวณที่เป็นแผล ก็จะช่วยรักษาแผลได้ อีกทั้งใบชบาสามารถช่วย
บารุงผมให้ดกดาเงางาม
ดังนั้นส่วนของต้นชบา ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้มากที่สุดคือใบ และผู้ปลูกมักจะมีความต้องการที่จะ
ดูแลต้นชบาให้มีจานวนใบที่มากและแข็งแรง จากการศึกษาจึงพบว่าฮอร์โมนไซโทไคนิน มีผลต่อการ
เจริญเติบโตของใบได้ดี
คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผลที่ได้จากการทาโครงงานในครั้งนี้จะมีประโยชน์ต่อผู้ศึกษาและ
สามารถนาไปพัฒนาการเจริญเติบโตของพืชได้ต่อไปในอนาคตข้างหน้า
2
คาถามทาการทดลอง
สารละลายฮอร์โมนไซโทไคนินความเข้มข้นใด ที่ส่งผลให้ต้นชบามีจานวนใบเพิ่มขึ้นมากที่สุด
สมมติฐานการทดลอง
ถ้าฮอร์โมนไซโทไคนินที่ความเข้มข้น 0.001% โดยปริมาตร มีผลต่อจานวนใบของต้นชบา ดังนั้น
สารละลายฮอร์โมนไซโทไคนินที่ความเข้มข้น 0.001% โดยปริมาตร จะทาให้ต้นชบามีการเพิ่มจานวนใบมาก
ที่สุด
วัตถุประสงค์ของโครงงาน
เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนไซโทไคนินต่อต้นชบา
ขอบเขตการวิจัย
การทาโครงงานครั้งนี้ศึกษาจานวนใบที่เพิ่มขึ้นตั้งแต่วันที่ 23 มิถุนายน 2560 ถึง 13 กรกฎาคม 2560
โดยจนบันทึกผลการทดลองทุกวันจันทร์และวันพฤหัสบดี เป็นระยะเวลา 6 ครั้ง
ตัวแปร
ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของฮอร์โมนไซโทไคนิน
ตัวแปรตาม คือ จานวนใบของต้นชบา
ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณดิน อุณหภูมิ แสงแดด ปริมาณน้า อายุพืช
3
ต้นชบา
ชื่อวิทยาศาสตร์: Hibiscus rosa-sinensis L.
ชื่ออื่น: -
วงศ์: MALVACEAE
ลักษณะทั่วไป
ลาต้น
ไม้พุ่มขนาดกลาง สูง 2-4 ม.
ลาต้นเป็นไม้เนื้ออ่อน
ส่วนเปลือกจะเหนียวมาก เป็นเมือกลื่น
ใบ
ใบเรียงสลับ ใบเดี่ยว รูปไข่ กว้าง 5-9 ซม. ยาว 7-12 ซม.
โคนใบมนหรือกว้าง ปลายใบแหลม ขอบใบหยักมนหรือ จักฟันเลื่อยหรือเว้าเป็น 3 พู แผ่นใบบาง สีเขียวเข้ม
ก้านยาว 2-4ซม.
มีหูใบแบบ free lateral stipule
4
ดอก
ดอกเดี่ยวออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง กลีบดอกชั้นเดียวถึงดอกซ้อน
เส้นผ่านศูนย์กลาง 7-15 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีเขียว กลีบดอก 5 กลีบ
มีสีต่างๆ เช่น แดง ชมพู ส้ม ขาว เหลือง ปลายกลีบดอกมนและกลม
ก้านเกสรเพศเมียและเพศผู้เชื่อมกันเป็นหลอดยาว โผล่พ้นกลีบดอก
ผล
ผลเดี่ยวแบบ capsule สีน้าตาล
เมื่อแก่จะแห้งและแตกเป็น 5 แฉก
5
ประโยชน์จากชบา
1. ช่วยแก้ประจาเดือนไม่มา หรือมาช้า ด้วยการใช้ดอกชบา 3 ดอกนามาบดให้ละเอียด แล้วผสมกับน้า
มะนาว 2 ช้อนโต๊ะ (หรือจะผสมกับนม 1 แก้วก็ได้) แล้วนามาดื่มตอนท้องว่างในช่วงเช้า จะช่วยปรับ
เรื่องประจาเดือนได้ (ดอก)
2. ดอกชบาใช้ปรุงเป็นยาบารุงประจาเดือน ด้วยการใช้กลีบดอกชบาผสมกับน้าตาลอ้อยหรือน้าตาลปี๊ปอ
ย่างละเท่า ๆ กัน ใส่ลงไปในโถแก้วมีฝาปิด แล้วเอาโถแก้วไปตากแดดทิ้งไว้ประมาณ 3 สัปดาห์
น้าตาลก็จะละลายผสมกับดอกชบา แล้วยามากินครั้งละ 2 ช้อนชา วันละสองครั้งติดต่อกันประมาณ
3 สัปดาห์ (ดอก)
3. ใบชบาสามารถช่วยรักษาแผลไฟไหม้น้าร้อนลวกได้ ด้วยการใช้ใบชบาหรือฐานของดอกชบาก็ได้
นามาตาให้แหลก แล้วนามาพอกบริเวณที่เป็นแผล ก็จะช่วยรักษาแผลได้ (ใบ)
4. เปลือกต้นชบาสามารถใช้รักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อราได้ (เปลือก)
5. รากสด ๆ ของชบาพันธุ์ดอกขาวหรือแดง นามาตาละเอียดใช้พอกฝีได้ (ราก)
6. ช่วยแก้อาการฟกช้าบวม ด้วยการใช้รากสดของชบาพันธุ์ดอกขาวหรือแดงนามาตาให้ละเอียด ใช้พอก
แก้อาการฟกช้า (ราก)
7. ใบชบาช่วยบารุงผมให้ดกดาเงางาม ด้วยการใช้ใบชบาประมาณ 1 กามือ ล้างให้สะอาด แล้วนามาตา
ให้แหลก เติมน้าเล็กน้อย ให้คั้นเอาแต่น้าแล้วกรองกากทิ้ง หลังจากนั้นให้ใช้น้าเมือกจากใบชบามาใช้
สระผม จะช่วยชาระล้างสิ่งสกปรกและช่วยบารุงผมด้วย (ใบ)
8. สามารถนามาใช้ทาเป็นสีย้อมผ้าได้ โดยจะให้สีดา เพราะในอดีตมีการนามาใช้ย้อมผม ย้อมขนตา หรือ
นาไปทารองเท้า (จึงเป็นที่มาของ Shoe flower หรือดอกรองเท้านั่นเอง) (ดอก)
9. เปลือกของต้นชบาสามารถนามาใช้ทาเป็นเชือก หรือใช้ทอกระสอบได้อีกด้วย (เปลือก)
10. ต้นชบานิยมปลูกไว้เป็นแนวรั้วเพื่อชมดอก เพราะนอกจากจะให้ความสวยงามแล้วยังปลูกง่าย
แข็งแรง และตายยากอีกด้วย (ต้นชบา)
11. ดอกเหมาะสาหรับนามาร้อยเป็นพวงมาลัย เพราะมีสีสดใสและดอกโต
6
ฮอร์โมนไซโทไคนิน
ไซโตไคนิน (Cytokinin) เป็นกลุ่มของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีบทบาทสาคัญในการควบคุม
การแบ่งเซลล์ การขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์พืช มีผลต่อการข่มของตายอด การเจริญของตาข้าง
และการชราของใบ การออกฤทธิ์ของสารกลุ่มนี้ค้นพบในน้ามะพร้าว
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. ต้นชบา
2. ฮอร์โมนไซโทไคนิน
3. น้า
4. กระบอกฉีดน้าฟ็อกกี้
5. กระถาง
6. ป้ายบอกรายละเอียด
7. ถาดรองกระถาง
7
ขั้นตอนการทดลอง
1. ประชุมวางแผนการทาโครงงาน
2. ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโครงงาน
3. เลือกซื้อต้นชบา, ฮอร์โมนไซโทไคนิน และอุปกรณ์อื่นๆ
4. นาต้นชบามาปลูกที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
5. จัดเตรียมสารละลายฮอร์โมนให้มีความเข้มข้น 0.001% โดยปริมาตร และ 0.0005% โดยปริมาตร
6. แบ่งการทดลองออกเป็นสามชุด ได้แก่ ชุด High dose, ชุด Low dose และชุดควบคุม
7. จดบันทึกจานวนใบที่เพิ่มขึ้น
8. รดน้าและให้สารละลายฮอร์โมนที่มีความเข้มข้นต่างกันสาหรับแต่ละชุดการทดลองทุกวันตั้งแต่วันที่
23 มิถุนายน 2560 จนถึงวันที่ 13 กรกฎาคม 2560
9. สรุปและอภิปรายผลการทดลอง
วิธีการเก็บข้อมูลการทดลอง
1. นับจานวนใบทั้งหมดของต้นชบาก่อนเริ่มศึกษาและทดลอง พร้อมทั้งทาสัญลักษณ์แสดงเอกลักษณ์
2. รดน้าและให้สารละลายฮอร์โมนทุกวัน
3. นับจานวนใบที่เพิ่มขึ้นโดยไม่นับใบที่มีสัญลักษณ์อยู่แล้ว หลังจากที่นับจานวนใบที่เพิ่มขึ้นของครั้งนั้นๆ
แล้วให้ทาสัญลักษณ์เพิ่มลงที่ใบที่นับ
4. บันทึกผลการทดลองที่ได้
8
ตารางแสดงจานวนใบของต้นชบาที่เพิ่มในแต่ละวันที่ตรวจวัด
ครั้งที่ ว/ด/ป
จานวนใบที่เกิดขึ้นของต้นชบา (ใบ)
ชุดควบคุม ชุด Low dose (0.0005%) ชุด High dose(0.001%)
ต้นที่1 ต้นที่2 ต้นที่3 ต้นที่1 ต้นที่2 ต้นที่3 ต้นที่1 ต้นที่2 ต้นที่3
1 26/06/60 - - - - - - - - -
2 29/06/60 1 - 1 3 3 4 5 6 6
3 03/07/60 1 2 1 4 3 3 6 5 5
4 06/07/60 - 1 1 2 3 2 4 6 6
5 10/07/60 1 1 2 2 1 3 5 6 4
6 13/07/60 1 - 1 2 2 3 6 5 6
จานวนใบเฉลี่ย 1 1 1 3 2 3 5 5 5
กราฟแท่งแสดงจานวนใบของต้นชบาที่เพิ่มขึ้นในแต่ละวันที่ตรวจวัด
0
2
4
6
8
26/6/2560
27/6/2560
28/6/2560
29/6/2560
30/6/2560
1/7/2560
2/7/2560
3/7/2560
4/7/2560
5/7/2560
6/7/2560
7/7/2560
8/7/2560
9/7/2560
10/7/2560
11/7/2560
12/7/2560
13/7/2560
จำนวนใบที่เกิดขึ้นของต้นชบำ
วันที่ทำกำรวัด
กรำฟแท่งแสดงจำนวนใบของต้นชบำที่เพิ่มขึ้นในแต่ละวันที่ตรวจวัด
ชุดควบคุม ต้นที่1 ชุดควบคุม ต้นที่2 ชุดควบคุม ต้นที่3
ชุด Low dose ต้นที่1 ชุด Low dose ต้นที่2 ชุด Low dose ต้นที่3
ชุด High dose ต้นที่1 ชุด High dose ต้นที่2 ชุด High dose ต้นที่3
9
สรุปผลการทดลอง
จากที่คณะผู้จัดทาได้แบ่งชุดการทดลองออกเป็นสามชุด ได้แก่ ชุด High dose ชุด Low dose และ
ชุดควบคุม จากผลการทดลองสามารถสรุปได้ว่า ต้นมะกรูดจะเจริญเติบโตได้ดีเมื่อให้ฮอร์โมนไซโทไคนินใน
ระดับ High dose หรือ 0.001% โดยปริมาตร และจะเจริญเติบโตได้ปานกลางเมื่อให้ฮอร์โมนไซโทไคนินใน
ระดับ Low dose หรือ 0.0005% โดยปริมาตร
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
ควรระวังหนอนและหอยทากระหว่างศึกษาและทาการทดลอง เนื่องจากอาจจะมีหนอนหรือหอยทาก
มากินใบของต้นชบาทาให้ผลการทดลองที่ได้ผิดพลาดได้
10
ภาคผนวก
11
บรรณานุกรม
https://medthai.com/%E0%B8%94%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B8%8A%E0%B8%9A%E0
%B8%B2/
http://www.homeidea.in.th
http://www.il.mahidol.ac.th/e-
media/plants/webcontent3/interactive_key/key/describ/chaba.html

More Related Content

What's hot (20)

Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60Plant hor 3_77_60
Plant hor 3_77_60
 
M6 78 60_6
M6 78 60_6M6 78 60_6
M6 78 60_6
 
M6 125 60_3
M6 125 60_3M6 125 60_3
M6 125 60_3
 
Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60Plant hor 8_77_60
Plant hor 8_77_60
 
Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60Plant hor 5_77_60
Plant hor 5_77_60
 
Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60Plant hor 4_77_60
Plant hor 4_77_60
 
Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60Plant hor 10_77_60
Plant hor 10_77_60
 
Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60Plant hor 6_77_60
Plant hor 6_77_60
 
Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60Plant hor 2_77_60
Plant hor 2_77_60
 
M6 125 60_8
M6 125 60_8M6 125 60_8
M6 125 60_8
 
M6 144 60_8
M6 144 60_8M6 144 60_8
M6 144 60_8
 
M6 144 60_9
M6 144 60_9M6 144 60_9
M6 144 60_9
 
M6 125 60_10
M6 125 60_10M6 125 60_10
M6 125 60_10
 
M6 126 60_9
M6 126 60_9M6 126 60_9
M6 126 60_9
 
โครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืชโครงงานโรคพืช
โครงงานโรคพืช
 
M6 144 60_7
M6 144 60_7M6 144 60_7
M6 144 60_7
 
M6 144 60_2
M6 144 60_2M6 144 60_2
M6 144 60_2
 
M6 144 60_1
M6 144 60_1M6 144 60_1
M6 144 60_1
 
M6 144 60_5
M6 144 60_5M6 144 60_5
M6 144 60_5
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 

Similar to M6 78 60_3

Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korTheyok Tanya
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยNick Nook
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านChok Ke
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)Onin Goh
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งWichai Likitponrak
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815BellNattanan
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815BellNattanan
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน09nattakarn
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน09nattakarn
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรNattakarntick
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1krujaew77
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบBiobiome
 

Similar to M6 78 60_3 (20)

Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 kor
 
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอยโครงงาน เพาว์เวอร์พอย
โครงงาน เพาว์เวอร์พอย
 
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้านโครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
โครงงานชาผักสมุนไพรพื้นบ้าน
 
Com (1)
Com (1)Com (1)
Com (1)
 
โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)โครงงานงานคอม (2)
โครงงานงานคอม (2)
 
File
FileFile
File
 
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้งBiomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
Biomapcontest2014 กะหล่ำปุ้ง
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815
 
orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815orangejasmineherbarium815
orangejasmineherbarium815
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
Biology
BiologyBiology
Biology
 
001 3
001 3001 3
001 3
 
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพรโครงงานลูกประคบสมุนไพร
โครงงานลูกประคบสมุนไพร
 
Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10Bio project m.5 group10
Bio project m.5 group10
 
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
แผนพอเพียงหรรษาวิทย์ม.1
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
โครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบโครงสร้างภายในของใบ
โครงสร้างภายในของใบ
 
Biocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytimeBiocontest2014 happytime
Biocontest2014 happytime
 
931 pre8
931 pre8931 pre8
931 pre8
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

M6 78 60_3

  • 1. โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนไซโทไคนินที่มีต่อ จานวนใบของต้นชบา สมาชิกโครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช น.ส.ชณาณัณฑ์ แกมทอง ห้อง 78 เลขที่ 3 น.ส.ชุติกาญจน์ แซ่ลิ้ม ห้อง 78 เลขที่ 7 นายภัทร โกมลภิส ห้อง 78 เลขที่ 34 นายมัชฌิมา จิระวิโรจน์ ห้อง 78 เลขที่ 37
  • 2. คานา โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืชเป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา ซึ่งจะทาให้นักเรียนได้ศึกษาค้นคว้า และทดลอง รวมไปถึงได้วิเคราะห์และอภิปรายผลเพื่อต่อยอดเป็นความรู้เพิ่มเติม รายงานเล่มนี้ประกอบไป ด้วย ปัญหา ที่มาและความสาคัญ ข้อมูลรายละเอียดพืชและฮอร์โมนที่ใช้ทดลอง สมมติฐานการทดลอง จุดประสงค์ของการทดลอง ตัวแปรการทดลอง อุปกรณ์ ระยะเวลาในการทดลอง วิธีการเก็บข้อมูล ขั้นตอน การทดลอง ผลการทดลอง สรุปและข้อเสนอแนะ และบรรณานุกรม โครงงานการทดลองฮอร์โมนพืช เรื่อง การศึกษาผลของฮอร์โมนไซโทไคนินที่มีต่อจานวนใบของต้น ชบา จะสาเร็จลุล่วงไม่ได้ถ้าไม่ได้รับการช่วยเหลือและคาแนะนาจากอาจารย์ วิชัย ลิขิตพรรักษ์ อาจารย์ผู้ ตรวจดูความเรียบร้อยของโครงงาน ขอขอบคุณผู้ปกครองที่ให้การสนับสนุนเรื่องต้นไม้ และขอขอบคุณรงเรียน เตรียมอุดมศึกษาที่อานวยความสะดวกในเรื่องสถานที่ในการทดลอง คณะผู้จัดทาโครงงานขอขอบคุณท่านที่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดทา
  • 3. สารบัญ ที่มาและความสาคัญ 1 สมมติฐานการทดลอง 2 จุดประสงค์ของการทดลอง 2 ระยะเวลาในการทดลอง 2 ตัวแปรการทดลอง 2 ข้อมูลรายละเอียดพืชและฮอร์โมนที่ใช้ทดลอง 3 อุปกรณ์ 6 วิธีการเก็บข้อมูล 7 ขั้นตอนการทดลอง 7 ผลการทดลอง 8 สรุปและข้อเสนอแนะ 9 ภาคผนวก 10 บรรณานุกรม 11
  • 4. 1 ที่มาและความสาคัญ เนื่องจากต้นชบาเป็นต้นไม้ที่เป็นที่รู้จักกันอย่างแพร่หลาย มีสีสันของต้นที่โดดเด่น และสามารถ นาไปใช้ประโยชน์ได้ในหลายๆด้าน เช่น ส่วนของใบชบา สามารถช่วยรักษาแผลไฟไหม้น้าร้อนลวกได้ ด้วยการ ใช้ใบชบา นามาตาให้แหลก แล้วนามาพอกบริเวณที่เป็นแผล ก็จะช่วยรักษาแผลได้ อีกทั้งใบชบาสามารถช่วย บารุงผมให้ดกดาเงางาม ดังนั้นส่วนของต้นชบา ที่สามารถใช้ประโยชน์ได้มากที่สุดคือใบ และผู้ปลูกมักจะมีความต้องการที่จะ ดูแลต้นชบาให้มีจานวนใบที่มากและแข็งแรง จากการศึกษาจึงพบว่าฮอร์โมนไซโทไคนิน มีผลต่อการ เจริญเติบโตของใบได้ดี คณะผู้จัดทาหวังเป็นอย่างยิ่งว่า ผลที่ได้จากการทาโครงงานในครั้งนี้จะมีประโยชน์ต่อผู้ศึกษาและ สามารถนาไปพัฒนาการเจริญเติบโตของพืชได้ต่อไปในอนาคตข้างหน้า
  • 5. 2 คาถามทาการทดลอง สารละลายฮอร์โมนไซโทไคนินความเข้มข้นใด ที่ส่งผลให้ต้นชบามีจานวนใบเพิ่มขึ้นมากที่สุด สมมติฐานการทดลอง ถ้าฮอร์โมนไซโทไคนินที่ความเข้มข้น 0.001% โดยปริมาตร มีผลต่อจานวนใบของต้นชบา ดังนั้น สารละลายฮอร์โมนไซโทไคนินที่ความเข้มข้น 0.001% โดยปริมาตร จะทาให้ต้นชบามีการเพิ่มจานวนใบมาก ที่สุด วัตถุประสงค์ของโครงงาน เพื่อศึกษาผลของฮอร์โมนไซโทไคนินต่อต้นชบา ขอบเขตการวิจัย การทาโครงงานครั้งนี้ศึกษาจานวนใบที่เพิ่มขึ้นตั้งแต่วันที่ 23 มิถุนายน 2560 ถึง 13 กรกฎาคม 2560 โดยจนบันทึกผลการทดลองทุกวันจันทร์และวันพฤหัสบดี เป็นระยะเวลา 6 ครั้ง ตัวแปร ตัวแปรต้น คือ ความเข้มข้นของฮอร์โมนไซโทไคนิน ตัวแปรตาม คือ จานวนใบของต้นชบา ตัวแปรควบคุม คือ ปริมาณดิน อุณหภูมิ แสงแดด ปริมาณน้า อายุพืช
  • 6. 3 ต้นชบา ชื่อวิทยาศาสตร์: Hibiscus rosa-sinensis L. ชื่ออื่น: - วงศ์: MALVACEAE ลักษณะทั่วไป ลาต้น ไม้พุ่มขนาดกลาง สูง 2-4 ม. ลาต้นเป็นไม้เนื้ออ่อน ส่วนเปลือกจะเหนียวมาก เป็นเมือกลื่น ใบ ใบเรียงสลับ ใบเดี่ยว รูปไข่ กว้าง 5-9 ซม. ยาว 7-12 ซม. โคนใบมนหรือกว้าง ปลายใบแหลม ขอบใบหยักมนหรือ จักฟันเลื่อยหรือเว้าเป็น 3 พู แผ่นใบบาง สีเขียวเข้ม ก้านยาว 2-4ซม. มีหูใบแบบ free lateral stipule
  • 7. 4 ดอก ดอกเดี่ยวออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง กลีบดอกชั้นเดียวถึงดอกซ้อน เส้นผ่านศูนย์กลาง 7-15 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีเขียว กลีบดอก 5 กลีบ มีสีต่างๆ เช่น แดง ชมพู ส้ม ขาว เหลือง ปลายกลีบดอกมนและกลม ก้านเกสรเพศเมียและเพศผู้เชื่อมกันเป็นหลอดยาว โผล่พ้นกลีบดอก ผล ผลเดี่ยวแบบ capsule สีน้าตาล เมื่อแก่จะแห้งและแตกเป็น 5 แฉก
  • 8. 5 ประโยชน์จากชบา 1. ช่วยแก้ประจาเดือนไม่มา หรือมาช้า ด้วยการใช้ดอกชบา 3 ดอกนามาบดให้ละเอียด แล้วผสมกับน้า มะนาว 2 ช้อนโต๊ะ (หรือจะผสมกับนม 1 แก้วก็ได้) แล้วนามาดื่มตอนท้องว่างในช่วงเช้า จะช่วยปรับ เรื่องประจาเดือนได้ (ดอก) 2. ดอกชบาใช้ปรุงเป็นยาบารุงประจาเดือน ด้วยการใช้กลีบดอกชบาผสมกับน้าตาลอ้อยหรือน้าตาลปี๊ปอ ย่างละเท่า ๆ กัน ใส่ลงไปในโถแก้วมีฝาปิด แล้วเอาโถแก้วไปตากแดดทิ้งไว้ประมาณ 3 สัปดาห์ น้าตาลก็จะละลายผสมกับดอกชบา แล้วยามากินครั้งละ 2 ช้อนชา วันละสองครั้งติดต่อกันประมาณ 3 สัปดาห์ (ดอก) 3. ใบชบาสามารถช่วยรักษาแผลไฟไหม้น้าร้อนลวกได้ ด้วยการใช้ใบชบาหรือฐานของดอกชบาก็ได้ นามาตาให้แหลก แล้วนามาพอกบริเวณที่เป็นแผล ก็จะช่วยรักษาแผลได้ (ใบ) 4. เปลือกต้นชบาสามารถใช้รักษาโรคผิวหนังที่เกิดจากเชื้อราได้ (เปลือก) 5. รากสด ๆ ของชบาพันธุ์ดอกขาวหรือแดง นามาตาละเอียดใช้พอกฝีได้ (ราก) 6. ช่วยแก้อาการฟกช้าบวม ด้วยการใช้รากสดของชบาพันธุ์ดอกขาวหรือแดงนามาตาให้ละเอียด ใช้พอก แก้อาการฟกช้า (ราก) 7. ใบชบาช่วยบารุงผมให้ดกดาเงางาม ด้วยการใช้ใบชบาประมาณ 1 กามือ ล้างให้สะอาด แล้วนามาตา ให้แหลก เติมน้าเล็กน้อย ให้คั้นเอาแต่น้าแล้วกรองกากทิ้ง หลังจากนั้นให้ใช้น้าเมือกจากใบชบามาใช้ สระผม จะช่วยชาระล้างสิ่งสกปรกและช่วยบารุงผมด้วย (ใบ) 8. สามารถนามาใช้ทาเป็นสีย้อมผ้าได้ โดยจะให้สีดา เพราะในอดีตมีการนามาใช้ย้อมผม ย้อมขนตา หรือ นาไปทารองเท้า (จึงเป็นที่มาของ Shoe flower หรือดอกรองเท้านั่นเอง) (ดอก) 9. เปลือกของต้นชบาสามารถนามาใช้ทาเป็นเชือก หรือใช้ทอกระสอบได้อีกด้วย (เปลือก) 10. ต้นชบานิยมปลูกไว้เป็นแนวรั้วเพื่อชมดอก เพราะนอกจากจะให้ความสวยงามแล้วยังปลูกง่าย แข็งแรง และตายยากอีกด้วย (ต้นชบา) 11. ดอกเหมาะสาหรับนามาร้อยเป็นพวงมาลัย เพราะมีสีสดใสและดอกโต
  • 9. 6 ฮอร์โมนไซโทไคนิน ไซโตไคนิน (Cytokinin) เป็นกลุ่มของสารควบคุมการเจริญเติบโตที่มีบทบาทสาคัญในการควบคุม การแบ่งเซลล์ การขยายตัวและการเปลี่ยนแปลงของเซลล์พืช มีผลต่อการข่มของตายอด การเจริญของตาข้าง และการชราของใบ การออกฤทธิ์ของสารกลุ่มนี้ค้นพบในน้ามะพร้าว วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี 1. ต้นชบา 2. ฮอร์โมนไซโทไคนิน 3. น้า 4. กระบอกฉีดน้าฟ็อกกี้ 5. กระถาง 6. ป้ายบอกรายละเอียด 7. ถาดรองกระถาง
  • 10. 7 ขั้นตอนการทดลอง 1. ประชุมวางแผนการทาโครงงาน 2. ศึกษาค้นคว้าเกี่ยวกับโครงงาน 3. เลือกซื้อต้นชบา, ฮอร์โมนไซโทไคนิน และอุปกรณ์อื่นๆ 4. นาต้นชบามาปลูกที่โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา 5. จัดเตรียมสารละลายฮอร์โมนให้มีความเข้มข้น 0.001% โดยปริมาตร และ 0.0005% โดยปริมาตร 6. แบ่งการทดลองออกเป็นสามชุด ได้แก่ ชุด High dose, ชุด Low dose และชุดควบคุม 7. จดบันทึกจานวนใบที่เพิ่มขึ้น 8. รดน้าและให้สารละลายฮอร์โมนที่มีความเข้มข้นต่างกันสาหรับแต่ละชุดการทดลองทุกวันตั้งแต่วันที่ 23 มิถุนายน 2560 จนถึงวันที่ 13 กรกฎาคม 2560 9. สรุปและอภิปรายผลการทดลอง วิธีการเก็บข้อมูลการทดลอง 1. นับจานวนใบทั้งหมดของต้นชบาก่อนเริ่มศึกษาและทดลอง พร้อมทั้งทาสัญลักษณ์แสดงเอกลักษณ์ 2. รดน้าและให้สารละลายฮอร์โมนทุกวัน 3. นับจานวนใบที่เพิ่มขึ้นโดยไม่นับใบที่มีสัญลักษณ์อยู่แล้ว หลังจากที่นับจานวนใบที่เพิ่มขึ้นของครั้งนั้นๆ แล้วให้ทาสัญลักษณ์เพิ่มลงที่ใบที่นับ 4. บันทึกผลการทดลองที่ได้
  • 11. 8 ตารางแสดงจานวนใบของต้นชบาที่เพิ่มในแต่ละวันที่ตรวจวัด ครั้งที่ ว/ด/ป จานวนใบที่เกิดขึ้นของต้นชบา (ใบ) ชุดควบคุม ชุด Low dose (0.0005%) ชุด High dose(0.001%) ต้นที่1 ต้นที่2 ต้นที่3 ต้นที่1 ต้นที่2 ต้นที่3 ต้นที่1 ต้นที่2 ต้นที่3 1 26/06/60 - - - - - - - - - 2 29/06/60 1 - 1 3 3 4 5 6 6 3 03/07/60 1 2 1 4 3 3 6 5 5 4 06/07/60 - 1 1 2 3 2 4 6 6 5 10/07/60 1 1 2 2 1 3 5 6 4 6 13/07/60 1 - 1 2 2 3 6 5 6 จานวนใบเฉลี่ย 1 1 1 3 2 3 5 5 5 กราฟแท่งแสดงจานวนใบของต้นชบาที่เพิ่มขึ้นในแต่ละวันที่ตรวจวัด 0 2 4 6 8 26/6/2560 27/6/2560 28/6/2560 29/6/2560 30/6/2560 1/7/2560 2/7/2560 3/7/2560 4/7/2560 5/7/2560 6/7/2560 7/7/2560 8/7/2560 9/7/2560 10/7/2560 11/7/2560 12/7/2560 13/7/2560 จำนวนใบที่เกิดขึ้นของต้นชบำ วันที่ทำกำรวัด กรำฟแท่งแสดงจำนวนใบของต้นชบำที่เพิ่มขึ้นในแต่ละวันที่ตรวจวัด ชุดควบคุม ต้นที่1 ชุดควบคุม ต้นที่2 ชุดควบคุม ต้นที่3 ชุด Low dose ต้นที่1 ชุด Low dose ต้นที่2 ชุด Low dose ต้นที่3 ชุด High dose ต้นที่1 ชุด High dose ต้นที่2 ชุด High dose ต้นที่3
  • 12. 9 สรุปผลการทดลอง จากที่คณะผู้จัดทาได้แบ่งชุดการทดลองออกเป็นสามชุด ได้แก่ ชุด High dose ชุด Low dose และ ชุดควบคุม จากผลการทดลองสามารถสรุปได้ว่า ต้นมะกรูดจะเจริญเติบโตได้ดีเมื่อให้ฮอร์โมนไซโทไคนินใน ระดับ High dose หรือ 0.001% โดยปริมาตร และจะเจริญเติบโตได้ปานกลางเมื่อให้ฮอร์โมนไซโทไคนินใน ระดับ Low dose หรือ 0.0005% โดยปริมาตร ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ควรระวังหนอนและหอยทากระหว่างศึกษาและทาการทดลอง เนื่องจากอาจจะมีหนอนหรือหอยทาก มากินใบของต้นชบาทาให้ผลการทดลองที่ได้ผิดพลาดได้