SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
สถานการณ์ปัญหา
(Problem-based learning)
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จะทาการจัดอบรมสัมมนาครูที่
สอนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานทั่วภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในหัวเรื่อง
เกี่ยวกับการนาเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์พิจารณา
แล้วเห็นว่าท่านมีความเหมาะสมที่จะทาหน้าที่เป็นผู้ช่วยวิทยากรให้ความรู้ใน
การสัมมนาดังกล่าว ในหัวข้อความหมาย พัฒนาการและขอบข่ายของ
เทคโนโลยีทางการศึกษาตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน และแนวโน้มในอนาคต ซึ่ง
ท่านจะต้องคอยให้คาแนะนาตลอดจนช่วยเหลือครูอาจารย์ที่เข้าร่วมอบรม
ภารกิจของผู้ช่วยวิทยากรต้องเตรียมความพร้อมให้กับตัวเองโดยการศึกษาข้อมูล
ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีทางการศึกษา
ภารกิจของ
ผู้ช่วยวิทยากร
1. สรุปสาระสาคัญเกี่ยวกับ ความหมายของเทคโนโลยี
และสื่อการศึกษา พร้อมทั้งเปรียบเทียบพัฒนาการทาง
เทคโนโลยีทางการศึกษาในช่วงยุคต่าง
เทคโนโลยี หมายถึง การนาแนวคิด หลักการ เทคนิค วิธีการ
กระบวนการ ตลอดจนผลิตผลทางวิทยาศาสตร์มาประยุกต์ใช้ในระบบงานต่างๆ
เพื่อปรับปรุงระบบงานนั้นๆ ให้ดีขึ้น และมีประสิทธิภาพ
สื่อการศึกษา หมายถึง วัสดุที่เสนอเนื้อหาสาระความรู้แก่ผู้รับ สื่ออาจเป็น
เครื่องมือ อุปกรณ์ในการนาเสนอ การเรียนการสอนในชั้นเรียน การบริการ
สารสนเทศในห้องสมุด ศูนย์สารสนเทศ จาเป็นต้องมีการเปลี่ยนแปลง เทคนิค
วิธีการ ให้ทันกับความก้าวหน้าและวิทยาการของโลก
ความหมายของเทคโนโลยี และสื่อการศึกษา
เทคโนโลยีการศึกษา หมายถึง เป็นกระบวนการที่มีการบรูณาการอย่างซับซ้อน
เกี่ยวกับบุคคล กรรมวิธี แนวคิด เครื่องมือ และองค์กรเพื่อนาไปใช้ในการ
วิเคราะห์ปัญหา สร้างประยุกต์ใช้ ประเมินผล และจัดการแก้ปัญหาต่างๆ
พัฒนาการทางเทคโนโลยีทางการศึกษา
1
2
3
การศึกษาช่วงเวลาดังกล่าวมีการพัฒนาการที่ช้ามาก การจัดการเรียนการ
สอนอยู่ในกลุ่มคนเล็ก ๆ การสื่อสารยังไม่เจริญ การจัดการศึกษาและพัฒนาการศึกษามี
ดังนี้
1. เทคโนโลยีการศึกษาของกลุ่มโซฟิสต์
รูปแบบการสอนของกลุ่มโซฟิสต์มี 3 ขั้นตอนคือ
- เตรียมคาบรรยายอย่างละเอียด
- เปิดโอกาสให้ผู้ฟังเสนอแนะให้บรรยายในสิ่งที่เขาต้องการรู้
- บรรยายตามความต้องการของผู้บรรยายหรือผู้ฟัง
2. เทคโนโลยีการศึกษาของโสเครติส (ค.ศ.399-470)
โสเครตีส เพลโตและเซโนฟอนลูกศิษย์ของเขาได้ทาการบันทึก
วิธีการสอนของเขาไว้วิธีการสอนของโสเครติส ที่อธิบายไว้ใน Plasto's
Meno นั้น มุ่งที่จะสอนให้ผู้เรียนเสาะแสวงหรือสืบเสาะหาความรู้ที่เหมาะสมเอง
จากการป้อนคาถามต่าง ๆ ที่เป็นการชี้แนะแนวทางให้ผู้ตอบได้ข้อคิด
3. เทคโนโลยีการศึกษาของอเบลาร์ด
ในระหว่างคริสต์ศตวรรษที่ 12 - 13 ยุโรปเริ่มตื่นตัวในเรื่องการจัดการ
เรียนการสอนแบบมีสถานศึกษาหรือโรงเรียน ซึ่งนับว่าเป็นวิธีใหม่แต่ก็ได้รับ
ความนิยมอย่างกว้างขวางจนถึงกับการให้สิทธิแก่ผู้สอนตั้งโรงเรียนในโบสถ์
หรือวัดได้
4.เทคโนโลยีทางการศึกษาของคอมินิอุส
หนังสือ Great Didactic เป็นหนังสือสำคัญที่สุดเกี่ยวกับ
เทคนิคกำรสอนของคอมินิอุส จุดมุ่งหมำยทำงกำรศึกษำของคอมินิอุส คือ
ควำมรู้ คุณธรรม และควำมเคร่งครัดในศำสนำ เขำเชื่อมั่นว่ำกำรศึกษำเป็น
เครื่องมือสำหรับเตรียมคนเพื่อดำรงชีพอยู่อย่ำงเป็นสุขมำกกว่ำที่จะให้กำรศึกษำ
เพื่อมีอำชีพหรือตำแหน่ง
1 เทคโนโลยีการศึกษาของแลนตาสเตอร์ วิธีกำรของเขำก็คือ กำรจัดสภำพ
ห้องเรียนและดำเนินกำรสอนแบบประหยัด รวมถึงกำรจัดระบบเนื้อหำวิชำที่เรียน
โดยพิจำรณำถึงระดับชั้น สำหรับกำรสอนนักเรียนเป็นชั้นหรือเป็นกลุ่ม
2 เทคโนโลยีการศึกษาของเปสตาลอสซี ทฤษฎีทำงกำรศึกษำของเปสตำลอส
ซี เป็นที่รู้จักกันดีจำกคำพูดของเขำเอง คือ "I wish to psychologize
Instruction" ซึ่งหมำยถึง กำรพยำยำมทำให้กำรสอนทั่วไปเข้ำกันได้กับควำม
เชื่อของเขำอย่ำงมีระเบียบและ ปรับปรุงพัฒนำไปด้วยกัน
3 เทคโนโลยีทางการศึกษาของฟรอเบลจุดมุ่งหมำยของนักกำรศึกษำก็คือกำร
ควบคุมดูแลเยำวชนให้เติบโตเป็น ผู้ใหญ่เท่ำนั้นเช่นเดียวกับจุดมุ่งหมำยของคนทำ
สวนคือกำรควบคุมดูแลต้นไม้ ต้นเล็ก ๆ ไปจนมันเจริญเติบโตออกดอกผลในที่สุด
อย่ำงไรก็ตำม กำรควบคุมดูแล ยังมีควำมหมำยกว้ำงออกไปถึงกำรควบคุม
พัฒนำกำรต่ำง ๆ โดยให้ผู้เรียนได้สัมผัสกับชีวิตจริงในฐำนะที่เขำเป็นส่วนหนึ่งของ
สังคมด้วย
4 เทคโนโลยีการศึกษาของแฮร์บาร์ท แฮร์บำร์ทได้วำงรำกฐำนเกี่ยวกับวิธีสอน
ของเขำโดยอำศัยระบบจิตวิทยำกำรเรียน รู้ นับได้ว่ำเขำได้เป็นผู้ริเริ่มจิตวิทยำกำร
เรียนรู้สมัยใหม่เป็นคนแรกที่สอด คล้องกับวิธีกำรของ Locke ที่
เรียกว่ำ Tabula Rasa (Blank Tablet) เกี่ยวกับทฤษฎีทำงจิต
1.เทคโนโลยีการศึกษาของธอร์นไดค์ ทฤษฎีสัมพันธ์เชื่อมโยงของธอร์นไดค์ ได้เน้นที่
ควำมสัมพันธ์เชื่อมโยงระหว่ำง สิ่งเร้ำ (Stimulus) กับกำรตอบสนอง (Response) เขำเชื่อว่ำ กำร
เรียนรู้จะเกิดขึ้นได้ด้วยกำรที่มนุษย์หรือสัตว์ได้เลือกเอำปฏิกิริยำตอบ สนองที่ถูกต้องนั้นมำเชื่อมต่อ
(Connect) เข้ำกับสิ่งเร้ำอย่ำงเหมำะสม
2.เทคโนโลยีการศึกษาของดิวอี้วิธีกำรทำงวิทยำศำสตร์สำหรับดิวอี้ให้ผลคุ้มค่ำก็คือวิธีกำร
ไตร่ตรอง (Reflective Method) หรือกำรพิจำรณำอย่ำงรอบคอบและแน่นอน เกี่ยวกับควำมเชื่อหรือ
แบบแผนของควำมรู้ที่เกิดขึ้น สำระของวิธีกำรแบบไตร่ตรองของดิวอี้มีอยู่ในหนังสือชื่อ How We
Think ซึ่งได้กล่ำวถึงกำรไตร่ตรองในฐำนะที่เป็นควำมเคลื่อนไหวทำงจิตวิทยำ
3. เทคโนโลยีการศึกษามอนเตสซอรี
แนวคิดพื้นฐานของวิธีสอนแบบมอนเตสซอรี เทคโนโลยีการศึกษาและการสอนของ
มอนเตสเซอรี มีลักษณะที่สำคัญอยู่ 3 ประกำร คือ
1.กำรจัดกิจกรรมของโรงเรียนให้เหมำะสมกับผู้เรียนแต่ละคน
2.แบ่งเด็กให้มีโอกำสทำงำนได้อย่ำงอิสระ โดยไม่ขึ้นอยู่กับครูผู้สอนฝ่ำยเดียว
3.เน้นในเรื่องลักษณะกำรแบ่งแยกระบบประสำทสัมผัส
2. จาแนกองค์ประกอบขอบข่ายของเทคโนโลยีทางการศึกษา
ว่ามีความสาคัญต่อการจัดการศึกษาในยุคปัจจุบันอย่างไร
เทคโนโลยีการศึกษา หมายถึง ทฤษฎีและการปฏิบัติใน
ขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบ การพัฒนา การใช้
การจัดการ และประเมินผลของกระบวนการและแหล่งการเรียน
สาหรับการเรียนรู้ ดังจะเห็นความสัมพันธ์ของขอบข่ายทั้ง 5
กำรออกแบบ
(Design)
กำรพัฒนำ
(Development)
กำรใช้
(Utilization)
กำรจัดกำร
(Management)
กำรประเมิน
(Evaluation)
1. การออกแบบ (Design)
เป็นขอบข่ายที่แสดงให้เห็นโครงร่างที่แสดงถึงความเชื่อมโยงระหว่างหลักการ
และทฤษฎีพื้นฐานต่างๆที่จะนาไปสร้างและพัฒนางานทางด้านเทคโนโลยีและ
สื่อการศึกษาอย่างเป็นรูปธรรม
- การออกแบบระบบการสอน เป็นการกาหนดการสอนทั้งหมด รวมทั้งจัด
ระเบียบ ขั้นตอน ที่หลอมรวมทั้งขั้นการวิเคราะห์ การออกแบบ การพัฒนา การ
นาไปใช้และการประเมินการเรียนการสอน
- การออกแบบสาร วางแผนสาหรับจัดทาสารให้ผู้เรียน รับรู้ ใส่ใจ
- กลยุทธ์การสอน ระบุการเลือกและลาดับเหตุการณ์ ตลอดจนกิจกรรมการ
เรียนรู้สาหรับบทเรียน
- คุณลักษณะของผู้เรียน เป็นสิ่งสาคัญในการออกแบบที่ต้องคานึงถึง
พื้นฐานประสบการณ์เดิมของผู้เรียน ความแตกต่างของผู้เรียน
2. การพัฒนา (Development)
เป็นขอบข่ายของการสร้างผลิตภัณฑ์ในรูปแบบของสื่อ พื้นฐานที่ได้ออกมา
พัฒนาเป็นสื่อที่อาศัยคุณลักษณะของสื่อต่างๆ
- เทคโนโลยีสิ่งพิมพ์ แนวทางในการผลิตหรือขนส่งเนื้อหาไปยังผู้เรียน
- เทคโนโลยีด้านโสตทัศน์ แนวทางในการผลิตหรือขนส่งเนื้อหาไปยัง
ผู้เรียนโดยใช้เครื่องมือกลไกอิเล็กทรอนิกส์ในการนาเสนอสารทั้งเสียงและภาพ
- เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ แนวทางในการผลิตหรือขนส่งเนื้อหาไปยัง
ผู้เรียนโดยใช้คอมพิวเตอร์เป็นฐาน
- เทคโนโลยีบูรณาการ แนวทางในการผลิตหรือขนส่งเนื้อหาไปยังผู้เรียน
โดยใช้คุณลักษณะของสื่อหลายชนิดภายใต้การควบคุมโดยคอมพิวเตอร์
3.การใช้ (Utilization)
ขอบข่ายที่เกี่ยวข้องกับรูปแบบการนาสื่อที่พัฒนาแล้วไปใช้อย่างมีประสิทธิภาพ
4.การจัดการ (Management)
ขอบข่ายหลักสาคัญของสาขาเทคโนโลยีการศึกษา เกี่ยวข้องกับการบริหาร
จัดการแหล่งเรียนรู้ ที่จะต้องนาไปสนับสนุนในทุกๆ ขอบข่าย
5.การประเมิน (Evaluation)
เกี่ยวข้องกับการประเมินเพื่อปรับปรุง ในการประเมินนั้นจะมุ่งเน้นการ
ประเมินทั้งกระบวนการและผลิตภัณฑ์เพื่อแสดงให้เห็นถึงประสิทธิภาพ ตลอดทั้ง
คุณภาพของสื่อที่ออกแบบขึ้นมา
3. Educational Technology และ Instructional Technology
มีความเหมือน ความแตกต่าง หรือสัมพันธ์กันอย่างไร
รูปแบบความสัมพันธ์ Educational Technology
และ Instructional Technology
เหมือนกัน เป็นกระบวนการที่มีการออกแบบ กรรมวิธี แนวคิด เพื่อน
นาไปใช้ในการเรียนรู้
ต่างกัน
Instructional Technology ไม่ได้มีขอบเขต
ของสาขาวิชาที่เกี่ยวข้องกับการออกแบบหรือผลิตสื่อการ
สอนเท่านั้น แต่ยังมีขอบเขตที่กว้างขวางที่ครอบคลุมถึง
การนาเทคนิค วิธีการ ตลอดจนทั้งสิ่งประดิษฐ์มาใช้เพื่อ
เพิ่มประสิทธิภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
สัมพันธ์กัน
Educational Technology ส่งผลให้เกิด
Instructional Technology ที่มีความ
หลากหลายด้านเทคนิค วิธีการ ตลอดจนสิ่งประดิษฐ์
ต่างๆ
4. การประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับเทคโนโลยีทางการศึกษามาใช้
แก้ปัญหาเกี่ยวกับการเรียนรู้ในยุคปฏิรูปการเรียนรู้อย่างเป็น
รูปธรรมได้อย่างไร
เทคโนโลยีทางการศึกษาเป็นสิ่งที่สาคัญมากในปัจจุบัน
สาหรับบุคลากรทางการศึกษา ก็เพราะ เพื่อการนาไปใช้ในการ
ปฏิบัติงานให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุด ตามการเปลี่ยนแปลงของสังคม
โลกในปัจจุบัน เช่น การออกแบบระบบการสอน กลยุทธ์การสอน
เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ การใช้สื่อการสอน การวิเคราะห์
การวัดตามเกณฑ์ เป็นต้น
เทคโนโลยีสารสนเทศที่นามาใช้สาหรับการสอนเป็นการใช้เทคโนโลยี
สมัยใหม่หลายอย่าง ทาให้การเรียนการสอนด้วยอุปกรณ์ที่ทันสมัย ห้องเรียนสมัยใหม่
มีอุปกรณ์วิดีโอโปรเจคเตอร์ (Video Projector) มีเครื่องคอมพิวเตอร์
มีระบบการอ่านข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์แบบต่างๆ รูปแบบของสื่อการศึกษาที่นามาใช้ใน
การเรียนการสอน ก็มีหลากหลาย ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในการนามาใช้ เช่น
มัลติมีเดีย อิเล็กทรอนิกส์ยุค วิดีโอเทเลคอนเฟอเรนซ์ ระบบวิดีโอออนดีมานด์
ไฮเปอร์เท็กซ์ คอมพิวเตอร์ และระบบอินเตอร์เน็ต เป็นต้น
จัดทาโดย

More Related Content

What's hot

Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27khon Kaen University
 
Introduction to innovation part ii
Introduction to innovation part iiIntroduction to innovation part ii
Introduction to innovation part iikhon Kaen University
 
งานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมงานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมsomjit003
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...Nakhon Phanom University
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอrainacid
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนyatomaomao
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอนPornwipa Onlamul
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9kanwan0429
 
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐานสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐานนะนาท นะคะ
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7kanwan0429
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้panisa thepthawat
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentationkazkatcaz
 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้panisa thepthawat
 

What's hot (20)

Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27Introduction to innovation 2013 10-27
Introduction to innovation 2013 10-27
 
The assure model
The assure modelThe assure model
The assure model
 
Introduction to innovation part ii
Introduction to innovation part iiIntroduction to innovation part ii
Introduction to innovation part ii
 
Add m2-2-link
Add m2-2-linkAdd m2-2-link
Add m2-2-link
 
งานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรมงานนำเสนอนวัตกรรม
งานนำเสนอนวัตกรรม
 
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
การพัฒนาผลการเรียนรู้วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาโดยใช้รูปแบบซ...
 
บทบาทและแนวโน้มของ ICT
บทบาทและแนวโน้มของ ICTบทบาทและแนวโน้มของ ICT
บทบาทและแนวโน้มของ ICT
 
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอสื่อนวตกรรมนำเสนอ
สื่อนวตกรรมนำเสนอ
 
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอนการศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
การศึกษาวิธีการจัดการเรียนการสอน
 
สังเกตการสอน
สังเกตการสอนสังเกตการสอน
สังเกตการสอน
 
Assure
AssureAssure
Assure
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอนบทที่  6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
บทที่ 6 การออกแบบสื่อการเรียนการสอน
 
บทที่ 11
บทที่ 11บทที่ 11
บทที่ 11
 
งานคอม 11
งานคอม 11งานคอม 11
งานคอม 11
 
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐานสิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีอุบัติใหม่เป็นฐาน
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
บทที่ 3 การออกแบบและพัฒนานวัตกรรม สื่อ และเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Presentation
PresentationPresentation
Presentation
 
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ กับ กระบวนทัศน์ใหม่ของการเรียนรู้
 

Similar to Introduction to technologies and educational media chapter1

Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1Anna Wongpattanakit
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7Tar Bt
 
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดง
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา  กลุ่ม  หนูน้อยหมวกแดงงานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา  กลุ่ม  หนูน้อยหมวกแดง
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดงmicnattawat
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพkoyrattanasri
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยนภสร ยั่งยืน
 
Chapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
Chapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาChapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
Chapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาWuth Chokcharoen
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ Panita Wannapiroon Kmutnb
 
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษางานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษาThitaporn Chobsanchon
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยMuBenny Nuamin
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจShe's Kukkik Kanokporn
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการWatcharasak Chantong
 
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยpentanino
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยMoss Worapong
 

Similar to Introduction to technologies and educational media chapter1 (20)

Chapter1
Chapter1 Chapter1
Chapter1
 
Introduction to technologies and educational media 1
Introduction to technologies  and educational media 1Introduction to technologies  and educational media 1
Introduction to technologies and educational media 1
 
Unit 7
Unit 7Unit 7
Unit 7
 
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดง
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา  กลุ่ม  หนูน้อยหมวกแดงงานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา  กลุ่ม  หนูน้อยหมวกแดง
งานกลุ่มวิชานวัตกรรมการศึกษา กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดง
 
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพการพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
การพัฒนาทักษะพื้นฐานที่จำเป็นต่อการประกอบอาชีพ
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
Chapter 2
Chapter 2Chapter 2
Chapter 2
 
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วยภารกิจระดับครูผู้ช่วย
ภารกิจระดับครูผู้ช่วย
 
Basic m2-2-link
Basic m2-2-linkBasic m2-2-link
Basic m2-2-link
 
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 6
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 6ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 6
ผลการดำเนินงานตามจุดเน้นที่ 6
 
Chapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
Chapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษาChapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
Chapter 1 เทคโนโลยีนวัตกรรมและสื่อการศึกษา
 
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
การเรียนแบบผสมผสาน จากแนวคิดสู่การปฏิบัติ
 
ครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพครูมืออาชีพ
ครูมืออาชีพ
 
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษางานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
งานกลุ่มเทคโนโลยีการศึกษา
 
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วยการออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
การออกแบบการสอนระดับครูผู้ช่วย
 
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจครูผู้ช่วย ภารกิจ
ครูผู้ช่วย ภารกิจ
 
การบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการการบริหารงานวิชาการ
การบริหารงานวิชาการ
 
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลยความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
ความต้องการของนิสิตชั้นปีที่ 1 วส.เลย
 
งานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วยงานครูผู้ช่วย
งานครูผู้ช่วย
 

More from Anna Wongpattanakit (18)

Most popular dishes in each country of asean (1)
Most popular dishes in each country of asean (1)Most popular dishes in each country of asean (1)
Most popular dishes in each country of asean (1)
 
เรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลา
เรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลาเรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลา
เรียนรู้เรขาคณิตผ่านกาลเวลา
 
Chaapter9
Chaapter9Chaapter9
Chaapter9
 
Chapter.8
Chapter.8Chapter.8
Chapter.8
 
Chapter.8
Chapter.8Chapter.8
Chapter.8
 
Chapter8
Chapter8Chapter8
Chapter8
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter5
Chapter5Chapter5
Chapter5
 
Chapter3 theoretical foundation (1)
Chapter3 theoretical foundation (1)Chapter3 theoretical foundation (1)
Chapter3 theoretical foundation (1)
 
การวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อการวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อ
 
การวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อการวางแผน การสร้างสื่อ
การวางแผน การสร้างสื่อ
 
Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)Chapter 2 presentation (1)
Chapter 2 presentation (1)
 

Introduction to technologies and educational media chapter1