SlideShare a Scribd company logo
1 of 24
Download to read offline
1




1. ข้ อมูลทั่วไป
ประวัติส่วนตัว
     - ชื่อ – สกุล นางทับทิม เจริญตา ตาแหน่ งเลขที่ 102142
           - เกิด วันพุธ ที่ 3 มิถุนายน 2517 อายุ 38 ปี
           - เริ่มรับราชการวันที่ 1 กันยายน 2540 ปฏิบัติราชการเป็ นเวลา 14 ปี
   -          ตาแหน่ ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการ รับเงินเดือนในอันดับ คศ. 2 ขั้น 22,450 บาท
 -            ปฏิบัติงานหลัก ปฏิบัติหน้ าทีสอน
                                           ่        ฝ่ าย / กลุ่มสาระ การเรี ยนรู้ คณิตศาสตร์
โรงเรียนกุดชุ มวิทยาคม อาเภอกุดชุ ม จังหวัดยโสธร สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา
                                                                        ้ ่
เขต 28 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ
                                                  ้
 -            วุฒิการศึกษา ( ) เทียบเท่า / อนุปริ ญญาตรี
                             () ปริญญาตรี วิชาเอก คณิตศาสตร์ วิชาโท คอมพิวเตอร์
                             ( ) ปริญญาโท                     สาขา .......................... วิชาโท -
                             ( ) ปริญญาเอก                    สาขา .......................... วิชาโท -

     วิสัยทัศน์ พันธกิจ เปาหมาย
                           ้
1.วิสัยทัศน์ โรงเรียนกุดชุ มวิทยาคม
          โรงเรี ยนกุดชุมวิทยาคม มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา เป็ นผูมี
                                                                                         ้
    คุณธรรมจริ ยธรรม มีทกษะในการแสวงหาความรู้และก้าวทันเทคโนโลยี มีวถีชีวตตาม
                              ั                                              ิ ิ
    หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์บนพื้นฐานความเป็ นไทย มุ่งสู่
    ความเป็ นสากล

2. วิสัยทัศน์ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ คณิตศาสตร์
              ส่ งเสริ มและพัฒนาให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ คู่คุณธรรม นาเทคโนโยลี มุ่งสู่ สากล ใช้ทกษะ
                                                                                                 ั
และกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
                                                               ิ

3.วิสัยทัศน์ ส่วนบุคคล นางทับทิม เจริญตา
              “ มุ่งมันพัฒนา ส่ งเสริ ม สนับสนุนนักเรี ยนเป็ นคน เก่ง ดี มี สุ ข พัฒนาคุณภาพชีวต
                      ่                                                                        ิ
ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มุ่งสู่ สากล ”
2




2. ข้ อมูลการปฏิบติหน้ าที่
                 ั
1. ภาระงานด้ านการสอน ปฏิบติหน้าที่สอนตามรายวิชาที่ได้รับมอบหมายในปี การศึกษา 2554
                               ั
ดังนี้
                - ปี การศึกษา 2554 ปฏิบติการสอนจานวน 1 รายวิชา จานวน 6 ห้องเรี ยน
                                       ั
รวม 18 คาบ/สัปดาห์ ดังนี้
         ตาราง 1 แสดงจานวนรายวิชา / ชั้นเรียน / จานวนนักเรียน /จานวนชั่วโมงคาบเรียน ที่
ปฏิบัติการสอน
                                                                          จานวนคาบ/
    ที่           รายวิชา / รหัสวิชา            ชั้น       จานวน นร.
                                                                            สัปดาห์
       1   คณิ ตศาสตร์                       3/2 -3/7          249             18

                    รวม                             6                249             18

        ตาราง 2 แสดงจานวนกิจกรรมเสริมหลักสู ตรที่ปฏิบัติในปี การศึกษา 2554

  ที่                      กิจกรรม                          กลุ่ม/ห้ อง    จานวน นร. จานวนชั่วโมง
  1      กิจกรรมชุมนุ มโครงงานคณิ ตศาสตร์ ม.ต้น                  1             17        1
  2      กิจกรรมลูกเสื อสามัญรุ่ นใหญ่ ม.1                       1            128        1
  3      กิจกรรมแนะแนว - โฮมรู ม                                 1             42        1
                                  รวม                                         187        3

2. ภาระงานพิเศษอืน ๆ ได้ แก่
                     ่
       2.1 ภาระงานครู ที่ปรึกษา (ฝ่ ายกิจการนักเรียน)
   ปฏิบติหน้าที่ครู ที่ปรึ กษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3/7 ดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือ
          ั
นักเรี ยน ดังนี้
            1. จัดทากาหนดการสอนรายชัวโมง รายสัปดาห์ เพื่อจัดการเรี ยนการสอน ตามระบบ
                                           ่
การดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน ในคาบแนะแนว /โฮมรู ม
            2. บันทึกข้อมูลนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล ในชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3/7 เช่น ข้อมูลส่ วนตัว
ข้อมูลด้านครอบครัว ข้อมูลด้านการเรี ยน (ตามแบบบันทึกระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน/ฝ่ าย
กิจการ และบันทึกเอกสาร ปพ. 6 , ปพ. 8 ตามแบบฝ่ ายวิชาการ)
3


           3. วิเคราะห์ขอมูลนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล โดยใช้แบบประเมิน SDQ จัดกลุ่มนักเรี ยน
                           ้
กลุ่มปกติกลุ่มเสี่ ยง กลุ่มมีปัญหา ตามประเด็นการประเมิน เพื่อกากับติดตามดูแลช่วยเหลือ
นักเรี ยน
            4. เยียมบ้านนักเรี ยนที่พบสภาพปัญหา สาหรับนักเรี ยนที่อยูในกลุ่มเสี่ ยงและกลุ่มมี
                  ่                                                         ่
ปัญหา (ครู ที่ปรึ กษาติดตามนักเรี ยนอย่างต่อเนื่ องระยะเวลา 3 ปี )
            5. สร้างเครื อข่ายผูปกครองนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3/7 ติดต่อประสานงานเมื่อพบ
                                   ้
   สภาพปัญหาผูเ้ รี ยนและมีการประชุม
            6. ดูแลเอาใจใส่ นกเรี ยนเกี่ยวกับการเรี ยนในรายวิชาอื่น ๆ ที่นกเรี ยนลงทะเบียนเรี ยน
                                 ั                                            ั
สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์การเรี ยน
            7. ส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมในการดูแลรักษาสิ่ งแวดล้อม และจัดเวรทาความสะอาด
ห้องเรี ยน 325-326 อาคาร 3
             8. ส่ งเสริ มการอ่านและบันทึกจากการอ่าน
             9. ส่ งเสริ มการร่ วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนที่หลากหลาย ให้เต็มตามศักยภาพ ตามความ
ถนัดและความสนใจ เช่น กิจกรรมวันสุ นทรภู่ วันวิทยาศาสตร์ กิจกรรมวันแม่ และการแข่งขัน
อื่น ๆ ฯลฯ
           10. ควบคุม ดูแล ช่วยเหลือนักเรี ยน ม. 3/7 ที่มีผลการเรี ยน 0 มส มผ ติดต่อขอแก้ ให้
เรี ยบร้อย
           11. สรุ ปผลการดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน และรายงานต่อหัวหน้า
สถานศึกษา
        2.2 งานประกันคุณภาพการศึกษา
                    2.2.1 ด้ านคุณภาพผู้เรียน
                              รับผิดชอบ พัฒนา ส่ งเสริ มผูเ้ รี ยน ให้มีมาตรฐานตามมาตรฐาน
การศึกษาของโรงเรี ยน และมีมาตรฐานตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยประเมินผูเ้ รี ยน
จัดระดับคุณภาพของผูเ้ รี ยน สรุ ปและรายงานผลต่อหัวหน้าสถานศึกษา เพื่อรองรับการประเมิน
คุณภาพภายนอก จานวน 7 มาตรฐาน 28 ตัวบ่งชี้ ดังนี้
        2.3 งานหัวหน้ ากลุ่มสาระการเรี ยนรู้ คณิตศาสตร์
          1. ประชุมวางแผนเกี่ยวกับการจัดทา/ปรับปรุ งหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ จัดทา
   หลักสู ตรระดับชั้นเรี ยน (เอกสารประกอบหลักสู ตร) ให้ความร่ วมมือในการจัดทาหลักสู ตร
   สถานศึกษา
            2. มอบหมายภาระงานด้านการสอน จานวนรายวิชา จานวนคาบแก่คณะครู ภายในกลุ่ม
สาระการเรี ยนรู้คณิ ตศาสตร์
4


            3. ประชุมกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ จัดทาแผนและปฏิทินปฏิบติการของกลุ่มสาระ และ
                                                                          ั
ควบคุมให้การดาเนินงานเป็ นไปตามแผนงานการใช้งบประมาณภายในกลุ่มสาระการเรี ยนรู้
             4. ร่ วมกับคณะครู ทุกคน จัดทาแผนการเรี ยนรู ้ในรายวิชาต่างๆ ภายในกลุ่มสาระการ
เรี ยนรู้คณิ ตศาสตร์
             5. นิเทศ กากับติดตามการเรี ยนการสอน ให้ขอเสนอแนะและประสานความร่ วมมือ
                                                          ้
ภายในกลุ่มสาระ
             6. พัฒนาการวัดผลประเมินผลและผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยนในรายวิชาภายใน
กลุ่มสาระฯ
             7. พัฒนาการเรี ยนการสอน สนับสนุน ครู อาจารย์ในการพัฒนางาน จัดหาเอกสาร
อุปกรณ์ สื่ อการสอนภายในกลุ่มสาระ (ทะเบียนสื่ อฯ)
             8. ประเมินผลการดาเนินงานกลุ่มสาระและรายงานผลการดาเนินงานต่อหัวหน้า
สถานศึกษา
             9. เผยแพร่ กิจกรรมภายในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้และผูเ้ กี่ยวข้อง
            10. ประเมินผลการดาเนิ นงานภาพรวมของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ และประเมินตนเอง
ตามมาตรฐานวิชาชีพครู / ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (มาตรฐาน สพฐ. มาตรฐานที่ 7
เริ่ มใช้ปีการศึกษา 2554)
          2.4 งานโรงเรียนในฝัน
                   ให้ความร่ วมมือฝ่ ายบริ หารในการดาเนินงานตามขอบข่ายภาระงานของโรงเรี ยนใน
ฝัน หรื อโรงเรี ยนดีใกล้บาน    ้
         2.5 งานคณะสี
                  ให้ความร่ วมมือฝ่ ายบริ หาร / กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาพลศึกษาในการกากับ
ติดตามดูแลนักเรี ยนของคณะสี ต่าง ๆ
         2.6 งานเจ้ าหน้ าทีกจกรรมลูกเสื อ
                            ่ิ
                   งานเจ้าหน้าที่ลูกเสื อ ผูรายงานได้รับมอบหมายให้ปฏิบติหน้าที่เป็ นเจ้าหน้าที่โดยได้
                                            ้                               ั
ปฏิบติงานตามขั้นตอนดังนี้
       ั
             1. จัดเก็บสาเนาเกียรติบตรของบุคลากรที่เข้าอบรมเกี่ยวกับลูกเสื อต่างๆ
                                        ั
             2. จัดทาทะเบียนวัดสุ - ครุ ภณฑ์ของกิจกรรมลูกเสื อ
                                              ั
             3. จัดทาคาสั่งบุคลากรเข้าร่ วมงานวันคล้ายวันสถาปนาลูกเสื อ
             4. จัดทาทะเบียนลูกเสื อสามัญรุ่ นใหญ่และลูกเสื อวิสามัญ
             5. จัดทาเอกสารขออนุ ญาตผูปกครองในการเข้าร่ วมกิจกรรมต่างๆของลูกเสื อ
                                                ้
             6. เก็บเงินลูกเสื อและจัดส่ งสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
             7. จัดทาแบบรายงานการลูกเสื อประจาปี ส่ งสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
5


           8. จัดทาและจัดหาคากล่าวรายงานในพิธีวนสถาปนาลูกเสื อและคากล่าวสดุดีเฉลิม
                                                          ั
   พระเกียรติ
           9. จัดทาเอกสารขอจัดซื้ อเอกสารใบเสร็ จลูกเสื อไปที่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
           10. จัดทาเอกสารใบสมัครเข้าร่ วมอบรมต่างๆของผูบงคับบัญชาลูกเสื อ
                                                              ้ ั
           11. จดบันทึกการประชุมผูบงคับบัญชาลูกเสื อ
                                            ้ ั
       2.7 งานแผนและงบประมาณ งานเจ้ าหน้ าทีพสดุโรงเรี ยนกุดชุ มวิทยาคม
                                                      ่ ั
                   1. ดาเนินการจัดซื้ อจัดจ้างให้กลุ่มงานฯ และกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้โรงเรี ยน
                   2. จัดทาบัญชีพสดุ บัญชีครุ ภณฑ์ ทะเบียนทรัพย์สิน
                                   ั                ั
                   3. จัดทาสอบราคาซื้ อ สอบราคาจ้าง และ ประกวดราคา
                   4. ตรวจสอบและจาหน่ายพัสดุประจาปี งบประมาณ
      2.8 ฝ่ ายอาคารสถานที่และสิ่ งแวดล้อม งานอาคารสถานที่
                   1. ร่ วมรับผิดชอบดูแล ห้อง 325-326
                   2. ร่ วมรับผิดชอบดูแลห้องฝ่ ายการเงิน
      2.9 งานเจ้ าหน้ าทีงานโภชนาการ
                            ่
                  1. ทาการสารวจโรงอาหารประจาวันที่ได้รับมอบหมายคือประจาวันพฤหัสบดี
  พร้อมรายงานผลการสารวจโรงอาหารให้หวหน้างานโภชนาการทราบเป็ นประจาทุกครั้ง
                                                  ั
                  2. สรุ ปผลการปฏิบติงานและภาพรวมของการปฏิบติงานให้หวหน้าสถานศึกษา
                                        ั                           ั         ั
ทราบภาคเรี ยนละ 1 ครั้ง
                 3. นาสรุ ปผลการปฏิบติงานไปปรับปรุ งแก้ไขในการปฏิบติงานในปี การศึกษา
                                             ั                          ั
ต่อไป
     2.10 ฝ่ ายกิจการนักเรียน
             2.10.1 งานเวรประจาวัน (วันพฤหัสบดี) ปฏิบติหน้าที่คือ
                                                            ั
                 1. ปฏิบติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายภาระงานจากหัวหน้าเวรประจาวัน
                              ั
                 2. อบรมนักเรี ยนหน้าเสาธง
                 3. ลงบันทึกการปฏิบติหน้าที่ประจาวัน
                                          ั
                4. ดูแลตรวจสอบควบคุมนักเรี ยนเข้าแถวและร่ วมกิจกรรมหน้าเสาธง
                5. ดูแลตรวจสอบส่ งเสริ มความประพฤติ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยน
              2.10.2 งานเวรกลางวัน ปฏิบติหน้าที่คือ
                                                ั
                1. ปฏิบติหน้าที่เวรกลางวันในวันหยุดราชการ
                          ั
               2. ลงบันทึกการปฏิบติหน้าที่และเหตุการณ์เวรกลางวัน
                                      ั
6


3. การพัฒนาด้ วยตนเอง
         ข้ อมูลการพัฒนาตนเอง ปฏิบติกิจกรรมที่เกี่ยวกับการพัฒนาตนเอง ดังนี้
                                         ั
       3.1 การพัฒนาด้ านงานสอน
             3.1.1 การสอนรายวิชา
                     การเตรี ยมความพร้อมภาระงานด้านการสอน ข้าพเจ้าศึกษาพระราชบัญญัติ
การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ศึกษาหลักสู ตรการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 และหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
เกี่ยวกับหลักการ จุดหมาย โครงสร้างของหลักสู ตร ศึกษาหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
คณิ ตศาสตร์ เกี่ยวกับ วิสัยทัศน์ สาระและมาตรฐานการเรี ยนรู ้ คุณภาพผูเ้ รี ยนหลังการเรี ยนกลุ่ม
สาระฯ โดยปฏิบติ ดังนี้ั
              1. วิเคราะห์มาตรฐานการเรี ยนรู ้กลุ่มสาระ ตัวชี้วด จัดทาคาอธิ บายรายวิชา กาหนด
                                                                 ั
โครงสร้างหน่วยการเรี ยนรู ้รายวิชา ให้เป็ นไปตามจุดหมายของหลักสู ตร
             2. จัดทาเอกสารประกอบหลักสู ตรในรายวิชาที่สอน
             3. จัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู้ สาระการเรี ยนรู้คณิ ตศาสตร์ โดยสอดแทรกเรื่ อง
คุณธรรมจริ ยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในเรื่ องต่อไปนี้ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์
     2) ซื่อสัตย์สุจริ ต 3) มีวนย 4) ใฝ่ เรี ยนรู้ 5) อยูอย่างพอเพียง 6) มุ่งมันในการทางาน 7) รัก
                                 ิ ั                     ่                     ่
ความเป็ นไทย และ 8) มีจิตสาธารณะ
             4. วิเคราะห์ รวบรวมข้อมูลนักเรี ยนเป็ นรายบุคคลในรายวิชา จัดนักเรี ยนกลุ่มเก่ง กลุ่ม
ปานกลาง กลุ่มอ่อน โดยการทดสอบวัดความรู ้พ้ืนฐานรายวิชาคณิ ตศาสตร์ ก่อนการเรี ยนการสอน
และวิธีการอื่น ๆ
             5. สอบ Pretest และ Posttest เพื่อเปรี ยบเทียบผลการพัฒนาของผูเ้ รี ยน
             6. จัดทาสื่ อประเภทมัลติมีเดีย / สื่ อประเภทเอกสารประกอบการเรี ยน
             7. วัดความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการจัดการเรี ยนรู ้
             8. แก้ปัญหาผูเ้ รี ยนโดยใช้กระบวนการวิจยในชั้นเรี ยนและรายงานผลการวิจย
                                                           ั                            ั
             9. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนในรายวิชาที่รับผิดชอบ
             10. ผลสัมฤทธิ์ การสอบ O-net กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ เพิ่มขึ้น
             11. การจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู ้ทุกรายวิชาที่สอนและส่ งก่อนใช้สอน
            12. การผลิตสื่ อการสอนICT เช่น E-learning , CAI , WAI Facebook ฯลฯ รายวิชา
คณิ ตศาสตร์
              13. การใช้ส่ื อและอุปกรณ์การสอน ได้แก่ เครื่ องขยายเสี ยง ไมค์โครโฟนวีดิทศน์ ั
โปรเจคเตอร์ ฯลฯ ทุกครั้งที่จดกิจกรรมการเรี ยนการสอน
                                     ั
7


              14. ส่ งเสริ ม สนับสนุนนักเรี ยนที่มีศกยภาพให้มุ่งสู่ ความเป็ นเลิศทางด้านคณิ ตศาสตร์
                                                       ั
ส่ งนักเรี ยนเข้าร่ วมแข่งขันทักษะคณิ ตศาสตร์ ทั้งในระดับเขตพื้นที่ ระดับจังหวัด ระดับภาค
ได้รับเหรี ยญทอง อันดับหนึ่ ง และเข้าแข่งขันระดับประเทศ
             15. ส่ งเสริ ม สนับสนุนนักเรี ยนเข้าร่ วมประกวดแข่งขันทักษะทางคณิ ตศาสตร์ กับ
หน่วยงานอื่นและได้รับรางวัล
              3.1.2 งานสอนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
                      กิจกรรมลูกเสื อสามัญรุ่ นใหญ่ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1
              1. ร่ วมประชุมคณะครู ที่รับผิดชอบกิจกรรมลูกเสื อสามัญรุ่ นใหญ่ทุกระดับชั้น จัดทา
หลักสู ตรกิจกรรมลูกเสื อสามัญรุ่ นใหญ่ของสถานศึกษา หลักสู ตรชั้นปี และจัดทาเอกสาร
ประกอบหลักสู ตร
               2. วางแผนการจัดการเรี ยนรู ้และจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู ้กิจกรรมลูกเสื อสามัญรุ่ น
ใหญ่ช้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โดยจัดทากาหนดการสอนรายชัวโมง และแผนการจัดการเรี ยนรู้ ราย
          ั                                                       ่
ชัวโมงตามเนื้ อหาที่ได้รับมอบหมาย
   ่
               3. วัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและวัดความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการจัดการ
เรี ยนรู้
                      กิจกรรมชุมนุมโครงงานคณิ ตศาสตร์ ม.ต้น
               1. ศึกษาหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 และหลักสู ตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เกี่ยวกับหลักการ จุดหมาย โครงสร้างของหลักสู ตร
และศึกษาหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ เกี่ยวกับ วิสัยทัศน์ สาระและมาตรฐานการ
เรี ยนรู ้ คุณภาพผูเ้ รี ยนหลังการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
             2. วางแผนการจัดการเรี ยนรู้ จัดทากาหนดการสอนรายชัวโมง และแผนการจัดการ
                                                                         ่
เรี ยนรู้
             3. ส่ งเสริ ม สนับสนุน ให้ผเู ้ รี ยนเข้าร่ วมกิจกรรมการแสดงนิทรรศการวิชาการต่างๆและ
การเข้าร่ วมการแข่งขันตามโอกาสหรื อกิจกรรมวิชาการต่างๆ
             4. วัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
8


  3.2 การอบรมสั มมนา


ที่                  รายการ                   หน่วยงาน      วัน / เดือน / ปี   หมายเหตุ
1. อบรมหลักสู ตรการปฏิบติงานพี่เลี้ยง
                              ั                 สสวท.        4-7 พ.ค. 54
    วิชาการคณิ ตศาสตร์                          สพฐ.
2. อบรมเชิงปฏิบติการการประกันคุณภาพ
                   ั                           โรงเรี ยน    5-6 สิ งหาคม
    ภายในสถานศึกษา                         กุดชุมวิทยาคม           54
3. อบรมหลักสู ตรก้าวใหม่ของครู คณิ ต          สพฐ.และ        1-3 กันยายน
     พิชิตด้วย Social Media               รร.กุดชุมวิทยาคม         54
4. เข้าร่ วมกิจกรรมเปิ ดชั้นเรี ยน(Open  มหาวิทยาลัยขอนแก่น 30-31 มี.ค. 55
    Class)ระดับนานาชาติ ประจาปี การศึกษา
    2554
5. วิทยากรอบรมนักศึกษา                    กศน.อาเภอกุดชุม     5 มี.ค. 55
    กศน. อาเภอกุดชุม
9


4. ผลการปฏิบัติงาน
1. ด้ านการสอน (ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน)
        - ปี การศึกษา 2554
        ปฏิบติหน้าที่สอนตามรายวิชาที่ได้รับมอบหมาย จานวน 1 รายวิชา 6 ห้องเรี ยน รวม 18
              ั
คาบ / สัปดาห์ ปรากฏผล ดังนี้
                1. ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ พนฐาน (ค 31101) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่
                                                          ื้
        3/2 – 3/7


          จานวน                            ผลการเรียนทีผ่านเกณฑ์
                                                         ่                              รวม
    ชั้น
          นักเรีย        4       3.5      3      2.5        2   1.5   1 0
          น
     3/2     36           -        -      -        -        4     5  27     -            36
     3/3     42           -        1      -        -        9     9  20     3            42
     3/4     41          1         -      1        4       11     5  21     -            41
     3/5     44          3         2      5        5       18     5   5     1            44
     3/6     44          10        3      6        2        6     1  13     3            44
     3/7     42          9         4      8        4       10     2   5                  42
    รวม      249         23       10     20      15        58    25 242     7           249
   ร้อยละ 100          9.23 4.06 8.03 6.02 22.29 10.04 97.19 2.8                        100
          ค่าเฉลี่ยรายวิชา                                              60.36
          นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนผ่านเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ              97.20
          นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนระดับ 3 ขึ้นไปคิดเป็ นร้อยละ         21.32
                                       ่
          นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนไม่ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ             2.8

      -สรุ ปผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน (  ) บรรลุผล ( ) ไม่บรรลุผล ตามเกณฑ์
มาตรฐานการศึกษาของโรงเรี ยน
      -สรุ ปค่าเฉลี่ยผลการเรี ยนรายวิชา (  ) สู งกว่า ( ) ต่ากว่า ปี การศึกษา 2553
10


2. โฮมรู ม – แนะแนว ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3/7 จานวน 1 คาบ/สั ปดาห์


               จานวน                         ผลการเรียนทีผ่านเกณฑ์
                                                         ่                             รวม
     ชั้น
               นักเรียน ผ่ าน ไม่ผ่าน -                -        -        -       -
      3/7         42        42       -
     รวม          42        42       -
   ร้อยละ 100               100      -
   ค่าเฉลี่ยรายวิชา                                                                    -
   นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนผ่านเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ                                     100
                                ่
   นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนไม่ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ                                  0.00

      -สรุ ปผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน (  ) บรรลุผล ( ) ไม่บรรลุผล ตามเกณฑ์
มาตรฐานการศึกษาของโรงเรี ยน
            3. ชุ มนุมโครงงานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้ น จานวน 1 คาบ/สั ปดาห์


               จานวน                         ผลการเรียนทีผ่านเกณฑ์
                                                         ่                             รวม
     ชั้น
               นักเรียน ผ่าน ไม่ผ่าน -                 -        -        -       -
      ม.1          6         6
      ม.2          3         3
      ม.3          8         8
     รวม          17         17
   ร้อยละ 100               100       -         -      -        -        -       -         -
   ค่าเฉลี่ยรายวิชา                                                                    -
   นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนผ่านเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ                                     100
                                ่
   นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนไม่ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ                                   0.00

      -สรุ ปผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน      (  ) บรรลุผล (             ) ไม่บรรลุผล ตามเกณฑ์
มาตรฐานการศึกษาของโรงเรี ยน
11


             4. กิจกรรมลูกเสื อสามัญรุ่ นใหญ่ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 จานวน 1 คาบ/สั ปดาห์


               จานวน                         ผลการเรียนทีผ่านเกณฑ์
                                                         ่                                  รวม
     ชั้น
               นักเรียน ผ่าน ไม่ผ่าน -                 -        -          -        -
      ม.1         128       128       -         -      -        -          -        -       128
     รวม          128       128       -         -      -        -          -        -       128
   ร้อยละ 100               100       -         -      -        -          -        -       136
   ค่าเฉลี่ยรายวิชา                                                                            -
   นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนผ่านเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ                                         100
                                ่
   นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนไม่ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ                                       0.00

      -สรุ ปผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน       (  ) บรรลุผล (            ) ไม่บรรลุผล ตามเกณฑ์
มาตรฐานการศึกษาของโรงเรี ยน

             5. ผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) รายวิชาคณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 3

                  ปี การศึกษา                           ผลคะแนนเฉลี่ยนักเรี ยน
                      2551                                        31.18
                      2552                                        22.60
                      2553                                        21.33
                      2554                                        28.72
  คะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจากปี การศึกษา 2553 เท่ากับ 7.39 คิดเป็ นร้อยละ 34.65

2. ด้ านงานพิเศษอืน ๆ ได้แก่
                     ่
         2.1 งานครู ที่ปรึกษา ปฏิบติหน้าที่ครู ที่ปรึ กษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3/7 ดาเนินงาน
                                  ั
โดยดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนภายในชั้นเรี ยนตามขั้นตอนของระบบการดูแล ฯ สรุ ปและรายงานผล
ต่อหัวหน้าสถานศึกษา
         2.2 ประเมินคุณภาพผู้เรียน ร่ วมรับผิดชอบ พัฒนา ส่ งเสริ มผูเ้ รี ยน ให้มีมาตรฐานตาม
มาตรฐานการศึกษาของโรงเรี ยน และมีมาตรฐานตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดย
ประเมินผูเ้ รี ยน จัดระดับคุณภาพของผูเ้ รี ยน สรุ ปและรายงานผลต่อหัวหน้าสถานศึกษา
12


               2.3 งานหัวหน้ ากลุ่มสาระการเรี ยนรู้ คณิตศาสตร์ ร่ วมประชุมวางแผนเกี่ยวกับการ
จัดทา/ปรับปรุ งหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ จัดทาหลักสู ตรระดับชั้นเรี ยน (เอกสารประกอบ
หลักสู ตร) ให้ความร่ วมมือในการจัดทาหลักสู ตรสถานศึกษา จัดโครงสร้างหลักสู ตรมอบหมาย
ภาระงานด้านการสอน จานวนรายวิชา จานวนคาบแก่คณะครู ภายในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้
คณิ ตศาสตร์ นิเทศ กากับติดตามการเรี ยนการสอน ให้ขอเสนอแนะและประสานความร่ วมมือ
                                                                ้
ภายในกลุ่มสาระพัฒนาการวัดผลประเมินผลและผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยนในรายวิชา
ภายในกลุ่มสาระฯและพัฒนาการเรี ยนการสอน สนับสนุน ครู อาจารย์ในการพัฒนางาน จัดหา
เอกสารอุปกรณ์ สื่ อการสอนภายในกลุ่มสาระ (ทะเบียนสื่ อฯ)
               2.4 งานโรงเรียนในฝัน ให้ความร่ วมมือฝ่ ายบริ หารในการดาเนินงานตามขอบข่ายภาระ
งานของโรงเรี ยนในฝัน / โรงเรี ยนดีใกล้บาน          ้
               2.5 งานคณะสี ให้ความร่ วมมือฝ่ ายบริ หาร / กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาพลศึกษาใน
การกากับติดตามดูแลนักเรี ยนของคณะสี จนงานสาเร็ จบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการจัดงาน
               2.6 ฝ่ ายแผนงานและประกันคุณภาพการศึกษา ร่ วมวางแผนจัดอบรมขยายผลแก่
บุคลากรภายในโรงเรี ยน เกี่ยวกับการจัดทาแผนกลยุทธ์ การจัดทาโครงการตามมาตรฐาน
การศึกษา วางแผนมอบหมายภาระงาน รวบรวมข้อมูลการประเมินตนเองของสถานศึกษา
ประสานความร่ วมมือจากคณะกรรมการฝ่ ายต่าง ๆ และรายงานผลต่อหัวหน้าสถานศึกษาและ
ผูเ้ กี่ยวข้อง
               2.7 งานเจ้ าหน้ าทีกจกรรมลูกเสื อ
                                  ่ิ
                       จัดเก็บสาเนาเกียรติบตรของบุคลากรที่เข้าอบรมเกี่ยวกับลูกเสื อ ทาทะเบียนวัดสุ –
                                             ั
ครุ ภณฑ์ของกิจกรรมลูกเสื อจัดทาคาสังบุคลากรเข้าร่ วมงานวันคล้ายวันสถาปนาลูกเสื อทาแบบ
         ั                                       ่
รายงานการลูกเสื อประจาปี ส่ งสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และจัดทาพร้อมจัดหาคากล่าวรายงาน
ในพิธีวนสถาปนาลูกเสื อและคากล่าวสดุดีเฉลิมพระเกียรติ
             ั
            2.8 งานแผนและงบประมาณ งานเจ้ าหน้ าทีพสดุโรงเรี ยนกุดชุ มวิทยาคม
                                                            ่ ั
                        ดาเนินการจัดซื้ อจัดจ้างให้กลุ่มงานฯ และกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้โรงเรี ยนทาบัญชี
พัสดุ บัญชีครุ ภณฑ์ ทะเบียนทรัพย์สิน สอบราคาซื้ อ สอบราคาจ้าง และ ประกวดราคา
                        ั
ตรวจสอบและจาหน่ายพัสดุประจาปี งบประมาณ
           2.9 ฝ่ ายอาคารสถานที่และสิ่ งแวดล้อม งานอาคารสถานที่
                    ร่ วมรับผิดชอบดูแล ห้อง 325-326
           2.10 งานเจ้ าหน้ าทีงานโภชนาการ
                                ่
                   ทาการสารวจโรงอาหารประจาวันที่ได้รับมอบหมายคือประจาวันพฤหัสบดี พร้อม
รายงานผลการสารวจโรงอาหารให้หวหน้างานโภชนาการทราบเป็ นประจาทุกครั้งและ
                                               ั
สรุ ปผลการปฏิบติงานและภาพรวมของการปฏิบติงานให้หวหน้าสถานศึกษาทราบ
                          ั                               ั       ั
13




        2.10 ฝ่ ายกิจการนักเรียน
              ปฏิบติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายภาระงานจากหัวหน้าเวรประจาวัน อบรมนักเรี ยน
                    ั
หน้าเสาธง ลงบันทึกการปฏิบติหน้าที่ประจาวัน ดูแลตรวจสอบควบคุมนักเรี ยนเข้าแถวและร่ วม
                                ั
กิจกรรมหน้าเสาธง ดูแลตรวจสอบส่ งเสริ มความประพฤติ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยน
และ ปฏิบติหน้าที่เวรกลางวันในวันหยุดราชการพร้อม ลงบันทึกการปฏิบติหน้าที่และเหตุการณ์
            ั                                                          ั
เวรกลางวัน
3. ด้ านการอบรมสั มมนา
           จากการอบรมสัมมนาเรื่ องที่เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการสอน และการอบรมสัมมนาเรื่ อง
ที่เกี่ยวกับการบริ หาร ข้าพเจ้าได้นาความรู ้ที่เกิดจากการอบรมสัมมนามาใช้ในการวางแผน
ออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ ผลิตสื่ อ จัดหาสื่ อการเรี ยนการสอนและให้ความร่ วมมือกับฝ่ ายบริ หาร
คณะกรรมการสถานศึกษา ในการพัฒนาการจัดการศึกษาขององค์กร และยังให้ความร่ วมมือกับ
ชุมชนหน่วยงานอื่น ๆ /บุคคล ในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยดีเสมอมา

 4. ผลงานดีเด่ น
     ระดับเขตพืนทีการศึกษา (สพม. 28 ศรีสะเกษ – ยโสธร)
                ้ ่
        1. รางวัล “ ดีเด่นเชิ ดชูเกียรติครู ผสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ สพม.28
                                             ู้
ประจาปี การศึกษา 2554 ” งานวันครู ประจาปี 2555 จากนายพิสิษฐ์ แร่ ทอง นายอาเภออาเภอกุดชุม
         2. รางวัล “ครู ผฝึกสอนนักเรี ยนได้รับเกียรติบตรระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมโครงงาน
                         ู้                            ั
คณิ ตศสตร์ ม.ต้น ” งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยนระดับชาติ ครั้งที่ 61 ประจาปี การศึกษา 2554
“สุ ดยอดเด็กไทย ก้าวล้ า สู่ ผนาอาเซี ยน”
                               ู้
         3. รางวัล “ครู ผฝึกสอนนักเรี ยนได้รับเกียรติบตรระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมการแข่งขัน
                         ู้                              ั
โปรแกรม GSP ระดับ ม.ต้น ” งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยนระดับชาติ ครั้งที่ 61 ประจาปี
การศึกษา 2554 “สุ ดยอดเด็กไทย ก้าวล้ า สู่ ผนาอาเซี ยน”
                                                ู้
14


        ผลการประเมินการปฏิบติงาน ทั้งด้านการสอนและการปฏิบติงานหน้าที่พิเศษอื่น ๆ
                               ั                               ั
เกณฑ์การประเมินใช้ความพึงพอใจของตนเองเป็ นหลัก โดยจัดระดับคุณภาพเป็ น 5 ระดับ
ได้แก่ ระดับดีเยียม(5) ระดับดีมาก(4) ระดับดี(3) ระดับพอใช้(2) และระดับปรับปรุ ง(1)
                 ่
         1. ประเมินระดับคุณภาพการปฏิบติงานตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
                                         ั
                                                                      ระดับการปฏิบติ ั
                                                                 ระยะเวลาการปฏิบติงาน
                                                                                   ั
                         รายการปฏิบติั                            เดือนพฤษภาคม 2555




                                                                                              ปรับปรุ ง
                                                               ดีเยียม




                                                                                      พอใช้
                                                                         ดีมาก
                                                                                 ดี
                                                                    ่
                                                               5          4      3     2        1
      1. มีการกาหนดเป้ าหมายคุณภาพผูเ้ รี ยนทั้งด้านความรู ้   
         ทักษะกระบวนการ สมรรถนะ และคุณลักษณะที่พึง
         ประสงค์
      2. มีการวิเคราะห์ขอมูลนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล และใช้
                                 ้                             
         ข้อมูลในการวางแผนการจัดการเรี ยนรู้เพื่อพัฒนา
         ศักยภาพของผูเ้ รี ยน
      3. ออกแบบและจัดการเรี ยนรู้ที่ตอบสนองความ                          
         แตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา
      4. ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนา                       
         บริ บทและภูมิปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการในการ
         จัดการเรี ยนรู้
      5. มีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการ                      
         เรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย
      6. ให้คาแนะนา คาปรึ กษา และแก้ไขปั ญหาให้แก่             
         ผูเ้ รี ยนทั้งด้านการเรี ยน และคุณภาพชีวตด้วยความ
                                                    ิ
         เสมอภาค
      7. มีการศึกษา วิจยและพัฒนาการจัดการเรี ยนรู้ในวิชา
                               ั                                                 
         ที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับการสอน
      8. ประพฤติปฏิบติตนเป็ นแบบอย่างที่ดี และเป็ น
                             ั                                 
         สมาชิกที่ดีของสถานศึกษา
      9. จัดการเรี ยนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายเต็ม         
15


  เวลา เต็มความสามารถ
  รวม (25+12+3 = 40 / 9 = 4.44)                      25    12    3           -

- สรุ ปจากการประเมินตนเอง พบว่า รายการประเมินที่ 1, 2 , 6 , 8 และ 9 เป็ นรายการ
  ที่มีระดับคุณภาพดีเยียม ส่ วนรายการปฏิบติที่ 3 , 4 และ 5 มีระดับคุณภาพดีมาก
                       ่                 ั
  และรายการประเมินที่ 7 มีระดับคุณภาพดี

           ่                                                     ่
- สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ
                               ั
       ( ) ดีเยียม () ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง
                ่
16


2. การประเมินตนเองด้านคุณธรรมจริ ยธรรม / การจัดการเรี ยนการสอน
                                                                                    ระดับคุณภาพ
 ที่                        รายการประเมินครู ประจาวิชา




                                                                                                         ปรับปรุ ง
                                                                          ดีเยียม



                                                                                                 พอใช้
                                                                                    ดีมาก
                                                                                            ดี
                                                                               ่
                                                                          5 4 3 2                        1
 1.      เข้า – ออกสอนตรงเวลา                                             
 2.      แต่งกายสุ ภาพถูกระเบียบ เป็ นแบบอย่างที่ดี                       
 3.      รักมีความจริ งใจและสนุกสนานร่ าเริ งให้ความเป็ นกันเองกับศิษย์   
 4.      จัดบรรยากาศห้องเรี ยนให้น่าอยู่                                  
 5.      มีสื่อการเรี ยนการสอนที่สามารถศึกษาค้นคว้าในห้องเรี ยน             
 6.      แนะนาการใช้ห้องสมุดและแหล่งข้อมูลที่สามารถศึกษาค้นคว้า             
 7.      อบรมคุณธรรมจริ ยธรรมที่สามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน          
 8       ก่อนการเรี ยนครู แจ้งผลการเรี ยนรู ้ที่คาดหวัง                     
 9.      มีความรู ้ในสาระที่สอนและสอนเข้าใจเนื้อหาได้ง่าย                   
10.      จัดกระบวนการเรี ยนรู้ที่หลากหลาย                                     
11.      แจ้งเกณฑ์การวัดและประเมินผลกับผูเ้ รี ยน                           
12.      วัดผลประเมินผลผูเ้ รี ยนตามสภาพจริ ง                             

       รวมคะแนน (รวมคะแนนทุกระดับ = 30 + 20 + 3 = 53 / 12 = 4.42)         30 20 3                 -       -

         -                ่                                                     ่
                 สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ
                                              ั
                 ( ) ดีเยียม () ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง
                            ่
17


1. ด้ านการสอน (ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน)
                       ่
         - สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ
                                                                 ั                       ่
                   ( ) ดีเยียม ( ) ดีมาก (  ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง
                                         ่
2. ด้ านงานพิเศษอืน ๆ ได้แก่
                     ่
         2.1 งานครู ที่ปรึกษา
                         ่
         - สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ
                                                                   ั                       ่
                   (  ) ดีเยียม ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง
                                                         ่
          2.2 ประเมินคุณภาพผู้เรียน
                                 ่
               -สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ
                                                                           ั                       ่
                   ( ) ดีเยียม () ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง
                                           ่
          2.3 งานหัวหน้ ากลุ่มสาระการเรี ยนรู้ คณิตศาสตร์
                           ่
             -สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ
                                                                     ั                       ่
                   ( ) ดีเยียม ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง
                                             ่
          2.4 งานโรงเรียนในฝัน
                                   ่
               -สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ
                                                                             ั                           ่
                   ( ) ดีเยียม ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง
                                               ่
          2.5 งานคณะสี
                                     ่
               -สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ
                                                                               ั                     ่
                   ( ) ดีเยียม () ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง
                                                 ่
          2.6 ฝ่ ายแผนงานและประกันคุณภาพการศึกษา
                                       ่
               -สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ
                                                                                 ั                     ่
                   ( ) ดีเยียม ( ) ดีมาก () ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง
                                                   ่
          2.7 งานเจ้ าหน้ าทีกจกรรมลูกเสื อ            ่ิ
                             ่
              -สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ
                                                                       ั                       ่
                   (  ) ดีเยียม ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง
                                                           ่
          2.8 งานแผนและงบประมาณ งานเจ้ าหน้ าทีพสดุโรงเรียนกุดชุ มวิทยาคม            ่ ั
                               ่
              -สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ
                                                                         ั                       ่
                   ( ) ดีเยียม () ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง
                                                     ่
          2.9 ฝ่ ายอาคารสถานทีและสิ่ งแวดล้อม งานอาคารสถานที่  ่
                                                       ่
                    -สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูใน
                                                                                   ั                       ่
               ระดับ
                   (  ) ดีเยียม ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง
                                                             ่
18


           2.10 งานเจ้ าหน้ าทีงานโภชนาการ
                                       ่
                  ่                                                       ่
     -สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ
                                           ั
                      ( ) ดีเยียม ( ) ดีมาก (  ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง
                               ่
          2.11 ฝ่ ายกิจการนักเรียน
                           ่                                                     ่
                 -สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ
                                               ั
                      ( ) ดีเยียม ( ) ดีมาก (  ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง
                                 ่
3. ด้ านการอบรมสั มมนา / พัฒนาตนเอง
                    ่
    - สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ
                                             ั                              ่
                      ( ) ดีเยียม () ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง
                                   ่
4. ผลงานดีเด่ น
               ่                                                        ่
   - สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ
                                         ั
                      ( ) ดีเยียม () ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง
                                     ่


5. ความต้ องการ สภาพปัญหา เป้ าหมายในการพัฒนาผู้เรียน
       5.1 ความต้ องการ/จุดมุ่งหมายของหลักสู ตร / พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ
          หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็ นคนดี
มีปัญญา มีความสุ ข และมีความเป็ นไทย มีศกยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชี พ จึง
                                             ั
กาหนดจุดหมายซึ่ งถือเป็ นมาตรฐานการเรี ยนรู ้ให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เฉพาะที่
สอดคล้องกับโรงเรี ยนกุดชุมวิทยาคมและกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ มีดงนี้
                                                                          ั
              1. ผูเ้ รี ยนมีคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์
              2. ผูเ้ รี ยนมีจิตสานึกในการอนุ รักษ์และพัฒนาสิ่ งแวดล้อม
              3. ผูเ้ รี ยนมีทกษะในการทางาน รักการทางานสามารถทางานร่ วมกับผูอื่น มีเจต
                                 ั                                                 ้
                    คติที่ดีต่ออาชีพสุ จริ ต
              4. ผูเ้ รี ยนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีวจารณญาณและมี
                                                                        ิ
                    ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์คิกไตร่ ตรองและมีวสยทัศน์
                                                                 ิ ั
              5. ผูเ้ รี ยนมีทกษะความรู้และจาเป็ นตามหลักสู ตร
                                   ั
              6. ผูเ้ รี ยนมีทกษะในการแสวงหาความรู้ดวยตนเอง รักการเรี ยนรู้ และพัฒนา
                               ั                           ้
                    ตนเองอย่างต่อเนื่อง
              7. ผูเ้ รี ยนมีสุขนิสัยมีสุขภาพกาย สุ ขภาพจิตที่ดี
              8. ผูเ้ รี ยนมี มีสุนทรี ยภาพทางด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา
19


          5.2 สภาพทัวไป/สภาพปัญหาของผู้เรี ยน
                             ่
                สภาพทัวไปของนักเรียนก่อนสอน
                               ่
                         นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ประจาปี การศึกษา 2554 นักเรี ยนร้อยละ 85
เป็ นนักเรี ยนที่มีวินยในตนเอง ปฏิบติตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ
                           ั                      ั
                                                               ่
มีคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ อยูในระดับปานกลาง เพราะครู ตองคอยบอกและ      ้
ตักเตือนเรื่ องการประพฤติปฏิบติตนให้เหมาะสม นักเรี ยนมักจะรักความสะดวก ทาทุกอย่าง
                                            ั
ตามใจตนเอง ไม่ค่อยคานึงถึงกฎเกณฑ์ทางสังคม , ด้านความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน รักการ
อ่าน รักการเขียน และรักการค้นคว้า นักเรี ยนที่มีคุณสมบัติน้ ีจะมีประมาณร้อยละ 50 ของ
นักเรี ยนที่สอนทั้งหมด 249 คน ฉะนั้นจึงเป็ นปั ญหาที่จะต้องปลูกฝังอย่างเร่ งด่วน , ด้านการเป็ น
คนดีมีคุณธรรม จริ ยธรรม และปฏิบติตนตามหลักศาสนามีนิสัยรักการอ่าน รักการเขียน รักการ
                                                ั
ค้นคว้า ใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน และมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวน และทักษะในการดารงชีวต
                                                                 ั                                         ิ
ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง มีทกษะในการสื่ อสารและการใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสมมี
                                              ั
จิตสานึกในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและสิ่ งแวดล้อม มีสุขภาพร่ างกายและสุ ขภาพจิตที่ดีมี
ความภูมิใจในความเป็ นไทย และยึดมันในวิถีชีวตตามระบอบประชาธิ ปไตย นักเรี ยนปั จจุบนนี้
                                                    ่      ิ                                            ั
ไม่ค่อยสนใจความเป็ นไทย เนื่องจากวัฒนธรรมจากนานาประเทศหลังไหลเข้ามาอย่างหลากหลาย
                                                                              ่
ประกอบกับเยาวชนไทยที่มีกระแสค่านิยมวัฒนธรรมต่างชาติ ทาให้ลืมเลือนความเป็ นไทยไปมาก
จนน่าเป็ นห่วงโดยสังเกตได้จากพฤติกรรมต่างๆ ที่แสดงออกมาให้เห็นอย่างชัดเจน เป็ นต้นว่า การ
แต่งกาย การใช้ภาษา การใช้เทคโนโลยี ความเป็ นอยู่ ด้านความรักประเทศชาติและท้องถิ่น มุ่ง
ทาประโยชน์และสร้างสิ่ งที่ดีงามให้สังคม นักเรี ยนมีความเห็นแก่ตวขาดคุณสมบัติของผูมีจิต
                                                                          ั                      ้
สาธารณะที่จะเสี ยสละเพื่อส่ วนรวม สังเกตได้จากการทิ้งขยะและการวางเฉยต่อสิ่ งที่ไม่เหมาะไม่
ควร ครู ตองสร้างกิจกรรมต่างๆ เพื่อปลุกจิตสานึกให้เป็ นผูที่มีคุณลักษณะที่สังคมต้องการ
            ้                                                      ้
          สภาพทัวไปของนักเรียนหลังสอน
                       ่
                         ด้านการมีวินยในตนเอง ปฏิบติตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่
                                        ั                ั
ตนนับถือ มีคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ นักเรี ยนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รู ้
สิ่ งใดควร ไม่ควร มีวนยและความรับผิดชอบมากขึ้น สังเกตจากการกระตือรื อร้นในการทางานที่
                                 ิ ั
ครู สั่ง จะมีอยูเ่ พียงเล็กน้อยที่ยงคงพฤติกรรมเดิมๆ หลังจากที่ครู ได้สอดแทรกคุณธรรม จริ ยธรรม
                                          ั
                                      ั                                         ่
และค่านิยมที่พึงประสงค์ไว้กบการเรี ยนรู ้ พยายามอบรมบ่มนิสัยให้รู้วาสิ่ งใดควร สิ่ งใดไม่ควร
นักเรี ยนส่ วนใหญ่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่ดีข้ ึน , ด้านความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่ รู้ใฝ่
เรี ยน รักการอ่าน รักการเขียน และรักการค้นคว้า ครู สร้างกิจกรรมพัฒนาการคิดอย่างเป็ นระบบ
มีกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่จะต้องค้นคว้าจากแหล่งเรี ยนรู ้ต่างๆ เป็ นผลให้นกเรี ยนเป็ นผูใฝ่ รู ้ใฝ่ เรี ยน ,
                                                                                  ั       ้
ด้านการเป็ นคนดีมีคุณธรรม จริ ยธรรม และปฏิบติตนตามหลักศาสนามีนิสัยรักการอ่าน รักการ
                                                             ั
เขียน รักการค้นคว้า ใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน และมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการ และทักษะ
                                                                            ั
20


ในการดารงชี วตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง มีทกษะในการสื่ อสารและการใช้เทคโนโลยีได้
                  ิ                                      ั
เหมาะสม มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและสิ่ งแวดล้อม มีสุขภาพร่ างกายและ
สุ ขภาพจิตที่ดี มีความภูมิใจในความเป็ นไทย และยึดมันในวิถีชีวตตามระบอบประชาธิ ปไตย
                                                             ่         ิ
ภูมิใจในความเป็ นไทย เป็ นพลเมืองดี ยึดมันในวิถีชีวตและการปกครองระบอบประชาธิปไตย
                                                  ่        ิ
อันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข , ด้านมีจิตสานึกในการอนุรักษ์ภาษาไทย ศิลปะ
                         ์
วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญาไทย ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่ งแวดล้อม นักเรี ยน
ได้รับการอบรมจากครู ผสอน การจัดกิจกรรมส่ งเสริ มเกี่ยวกับการอนุ รักษ์ความเป็ นไทยและจาก
                            ู้
การจัดกิจกรรมสร้างเสริ มคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของฝ่ ายบริ หารงานทัวไป ทาให้นกเรี ยนมี
                                                                                 ่          ั
คุณสมบัติของความเป็ นคนไทยมากขึ้น , ด้านความรักประเทศชาติและท้องถิ่น มุ่งทาประโยชน์
และสร้างสิ่ งที่ดีงามให้สังคม นักเรี ยนมีพฒนาการด้านนี้ นอยยังต้องหาวิธีสร้างเสริ มให้เข้มแข็ง
                                                ั                ้
มากขึ้น
               5.3 เปาหมายของการพัฒนานักเรียน
                     ้
               5.1.1 ขั้นเตรี ยม
  -                    ศึกษา ค้นคว้าหาความรู ้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรี ยนรู ้วชาคณิ ตศาสตร์
                                                                                   ิ
(ค 23101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
  -                    ศึกษาหลักสู ตรสถานศึกษา คาอธิ บายรายวิชา หน่วยการเรี ยนรู ้และผลการ
เรี ยนรู้ที่คาดหวังวิชาคณิ ตศาสตร์ (ค 23101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3
  -                    ศึกษาวิเคราะห์มาตรฐานการศึกษาของโรงเรี ยน ด้านผูเ้ รี ยนจานวน 8
มาตรฐานได้
  -                    ศึกษาการเขียนแผนจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ
  -                    ศึกษาวิธีการสอนโดยใช้ทกษะและกระบวนการคิด
                                                    ั
  -                    ศึกษาวิธีการผลิตสื่ อ
  -                    จัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ทกษะและกระบวนการคิด
                                                               ั
               5.1.2 ขั้นดาเนินงาน ข้าพเจ้าได้ดาเนินงาน ดังนี้
  -                    จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้
  -                    ศึกษานักเรี ยนเป็ นรายบุคคล โดย
                                   แบ่งกลุ่มนักเรี ยนเก่ง ปานกลาง อ่อน
                                   จัดทาประวัติรายบุคคล ระเบียนนักเรี ยนจากห้องที่เป็ นที่ปรึ กษา
                    - วัดประเมินผลตามสภาพจริ ง โดยใช้เครื่ องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้
                                   แบบทดสอบ แบบประเมินพฤติกรรมนักเรี ยน
                                   แบบประเมินการทางานกลุ่มแบบประเมินผลงานที่เกิดจากการ
                                      เรี ยนรู้
21




6. ความรู้ สึก หรือคุณค่ าทีได้ รับจากการปฏิบัติหน้ าทีเ่ ป็ นครู ต่อนักเรียน มีดงนี้
                            ่                                                    ั
        1. ปฏิบติหน้าที่กากับดูแลนักเรี ยนอย่างจริ งจัง นักเรี ยนมีความประพฤติดีอย่างน้อย
               ั
ร้อยละ 90 ของนักเรี ยนที่รับผิดชอบ
        2. ประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ดีเพื่อให้นกเรี ยนศรัทธาและปฏิบติตามในทางที่ถูกที่ควร
                                                 ั                      ั

7. การปฏิบัติการสอนประจาปี การศึกษา 2554 นี้ ข้ าพเจ้ าได้ ค้นพบความรู้ ใหม่ ดังนี้
            1) วิธีการสอนที่พบว่าประสบความสาเร็ จมากที่สุด คือ การสอนแบบเน้นย้าให้นกเรี ยน
                                                                                       ั
ได้มีการฝึ กทักษะการทาโจทย์ O-Net และตัวอย่างโจทย์ปัญหาที่หลากหลายแทรกระหว่างการ
สอนเนื้ อหาในชั้นเรี ยน เป็ นการฝึ กหัดทักษะกระบวนการคิดให้นกเรี ยน นักเรี ยนจึงจะมีความคิดที่
                                                                ั
คงทนสามารถแก้ปัญหาได้ทุกเรื่ อง จึงมีผลทาให้ผลการสอบ O-Net ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษา
ปี ที่ 3 ปี การศึกษา 2554 เพิ่มขึ้นร้อยละ 34.65
            2) ปัจจัยที่ทาให้ประสบผลสาเร็ จในการปฏิบติหน้าที่ คือ ความมุ่งมันและตั้งใจใส่ ใจของ
                                                    ั                       ่
ในการสอนของครู จากการได้รับการสนับสนุ นจากโรงเรี ยนเป็ นอย่างดี และนักเรี ยนมีความ
มุ่งมันในการเรี ยน มีความรับผิดชอบ มีความตระหนักและใส่ ใจต่อการเรี ยนอยูในระดับดีอย่าง
       ่                                                                      ่
น้อยร้อยละ 85

8. ปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะ
        1) สิ่ งที่ตองแก้ไข (ปั ญหา) คือ วิธีการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้บางวิธีการและการจัด
                    ้
กิจกรรมการเรี ยนซ่อมเสริ มสาหรับนักเรี ยนที่เรี ยนอ่อนและนักเรี ยนหลบเรี ยน
        2) สิ่ งที่ตองการพัฒนาต่อไป คือ การเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นทักษะและ
                      ้
กระบวนการคิดอย่างเต็มที่ทุกหน่วยการเรี ยนรู ้เพื่อใช้สอนและพัฒนานักเรี ยนต่อไป
        3) เรื่ องที่ควรจะนาไปทาวิจยในชั้นเรี ยนต่อไป คือ การใช้แผนการตัดการเรี ยนรู้แบบ
                                     ั
ใช้ทกษะและกระบวนการคิดสาหรับนักเรี ยน
    ั

                                            ลงชื่อ..........................................ผูรายงาน
                                                                                              ้
                                                       (นางทับทิม เจริ ญตา)
                                                             ตาแหน่ง ครู
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar
ตัวอย่าง Sar

More Related Content

What's hot

บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55Sircom Smarnbua
 
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป577กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป57somdetpittayakom school
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceKobwit Piriyawat
 
ตัวอย่างบันทึกความดีครูทับทิม
ตัวอย่างบันทึกความดีครูทับทิมตัวอย่างบันทึกความดีครูทับทิม
ตัวอย่างบันทึกความดีครูทับทิมทับทิม เจริญตา
 
6กลุ่มกิจการนักเรียน57
6กลุ่มกิจการนักเรียน576กลุ่มกิจการนักเรียน57
6กลุ่มกิจการนักเรียน57somdetpittayakom school
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552Nattapon
 
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คWpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คkrupornpana55
 
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54Montree Jareeyanuwat
 
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.คกำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.คkrupornpana55
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2sarawut chaicharoen
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์srkschool
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101Kobwit Piriyawat
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์คุณครูพี่อั๋น
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำWareerut Hunter
 
ทักษะชีวิต
ทักษะชีวิตทักษะชีวิต
ทักษะชีวิตkrupornpana55
 
4กลุ่มอำนวยการ57
4กลุ่มอำนวยการ574กลุ่มอำนวยการ57
4กลุ่มอำนวยการ57somdetpittayakom school
 

What's hot (19)

บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
บันทึกความดีศิริวุฒิ 1 55
 
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป577กลุ่มบริหารทั่วไป57
7กลุ่มบริหารทั่วไป57
 
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring scienceปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
ปรับการเรียนเปลี่ยนการสอนด้วย Inspiring science
 
ตัวอย่างบันทึกความดีครูทับทิม
ตัวอย่างบันทึกความดีครูทับทิมตัวอย่างบันทึกความดีครูทับทิม
ตัวอย่างบันทึกความดีครูทับทิม
 
6กลุ่มกิจการนักเรียน57
6กลุ่มกิจการนักเรียน576กลุ่มกิจการนักเรียน57
6กลุ่มกิจการนักเรียน57
 
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
บันทึุกความดี ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2552
 
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.คWpกำหนดการสอน is1 พ.ค
Wpกำหนดการสอน is1 พ.ค
 
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
รายงานประเมินตนเองครูยุวนิตย์ 54
 
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.คกำหนดการสอนพรพนา5 1 57  พ.ค
กำหนดการสอนพรพนา5 1 57 พ.ค
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
กำหนดการสอนสุขศึกษา ม.2
 
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างแผนการสอนคอมพิวเตอร์
 
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
เค้าโครงการสอนแจกนักเรียน ม.1 ว21101
 
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
ตัวอย่างแผนการเรียนรู้ BackWard Design คณิตศาสตร์
 
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
2.แผนเรื่องโครงงานกระทงรักษ์น้ำ
 
SARkruwichaiTU2562
SARkruwichaiTU2562SARkruwichaiTU2562
SARkruwichaiTU2562
 
ทักษะชีวิต
ทักษะชีวิตทักษะชีวิต
ทักษะชีวิต
 
4กลุ่มอำนวยการ57
4กลุ่มอำนวยการ574กลุ่มอำนวยการ57
4กลุ่มอำนวยการ57
 
ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 

Similar to ตัวอย่าง Sar

มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐานtassanee chaicharoen
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมchanhom357
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554Nattapon
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือwatdang
 
โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54Lao-puphan Pipatsak
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...Kobwit Piriyawat
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7benty2443
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7nattawad147
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524gam030
 

Similar to ตัวอย่าง Sar (20)

มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐานมาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต  15 มาตรฐาน
มาตรฐานโรงเรียนวัดพวงนิมิต 15 มาตรฐาน
 
เสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรมเสริมสร้างคุณธรรม
เสริมสร้างคุณธรรม
 
คำนำ
คำนำคำนำ
คำนำ
 
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2554
 
สรุป E 734
สรุป    E  734สรุป    E  734
สรุป E 734
 
ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55ค่ายคณิต55
ค่ายคณิต55
 
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือหลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
หลักสูตรและวิชาพิเศษลูกเสือ
 
โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54โครงการห้องเรียน Eisปี54
โครงการห้องเรียน Eisปี54
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
Kamon1
Kamon1Kamon1
Kamon1
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 
7 170819173524
7 1708191735247 170819173524
7 170819173524
 

More from ทับทิม เจริญตา

ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ทับทิม เจริญตา
 

More from ทับทิม เจริญตา (20)

Pro1
Pro1Pro1
Pro1
 
Ex
ExEx
Ex
 
เกมซูดุคุ
เกมซูดุคุเกมซูดุคุ
เกมซูดุคุ
 
ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ ข้อสอบเมทริกชฺ
ข้อสอบเมทริกชฺ
 
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนามแบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
แบบทดสอบ เรื่องพหุนาม
 
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนามข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
ข้อสอบเรื่องการบวกลบคูณหารพหุนาม
 
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนามแบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
แบบฝึกการคูณและหารพหุนาม
 
แบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนามแบบฝึกพหุนาม
แบบฝึกพหุนาม
 
การบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนามการบวกลบพหุนาม
การบวกลบพหุนาม
 
เอกนาม
เอกนามเอกนาม
เอกนาม
 
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนามหาผลบวกและผลลบของเอกนาม
หาผลบวกและผลลบของเอกนาม
 
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1จงหาผลลบของเอกนามต่อไปนี้
 
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้ตัวอย่างที่ 1  จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
ตัวอย่างที่ 1 จงหาผลบวกของเอกนามต่อไปนี้
 
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
ข้อสอบตรรกศาตร์ม.4
 
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
แผนKpa ส่งจริง (ซ่อมแซม)
 
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลังสอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
สอบ สมบัติของเลขยกกำลัง
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5 ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4 ใบงานที่ 4
ใบงานที่ 4
 
ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3 ใบงานที่ 3
ใบงานที่ 3
 
ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2 ใบงานที่ 2
ใบงานที่ 2
 

ตัวอย่าง Sar

  • 1. 1 1. ข้ อมูลทั่วไป ประวัติส่วนตัว - ชื่อ – สกุล นางทับทิม เจริญตา ตาแหน่ งเลขที่ 102142 - เกิด วันพุธ ที่ 3 มิถุนายน 2517 อายุ 38 ปี - เริ่มรับราชการวันที่ 1 กันยายน 2540 ปฏิบัติราชการเป็ นเวลา 14 ปี - ตาแหน่ ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการ รับเงินเดือนในอันดับ คศ. 2 ขั้น 22,450 บาท - ปฏิบัติงานหลัก ปฏิบัติหน้ าทีสอน ่ ฝ่ าย / กลุ่มสาระ การเรี ยนรู้ คณิตศาสตร์ โรงเรียนกุดชุ มวิทยาคม อาเภอกุดชุ ม จังหวัดยโสธร สานักงานเขตพืนทีการศึกษามัธยมศึกษา ้ ่ เขต 28 สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ ้ - วุฒิการศึกษา ( ) เทียบเท่า / อนุปริ ญญาตรี () ปริญญาตรี วิชาเอก คณิตศาสตร์ วิชาโท คอมพิวเตอร์ ( ) ปริญญาโท สาขา .......................... วิชาโท - ( ) ปริญญาเอก สาขา .......................... วิชาโท - วิสัยทัศน์ พันธกิจ เปาหมาย ้ 1.วิสัยทัศน์ โรงเรียนกุดชุ มวิทยาคม โรงเรี ยนกุดชุมวิทยาคม มุ่งพัฒนาผูเ้ รี ยนให้มีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา เป็ นผูมี ้ คุณธรรมจริ ยธรรม มีทกษะในการแสวงหาความรู้และก้าวทันเทคโนโลยี มีวถีชีวตตาม ั ิ ิ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์บนพื้นฐานความเป็ นไทย มุ่งสู่ ความเป็ นสากล 2. วิสัยทัศน์ กลุ่มสาระการเรี ยนรู้ คณิตศาสตร์ ส่ งเสริ มและพัฒนาให้ผเู ้ รี ยนมีความรู ้ คู่คุณธรรม นาเทคโนโยลี มุ่งสู่ สากล ใช้ทกษะ ั และกระบวนการทางคณิ ตศาสตร์ เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวตตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ิ 3.วิสัยทัศน์ ส่วนบุคคล นางทับทิม เจริญตา “ มุ่งมันพัฒนา ส่ งเสริ ม สนับสนุนนักเรี ยนเป็ นคน เก่ง ดี มี สุ ข พัฒนาคุณภาพชีวต ่ ิ ตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง มุ่งสู่ สากล ”
  • 2. 2 2. ข้ อมูลการปฏิบติหน้ าที่ ั 1. ภาระงานด้ านการสอน ปฏิบติหน้าที่สอนตามรายวิชาที่ได้รับมอบหมายในปี การศึกษา 2554 ั ดังนี้ - ปี การศึกษา 2554 ปฏิบติการสอนจานวน 1 รายวิชา จานวน 6 ห้องเรี ยน ั รวม 18 คาบ/สัปดาห์ ดังนี้ ตาราง 1 แสดงจานวนรายวิชา / ชั้นเรียน / จานวนนักเรียน /จานวนชั่วโมงคาบเรียน ที่ ปฏิบัติการสอน จานวนคาบ/ ที่ รายวิชา / รหัสวิชา ชั้น จานวน นร. สัปดาห์ 1 คณิ ตศาสตร์ 3/2 -3/7 249 18 รวม 6 249 18 ตาราง 2 แสดงจานวนกิจกรรมเสริมหลักสู ตรที่ปฏิบัติในปี การศึกษา 2554 ที่ กิจกรรม กลุ่ม/ห้ อง จานวน นร. จานวนชั่วโมง 1 กิจกรรมชุมนุ มโครงงานคณิ ตศาสตร์ ม.ต้น 1 17 1 2 กิจกรรมลูกเสื อสามัญรุ่ นใหญ่ ม.1 1 128 1 3 กิจกรรมแนะแนว - โฮมรู ม 1 42 1 รวม 187 3 2. ภาระงานพิเศษอืน ๆ ได้ แก่ ่ 2.1 ภาระงานครู ที่ปรึกษา (ฝ่ ายกิจการนักเรียน) ปฏิบติหน้าที่ครู ที่ปรึ กษา ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3/7 ดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือ ั นักเรี ยน ดังนี้ 1. จัดทากาหนดการสอนรายชัวโมง รายสัปดาห์ เพื่อจัดการเรี ยนการสอน ตามระบบ ่ การดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน ในคาบแนะแนว /โฮมรู ม 2. บันทึกข้อมูลนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล ในชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3/7 เช่น ข้อมูลส่ วนตัว ข้อมูลด้านครอบครัว ข้อมูลด้านการเรี ยน (ตามแบบบันทึกระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน/ฝ่ าย กิจการ และบันทึกเอกสาร ปพ. 6 , ปพ. 8 ตามแบบฝ่ ายวิชาการ)
  • 3. 3 3. วิเคราะห์ขอมูลนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล โดยใช้แบบประเมิน SDQ จัดกลุ่มนักเรี ยน ้ กลุ่มปกติกลุ่มเสี่ ยง กลุ่มมีปัญหา ตามประเด็นการประเมิน เพื่อกากับติดตามดูแลช่วยเหลือ นักเรี ยน 4. เยียมบ้านนักเรี ยนที่พบสภาพปัญหา สาหรับนักเรี ยนที่อยูในกลุ่มเสี่ ยงและกลุ่มมี ่ ่ ปัญหา (ครู ที่ปรึ กษาติดตามนักเรี ยนอย่างต่อเนื่ องระยะเวลา 3 ปี ) 5. สร้างเครื อข่ายผูปกครองนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3/7 ติดต่อประสานงานเมื่อพบ ้ สภาพปัญหาผูเ้ รี ยนและมีการประชุม 6. ดูแลเอาใจใส่ นกเรี ยนเกี่ยวกับการเรี ยนในรายวิชาอื่น ๆ ที่นกเรี ยนลงทะเบียนเรี ยน ั ั สนับสนุนวัสดุอุปกรณ์การเรี ยน 7. ส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมในการดูแลรักษาสิ่ งแวดล้อม และจัดเวรทาความสะอาด ห้องเรี ยน 325-326 อาคาร 3 8. ส่ งเสริ มการอ่านและบันทึกจากการอ่าน 9. ส่ งเสริ มการร่ วมกิจกรรมพัฒนาผูเ้ รี ยนที่หลากหลาย ให้เต็มตามศักยภาพ ตามความ ถนัดและความสนใจ เช่น กิจกรรมวันสุ นทรภู่ วันวิทยาศาสตร์ กิจกรรมวันแม่ และการแข่งขัน อื่น ๆ ฯลฯ 10. ควบคุม ดูแล ช่วยเหลือนักเรี ยน ม. 3/7 ที่มีผลการเรี ยน 0 มส มผ ติดต่อขอแก้ ให้ เรี ยบร้อย 11. สรุ ปผลการดาเนินงานระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรี ยน และรายงานต่อหัวหน้า สถานศึกษา 2.2 งานประกันคุณภาพการศึกษา 2.2.1 ด้ านคุณภาพผู้เรียน รับผิดชอบ พัฒนา ส่ งเสริ มผูเ้ รี ยน ให้มีมาตรฐานตามมาตรฐาน การศึกษาของโรงเรี ยน และมีมาตรฐานตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยประเมินผูเ้ รี ยน จัดระดับคุณภาพของผูเ้ รี ยน สรุ ปและรายงานผลต่อหัวหน้าสถานศึกษา เพื่อรองรับการประเมิน คุณภาพภายนอก จานวน 7 มาตรฐาน 28 ตัวบ่งชี้ ดังนี้ 2.3 งานหัวหน้ ากลุ่มสาระการเรี ยนรู้ คณิตศาสตร์ 1. ประชุมวางแผนเกี่ยวกับการจัดทา/ปรับปรุ งหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ จัดทา หลักสู ตรระดับชั้นเรี ยน (เอกสารประกอบหลักสู ตร) ให้ความร่ วมมือในการจัดทาหลักสู ตร สถานศึกษา 2. มอบหมายภาระงานด้านการสอน จานวนรายวิชา จานวนคาบแก่คณะครู ภายในกลุ่ม สาระการเรี ยนรู้คณิ ตศาสตร์
  • 4. 4 3. ประชุมกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ จัดทาแผนและปฏิทินปฏิบติการของกลุ่มสาระ และ ั ควบคุมให้การดาเนินงานเป็ นไปตามแผนงานการใช้งบประมาณภายในกลุ่มสาระการเรี ยนรู้ 4. ร่ วมกับคณะครู ทุกคน จัดทาแผนการเรี ยนรู ้ในรายวิชาต่างๆ ภายในกลุ่มสาระการ เรี ยนรู้คณิ ตศาสตร์ 5. นิเทศ กากับติดตามการเรี ยนการสอน ให้ขอเสนอแนะและประสานความร่ วมมือ ้ ภายในกลุ่มสาระ 6. พัฒนาการวัดผลประเมินผลและผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยนในรายวิชาภายใน กลุ่มสาระฯ 7. พัฒนาการเรี ยนการสอน สนับสนุน ครู อาจารย์ในการพัฒนางาน จัดหาเอกสาร อุปกรณ์ สื่ อการสอนภายในกลุ่มสาระ (ทะเบียนสื่ อฯ) 8. ประเมินผลการดาเนินงานกลุ่มสาระและรายงานผลการดาเนินงานต่อหัวหน้า สถานศึกษา 9. เผยแพร่ กิจกรรมภายในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้และผูเ้ กี่ยวข้อง 10. ประเมินผลการดาเนิ นงานภาพรวมของกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ และประเมินตนเอง ตามมาตรฐานวิชาชีพครู / ตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน (มาตรฐาน สพฐ. มาตรฐานที่ 7 เริ่ มใช้ปีการศึกษา 2554) 2.4 งานโรงเรียนในฝัน ให้ความร่ วมมือฝ่ ายบริ หารในการดาเนินงานตามขอบข่ายภาระงานของโรงเรี ยนใน ฝัน หรื อโรงเรี ยนดีใกล้บาน ้ 2.5 งานคณะสี ให้ความร่ วมมือฝ่ ายบริ หาร / กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาพลศึกษาในการกากับ ติดตามดูแลนักเรี ยนของคณะสี ต่าง ๆ 2.6 งานเจ้ าหน้ าทีกจกรรมลูกเสื อ ่ิ งานเจ้าหน้าที่ลูกเสื อ ผูรายงานได้รับมอบหมายให้ปฏิบติหน้าที่เป็ นเจ้าหน้าที่โดยได้ ้ ั ปฏิบติงานตามขั้นตอนดังนี้ ั 1. จัดเก็บสาเนาเกียรติบตรของบุคลากรที่เข้าอบรมเกี่ยวกับลูกเสื อต่างๆ ั 2. จัดทาทะเบียนวัดสุ - ครุ ภณฑ์ของกิจกรรมลูกเสื อ ั 3. จัดทาคาสั่งบุคลากรเข้าร่ วมงานวันคล้ายวันสถาปนาลูกเสื อ 4. จัดทาทะเบียนลูกเสื อสามัญรุ่ นใหญ่และลูกเสื อวิสามัญ 5. จัดทาเอกสารขออนุ ญาตผูปกครองในการเข้าร่ วมกิจกรรมต่างๆของลูกเสื อ ้ 6. เก็บเงินลูกเสื อและจัดส่ งสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 7. จัดทาแบบรายงานการลูกเสื อประจาปี ส่ งสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
  • 5. 5 8. จัดทาและจัดหาคากล่าวรายงานในพิธีวนสถาปนาลูกเสื อและคากล่าวสดุดีเฉลิม ั พระเกียรติ 9. จัดทาเอกสารขอจัดซื้ อเอกสารใบเสร็ จลูกเสื อไปที่สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา 10. จัดทาเอกสารใบสมัครเข้าร่ วมอบรมต่างๆของผูบงคับบัญชาลูกเสื อ ้ ั 11. จดบันทึกการประชุมผูบงคับบัญชาลูกเสื อ ้ ั 2.7 งานแผนและงบประมาณ งานเจ้ าหน้ าทีพสดุโรงเรี ยนกุดชุ มวิทยาคม ่ ั 1. ดาเนินการจัดซื้ อจัดจ้างให้กลุ่มงานฯ และกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้โรงเรี ยน 2. จัดทาบัญชีพสดุ บัญชีครุ ภณฑ์ ทะเบียนทรัพย์สิน ั ั 3. จัดทาสอบราคาซื้ อ สอบราคาจ้าง และ ประกวดราคา 4. ตรวจสอบและจาหน่ายพัสดุประจาปี งบประมาณ 2.8 ฝ่ ายอาคารสถานที่และสิ่ งแวดล้อม งานอาคารสถานที่ 1. ร่ วมรับผิดชอบดูแล ห้อง 325-326 2. ร่ วมรับผิดชอบดูแลห้องฝ่ ายการเงิน 2.9 งานเจ้ าหน้ าทีงานโภชนาการ ่ 1. ทาการสารวจโรงอาหารประจาวันที่ได้รับมอบหมายคือประจาวันพฤหัสบดี พร้อมรายงานผลการสารวจโรงอาหารให้หวหน้างานโภชนาการทราบเป็ นประจาทุกครั้ง ั 2. สรุ ปผลการปฏิบติงานและภาพรวมของการปฏิบติงานให้หวหน้าสถานศึกษา ั ั ั ทราบภาคเรี ยนละ 1 ครั้ง 3. นาสรุ ปผลการปฏิบติงานไปปรับปรุ งแก้ไขในการปฏิบติงานในปี การศึกษา ั ั ต่อไป 2.10 ฝ่ ายกิจการนักเรียน 2.10.1 งานเวรประจาวัน (วันพฤหัสบดี) ปฏิบติหน้าที่คือ ั 1. ปฏิบติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายภาระงานจากหัวหน้าเวรประจาวัน ั 2. อบรมนักเรี ยนหน้าเสาธง 3. ลงบันทึกการปฏิบติหน้าที่ประจาวัน ั 4. ดูแลตรวจสอบควบคุมนักเรี ยนเข้าแถวและร่ วมกิจกรรมหน้าเสาธง 5. ดูแลตรวจสอบส่ งเสริ มความประพฤติ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยน 2.10.2 งานเวรกลางวัน ปฏิบติหน้าที่คือ ั 1. ปฏิบติหน้าที่เวรกลางวันในวันหยุดราชการ ั 2. ลงบันทึกการปฏิบติหน้าที่และเหตุการณ์เวรกลางวัน ั
  • 6. 6 3. การพัฒนาด้ วยตนเอง ข้ อมูลการพัฒนาตนเอง ปฏิบติกิจกรรมที่เกี่ยวกับการพัฒนาตนเอง ดังนี้ ั 3.1 การพัฒนาด้ านงานสอน 3.1.1 การสอนรายวิชา การเตรี ยมความพร้อมภาระงานด้านการสอน ข้าพเจ้าศึกษาพระราชบัญญัติ การศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 ศึกษาหลักสู ตรการศึกษา ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 และหลักสู ตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เกี่ยวกับหลักการ จุดหมาย โครงสร้างของหลักสู ตร ศึกษาหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ คณิ ตศาสตร์ เกี่ยวกับ วิสัยทัศน์ สาระและมาตรฐานการเรี ยนรู ้ คุณภาพผูเ้ รี ยนหลังการเรี ยนกลุ่ม สาระฯ โดยปฏิบติ ดังนี้ั 1. วิเคราะห์มาตรฐานการเรี ยนรู ้กลุ่มสาระ ตัวชี้วด จัดทาคาอธิ บายรายวิชา กาหนด ั โครงสร้างหน่วยการเรี ยนรู ้รายวิชา ให้เป็ นไปตามจุดหมายของหลักสู ตร 2. จัดทาเอกสารประกอบหลักสู ตรในรายวิชาที่สอน 3. จัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู้ สาระการเรี ยนรู้คณิ ตศาสตร์ โดยสอดแทรกเรื่ อง คุณธรรมจริ ยธรรม คุณลักษณะอันพึงประสงค์ในเรื่ องต่อไปนี้ 1) รักชาติ ศาสน์ กษัตริ ย ์ 2) ซื่อสัตย์สุจริ ต 3) มีวนย 4) ใฝ่ เรี ยนรู้ 5) อยูอย่างพอเพียง 6) มุ่งมันในการทางาน 7) รัก ิ ั ่ ่ ความเป็ นไทย และ 8) มีจิตสาธารณะ 4. วิเคราะห์ รวบรวมข้อมูลนักเรี ยนเป็ นรายบุคคลในรายวิชา จัดนักเรี ยนกลุ่มเก่ง กลุ่ม ปานกลาง กลุ่มอ่อน โดยการทดสอบวัดความรู ้พ้ืนฐานรายวิชาคณิ ตศาสตร์ ก่อนการเรี ยนการสอน และวิธีการอื่น ๆ 5. สอบ Pretest และ Posttest เพื่อเปรี ยบเทียบผลการพัฒนาของผูเ้ รี ยน 6. จัดทาสื่ อประเภทมัลติมีเดีย / สื่ อประเภทเอกสารประกอบการเรี ยน 7. วัดความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการจัดการเรี ยนรู ้ 8. แก้ปัญหาผูเ้ รี ยนโดยใช้กระบวนการวิจยในชั้นเรี ยนและรายงานผลการวิจย ั ั 9. ยกระดับผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนในรายวิชาที่รับผิดชอบ 10. ผลสัมฤทธิ์ การสอบ O-net กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ เพิ่มขึ้น 11. การจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู ้ทุกรายวิชาที่สอนและส่ งก่อนใช้สอน 12. การผลิตสื่ อการสอนICT เช่น E-learning , CAI , WAI Facebook ฯลฯ รายวิชา คณิ ตศาสตร์ 13. การใช้ส่ื อและอุปกรณ์การสอน ได้แก่ เครื่ องขยายเสี ยง ไมค์โครโฟนวีดิทศน์ ั โปรเจคเตอร์ ฯลฯ ทุกครั้งที่จดกิจกรรมการเรี ยนการสอน ั
  • 7. 7 14. ส่ งเสริ ม สนับสนุนนักเรี ยนที่มีศกยภาพให้มุ่งสู่ ความเป็ นเลิศทางด้านคณิ ตศาสตร์ ั ส่ งนักเรี ยนเข้าร่ วมแข่งขันทักษะคณิ ตศาสตร์ ทั้งในระดับเขตพื้นที่ ระดับจังหวัด ระดับภาค ได้รับเหรี ยญทอง อันดับหนึ่ ง และเข้าแข่งขันระดับประเทศ 15. ส่ งเสริ ม สนับสนุนนักเรี ยนเข้าร่ วมประกวดแข่งขันทักษะทางคณิ ตศาสตร์ กับ หน่วยงานอื่นและได้รับรางวัล 3.1.2 งานสอนกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมลูกเสื อสามัญรุ่ นใหญ่ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 1. ร่ วมประชุมคณะครู ที่รับผิดชอบกิจกรรมลูกเสื อสามัญรุ่ นใหญ่ทุกระดับชั้น จัดทา หลักสู ตรกิจกรรมลูกเสื อสามัญรุ่ นใหญ่ของสถานศึกษา หลักสู ตรชั้นปี และจัดทาเอกสาร ประกอบหลักสู ตร 2. วางแผนการจัดการเรี ยนรู ้และจัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู ้กิจกรรมลูกเสื อสามัญรุ่ น ใหญ่ช้ นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 โดยจัดทากาหนดการสอนรายชัวโมง และแผนการจัดการเรี ยนรู้ ราย ั ่ ชัวโมงตามเนื้ อหาที่ได้รับมอบหมาย ่ 3. วัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนและวัดความพึงพอใจของนักเรี ยนที่มีต่อการจัดการ เรี ยนรู้ กิจกรรมชุมนุมโครงงานคณิ ตศาสตร์ ม.ต้น 1. ศึกษาหลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2544 และหลักสู ตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เกี่ยวกับหลักการ จุดหมาย โครงสร้างของหลักสู ตร และศึกษาหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ เกี่ยวกับ วิสัยทัศน์ สาระและมาตรฐานการ เรี ยนรู ้ คุณภาพผูเ้ รี ยนหลังการเรี ยนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ 2. วางแผนการจัดการเรี ยนรู้ จัดทากาหนดการสอนรายชัวโมง และแผนการจัดการ ่ เรี ยนรู้ 3. ส่ งเสริ ม สนับสนุน ให้ผเู ้ รี ยนเข้าร่ วมกิจกรรมการแสดงนิทรรศการวิชาการต่างๆและ การเข้าร่ วมการแข่งขันตามโอกาสหรื อกิจกรรมวิชาการต่างๆ 4. วัดผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน
  • 8. 8 3.2 การอบรมสั มมนา ที่ รายการ หน่วยงาน วัน / เดือน / ปี หมายเหตุ 1. อบรมหลักสู ตรการปฏิบติงานพี่เลี้ยง ั สสวท. 4-7 พ.ค. 54 วิชาการคณิ ตศาสตร์ สพฐ. 2. อบรมเชิงปฏิบติการการประกันคุณภาพ ั โรงเรี ยน 5-6 สิ งหาคม ภายในสถานศึกษา กุดชุมวิทยาคม 54 3. อบรมหลักสู ตรก้าวใหม่ของครู คณิ ต สพฐ.และ 1-3 กันยายน พิชิตด้วย Social Media รร.กุดชุมวิทยาคม 54 4. เข้าร่ วมกิจกรรมเปิ ดชั้นเรี ยน(Open มหาวิทยาลัยขอนแก่น 30-31 มี.ค. 55 Class)ระดับนานาชาติ ประจาปี การศึกษา 2554 5. วิทยากรอบรมนักศึกษา กศน.อาเภอกุดชุม 5 มี.ค. 55 กศน. อาเภอกุดชุม
  • 9. 9 4. ผลการปฏิบัติงาน 1. ด้ านการสอน (ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน) - ปี การศึกษา 2554 ปฏิบติหน้าที่สอนตามรายวิชาที่ได้รับมอบหมาย จานวน 1 รายวิชา 6 ห้องเรี ยน รวม 18 ั คาบ / สัปดาห์ ปรากฏผล ดังนี้ 1. ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน วิชาคณิตศาสตร์ พนฐาน (ค 31101) ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ื้ 3/2 – 3/7 จานวน ผลการเรียนทีผ่านเกณฑ์ ่ รวม ชั้น นักเรีย 4 3.5 3 2.5 2 1.5 1 0 น 3/2 36 - - - - 4 5 27 - 36 3/3 42 - 1 - - 9 9 20 3 42 3/4 41 1 - 1 4 11 5 21 - 41 3/5 44 3 2 5 5 18 5 5 1 44 3/6 44 10 3 6 2 6 1 13 3 44 3/7 42 9 4 8 4 10 2 5 42 รวม 249 23 10 20 15 58 25 242 7 249 ร้อยละ 100 9.23 4.06 8.03 6.02 22.29 10.04 97.19 2.8 100 ค่าเฉลี่ยรายวิชา 60.36 นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนผ่านเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 97.20 นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนระดับ 3 ขึ้นไปคิดเป็ นร้อยละ 21.32 ่ นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนไม่ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 2.8 -สรุ ปผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน (  ) บรรลุผล ( ) ไม่บรรลุผล ตามเกณฑ์ มาตรฐานการศึกษาของโรงเรี ยน -สรุ ปค่าเฉลี่ยผลการเรี ยนรายวิชา (  ) สู งกว่า ( ) ต่ากว่า ปี การศึกษา 2553
  • 10. 10 2. โฮมรู ม – แนะแนว ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3/7 จานวน 1 คาบ/สั ปดาห์ จานวน ผลการเรียนทีผ่านเกณฑ์ ่ รวม ชั้น นักเรียน ผ่ าน ไม่ผ่าน - - - - - 3/7 42 42 - รวม 42 42 - ร้อยละ 100 100 - ค่าเฉลี่ยรายวิชา - นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนผ่านเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 100 ่ นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนไม่ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 0.00 -สรุ ปผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน (  ) บรรลุผล ( ) ไม่บรรลุผล ตามเกณฑ์ มาตรฐานการศึกษาของโรงเรี ยน 3. ชุ มนุมโครงงานคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาตอนต้ น จานวน 1 คาบ/สั ปดาห์ จานวน ผลการเรียนทีผ่านเกณฑ์ ่ รวม ชั้น นักเรียน ผ่าน ไม่ผ่าน - - - - - ม.1 6 6 ม.2 3 3 ม.3 8 8 รวม 17 17 ร้อยละ 100 100 - - - - - - - ค่าเฉลี่ยรายวิชา - นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนผ่านเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 100 ่ นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนไม่ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 0.00 -สรุ ปผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน (  ) บรรลุผล ( ) ไม่บรรลุผล ตามเกณฑ์ มาตรฐานการศึกษาของโรงเรี ยน
  • 11. 11 4. กิจกรรมลูกเสื อสามัญรุ่ นใหญ่ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 จานวน 1 คาบ/สั ปดาห์ จานวน ผลการเรียนทีผ่านเกณฑ์ ่ รวม ชั้น นักเรียน ผ่าน ไม่ผ่าน - - - - - ม.1 128 128 - - - - - - 128 รวม 128 128 - - - - - - 128 ร้อยละ 100 100 - - - - - - 136 ค่าเฉลี่ยรายวิชา - นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนผ่านเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 100 ่ นักเรี ยนที่มีผลการเรี ยนไม่ผานเกณฑ์คิดเป็ นร้อยละ 0.00 -สรุ ปผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยน (  ) บรรลุผล ( ) ไม่บรรลุผล ตามเกณฑ์ มาตรฐานการศึกษาของโรงเรี ยน 5. ผลการทดสอบระดับชาติ (O-NET) รายวิชาคณิตศาสตร์ ช้ันมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ปี การศึกษา ผลคะแนนเฉลี่ยนักเรี ยน 2551 31.18 2552 22.60 2553 21.33 2554 28.72 คะแนนเฉลี่ยเพิ่มขึ้นจากปี การศึกษา 2553 เท่ากับ 7.39 คิดเป็ นร้อยละ 34.65 2. ด้ านงานพิเศษอืน ๆ ได้แก่ ่ 2.1 งานครู ที่ปรึกษา ปฏิบติหน้าที่ครู ที่ปรึ กษาระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3/7 ดาเนินงาน ั โดยดูแลช่วยเหลือนักเรี ยนภายในชั้นเรี ยนตามขั้นตอนของระบบการดูแล ฯ สรุ ปและรายงานผล ต่อหัวหน้าสถานศึกษา 2.2 ประเมินคุณภาพผู้เรียน ร่ วมรับผิดชอบ พัฒนา ส่ งเสริ มผูเ้ รี ยน ให้มีมาตรฐานตาม มาตรฐานการศึกษาของโรงเรี ยน และมีมาตรฐานตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดย ประเมินผูเ้ รี ยน จัดระดับคุณภาพของผูเ้ รี ยน สรุ ปและรายงานผลต่อหัวหน้าสถานศึกษา
  • 12. 12 2.3 งานหัวหน้ ากลุ่มสาระการเรี ยนรู้ คณิตศาสตร์ ร่ วมประชุมวางแผนเกี่ยวกับการ จัดทา/ปรับปรุ งหลักสู ตรกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ จัดทาหลักสู ตรระดับชั้นเรี ยน (เอกสารประกอบ หลักสู ตร) ให้ความร่ วมมือในการจัดทาหลักสู ตรสถานศึกษา จัดโครงสร้างหลักสู ตรมอบหมาย ภาระงานด้านการสอน จานวนรายวิชา จานวนคาบแก่คณะครู ภายในกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้ คณิ ตศาสตร์ นิเทศ กากับติดตามการเรี ยนการสอน ให้ขอเสนอแนะและประสานความร่ วมมือ ้ ภายในกลุ่มสาระพัฒนาการวัดผลประเมินผลและผลสัมฤทธิ์ ทางการเรี ยนของผูเ้ รี ยนในรายวิชา ภายในกลุ่มสาระฯและพัฒนาการเรี ยนการสอน สนับสนุน ครู อาจารย์ในการพัฒนางาน จัดหา เอกสารอุปกรณ์ สื่ อการสอนภายในกลุ่มสาระ (ทะเบียนสื่ อฯ) 2.4 งานโรงเรียนในฝัน ให้ความร่ วมมือฝ่ ายบริ หารในการดาเนินงานตามขอบข่ายภาระ งานของโรงเรี ยนในฝัน / โรงเรี ยนดีใกล้บาน ้ 2.5 งานคณะสี ให้ความร่ วมมือฝ่ ายบริ หาร / กลุ่มสาระการเรี ยนรู ้สุขศึกษาพลศึกษาใน การกากับติดตามดูแลนักเรี ยนของคณะสี จนงานสาเร็ จบรรลุตามวัตถุประสงค์ของการจัดงาน 2.6 ฝ่ ายแผนงานและประกันคุณภาพการศึกษา ร่ วมวางแผนจัดอบรมขยายผลแก่ บุคลากรภายในโรงเรี ยน เกี่ยวกับการจัดทาแผนกลยุทธ์ การจัดทาโครงการตามมาตรฐาน การศึกษา วางแผนมอบหมายภาระงาน รวบรวมข้อมูลการประเมินตนเองของสถานศึกษา ประสานความร่ วมมือจากคณะกรรมการฝ่ ายต่าง ๆ และรายงานผลต่อหัวหน้าสถานศึกษาและ ผูเ้ กี่ยวข้อง 2.7 งานเจ้ าหน้ าทีกจกรรมลูกเสื อ ่ิ จัดเก็บสาเนาเกียรติบตรของบุคลากรที่เข้าอบรมเกี่ยวกับลูกเสื อ ทาทะเบียนวัดสุ – ั ครุ ภณฑ์ของกิจกรรมลูกเสื อจัดทาคาสังบุคลากรเข้าร่ วมงานวันคล้ายวันสถาปนาลูกเสื อทาแบบ ั ่ รายงานการลูกเสื อประจาปี ส่ งสานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และจัดทาพร้อมจัดหาคากล่าวรายงาน ในพิธีวนสถาปนาลูกเสื อและคากล่าวสดุดีเฉลิมพระเกียรติ ั 2.8 งานแผนและงบประมาณ งานเจ้ าหน้ าทีพสดุโรงเรี ยนกุดชุ มวิทยาคม ่ ั ดาเนินการจัดซื้ อจัดจ้างให้กลุ่มงานฯ และกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้โรงเรี ยนทาบัญชี พัสดุ บัญชีครุ ภณฑ์ ทะเบียนทรัพย์สิน สอบราคาซื้ อ สอบราคาจ้าง และ ประกวดราคา ั ตรวจสอบและจาหน่ายพัสดุประจาปี งบประมาณ 2.9 ฝ่ ายอาคารสถานที่และสิ่ งแวดล้อม งานอาคารสถานที่ ร่ วมรับผิดชอบดูแล ห้อง 325-326 2.10 งานเจ้ าหน้ าทีงานโภชนาการ ่ ทาการสารวจโรงอาหารประจาวันที่ได้รับมอบหมายคือประจาวันพฤหัสบดี พร้อม รายงานผลการสารวจโรงอาหารให้หวหน้างานโภชนาการทราบเป็ นประจาทุกครั้งและ ั สรุ ปผลการปฏิบติงานและภาพรวมของการปฏิบติงานให้หวหน้าสถานศึกษาทราบ ั ั ั
  • 13. 13 2.10 ฝ่ ายกิจการนักเรียน ปฏิบติหน้าที่ตามที่ได้รับมอบหมายภาระงานจากหัวหน้าเวรประจาวัน อบรมนักเรี ยน ั หน้าเสาธง ลงบันทึกการปฏิบติหน้าที่ประจาวัน ดูแลตรวจสอบควบคุมนักเรี ยนเข้าแถวและร่ วม ั กิจกรรมหน้าเสาธง ดูแลตรวจสอบส่ งเสริ มความประพฤติ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ของผูเ้ รี ยน และ ปฏิบติหน้าที่เวรกลางวันในวันหยุดราชการพร้อม ลงบันทึกการปฏิบติหน้าที่และเหตุการณ์ ั ั เวรกลางวัน 3. ด้ านการอบรมสั มมนา จากการอบรมสัมมนาเรื่ องที่เกี่ยวกับการจัดการเรี ยนการสอน และการอบรมสัมมนาเรื่ อง ที่เกี่ยวกับการบริ หาร ข้าพเจ้าได้นาความรู ้ที่เกิดจากการอบรมสัมมนามาใช้ในการวางแผน ออกแบบการจัดการเรี ยนรู ้ ผลิตสื่ อ จัดหาสื่ อการเรี ยนการสอนและให้ความร่ วมมือกับฝ่ ายบริ หาร คณะกรรมการสถานศึกษา ในการพัฒนาการจัดการศึกษาขององค์กร และยังให้ความร่ วมมือกับ ชุมชนหน่วยงานอื่น ๆ /บุคคล ในการจัดกิจกรรมต่าง ๆ ด้วยดีเสมอมา 4. ผลงานดีเด่ น ระดับเขตพืนทีการศึกษา (สพม. 28 ศรีสะเกษ – ยโสธร) ้ ่ 1. รางวัล “ ดีเด่นเชิ ดชูเกียรติครู ผสอนกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ สพม.28 ู้ ประจาปี การศึกษา 2554 ” งานวันครู ประจาปี 2555 จากนายพิสิษฐ์ แร่ ทอง นายอาเภออาเภอกุดชุม 2. รางวัล “ครู ผฝึกสอนนักเรี ยนได้รับเกียรติบตรระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมโครงงาน ู้ ั คณิ ตศสตร์ ม.ต้น ” งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยนระดับชาติ ครั้งที่ 61 ประจาปี การศึกษา 2554 “สุ ดยอดเด็กไทย ก้าวล้ า สู่ ผนาอาเซี ยน” ู้ 3. รางวัล “ครู ผฝึกสอนนักเรี ยนได้รับเกียรติบตรระดับเหรี ยญทอง กิจกรรมการแข่งขัน ู้ ั โปรแกรม GSP ระดับ ม.ต้น ” งานศิลปหัตถกรรมนักเรี ยนระดับชาติ ครั้งที่ 61 ประจาปี การศึกษา 2554 “สุ ดยอดเด็กไทย ก้าวล้ า สู่ ผนาอาเซี ยน” ู้
  • 14. 14 ผลการประเมินการปฏิบติงาน ทั้งด้านการสอนและการปฏิบติงานหน้าที่พิเศษอื่น ๆ ั ั เกณฑ์การประเมินใช้ความพึงพอใจของตนเองเป็ นหลัก โดยจัดระดับคุณภาพเป็ น 5 ระดับ ได้แก่ ระดับดีเยียม(5) ระดับดีมาก(4) ระดับดี(3) ระดับพอใช้(2) และระดับปรับปรุ ง(1) ่ 1. ประเมินระดับคุณภาพการปฏิบติงานตามมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ั ระดับการปฏิบติ ั ระยะเวลาการปฏิบติงาน ั รายการปฏิบติั เดือนพฤษภาคม 2555 ปรับปรุ ง ดีเยียม พอใช้ ดีมาก ดี ่ 5 4 3 2 1 1. มีการกาหนดเป้ าหมายคุณภาพผูเ้ รี ยนทั้งด้านความรู ้  ทักษะกระบวนการ สมรรถนะ และคุณลักษณะที่พึง ประสงค์ 2. มีการวิเคราะห์ขอมูลนักเรี ยนเป็ นรายบุคคล และใช้ ้  ข้อมูลในการวางแผนการจัดการเรี ยนรู้เพื่อพัฒนา ศักยภาพของผูเ้ รี ยน 3. ออกแบบและจัดการเรี ยนรู้ที่ตอบสนองความ  แตกต่างระหว่างบุคคลและพัฒนาการทางสติปัญญา 4. ใช้สื่อและเทคโนโลยีที่เหมาะสมผนวกกับการนา  บริ บทและภูมิปัญญาของท้องถิ่นมาบูรณาการในการ จัดการเรี ยนรู้ 5. มีการวัดและประเมินผลที่มุ่งเน้นการพัฒนาการ  เรี ยนรู้ของผูเ้ รี ยน ด้วยวิธีการที่หลากหลาย 6. ให้คาแนะนา คาปรึ กษา และแก้ไขปั ญหาให้แก่  ผูเ้ รี ยนทั้งด้านการเรี ยน และคุณภาพชีวตด้วยความ ิ เสมอภาค 7. มีการศึกษา วิจยและพัฒนาการจัดการเรี ยนรู้ในวิชา ั  ที่ตนรับผิดชอบ และใช้ผลในการปรับการสอน 8. ประพฤติปฏิบติตนเป็ นแบบอย่างที่ดี และเป็ น ั  สมาชิกที่ดีของสถานศึกษา 9. จัดการเรี ยนการสอนตามวิชาที่ได้รับมอบหมายเต็ม 
  • 15. 15 เวลา เต็มความสามารถ รวม (25+12+3 = 40 / 9 = 4.44) 25 12 3 - - สรุ ปจากการประเมินตนเอง พบว่า รายการประเมินที่ 1, 2 , 6 , 8 และ 9 เป็ นรายการ ที่มีระดับคุณภาพดีเยียม ส่ วนรายการปฏิบติที่ 3 , 4 และ 5 มีระดับคุณภาพดีมาก ่ ั และรายการประเมินที่ 7 มีระดับคุณภาพดี ่ ่ - สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ ั ( ) ดีเยียม () ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง ่
  • 16. 16 2. การประเมินตนเองด้านคุณธรรมจริ ยธรรม / การจัดการเรี ยนการสอน ระดับคุณภาพ ที่ รายการประเมินครู ประจาวิชา ปรับปรุ ง ดีเยียม พอใช้ ดีมาก ดี ่ 5 4 3 2 1 1. เข้า – ออกสอนตรงเวลา  2. แต่งกายสุ ภาพถูกระเบียบ เป็ นแบบอย่างที่ดี  3. รักมีความจริ งใจและสนุกสนานร่ าเริ งให้ความเป็ นกันเองกับศิษย์  4. จัดบรรยากาศห้องเรี ยนให้น่าอยู่  5. มีสื่อการเรี ยนการสอนที่สามารถศึกษาค้นคว้าในห้องเรี ยน  6. แนะนาการใช้ห้องสมุดและแหล่งข้อมูลที่สามารถศึกษาค้นคว้า  7. อบรมคุณธรรมจริ ยธรรมที่สามารถนาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน  8 ก่อนการเรี ยนครู แจ้งผลการเรี ยนรู ้ที่คาดหวัง  9. มีความรู ้ในสาระที่สอนและสอนเข้าใจเนื้อหาได้ง่าย  10. จัดกระบวนการเรี ยนรู้ที่หลากหลาย  11. แจ้งเกณฑ์การวัดและประเมินผลกับผูเ้ รี ยน  12. วัดผลประเมินผลผูเ้ รี ยนตามสภาพจริ ง  รวมคะแนน (รวมคะแนนทุกระดับ = 30 + 20 + 3 = 53 / 12 = 4.42) 30 20 3 - - - ่ ่ สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ ั ( ) ดีเยียม () ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง ่
  • 17. 17 1. ด้ านการสอน (ผลสั มฤทธิ์ทางการเรียน) ่ - สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ ั ่ ( ) ดีเยียม ( ) ดีมาก (  ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง ่ 2. ด้ านงานพิเศษอืน ๆ ได้แก่ ่ 2.1 งานครู ที่ปรึกษา ่ - สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ ั ่ (  ) ดีเยียม ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง ่ 2.2 ประเมินคุณภาพผู้เรียน ่ -สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ ั ่ ( ) ดีเยียม () ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง ่ 2.3 งานหัวหน้ ากลุ่มสาระการเรี ยนรู้ คณิตศาสตร์ ่ -สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ ั ่ ( ) ดีเยียม ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง ่ 2.4 งานโรงเรียนในฝัน ่ -สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ ั ่ ( ) ดีเยียม ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง ่ 2.5 งานคณะสี ่ -สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ ั ่ ( ) ดีเยียม () ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง ่ 2.6 ฝ่ ายแผนงานและประกันคุณภาพการศึกษา ่ -สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ ั ่ ( ) ดีเยียม ( ) ดีมาก () ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง ่ 2.7 งานเจ้ าหน้ าทีกจกรรมลูกเสื อ ่ิ ่ -สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ ั ่ (  ) ดีเยียม ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง ่ 2.8 งานแผนและงบประมาณ งานเจ้ าหน้ าทีพสดุโรงเรียนกุดชุ มวิทยาคม ่ ั ่ -สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ ั ่ ( ) ดีเยียม () ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง ่ 2.9 ฝ่ ายอาคารสถานทีและสิ่ งแวดล้อม งานอาคารสถานที่ ่ ่ -สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูใน ั ่ ระดับ (  ) ดีเยียม ( ) ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง ่
  • 18. 18 2.10 งานเจ้ าหน้ าทีงานโภชนาการ ่ ่ ่ -สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ ั ( ) ดีเยียม ( ) ดีมาก (  ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง ่ 2.11 ฝ่ ายกิจการนักเรียน ่ ่ -สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ ั ( ) ดีเยียม ( ) ดีมาก (  ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง ่ 3. ด้ านการอบรมสั มมนา / พัฒนาตนเอง ่ - สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ ั ่ ( ) ดีเยียม () ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง ่ 4. ผลงานดีเด่ น ่ ่ - สรุ ปได้วา ระดับคุณภาพการปฏิบติงาน เมื่อประเมินด้วยตนเองแล้วอยูในระดับ ั ( ) ดีเยียม () ดีมาก ( ) ดี ( ) พอใช้ ( ) ปรับปรุ ง ่ 5. ความต้ องการ สภาพปัญหา เป้ าหมายในการพัฒนาผู้เรียน 5.1 ความต้ องการ/จุดมุ่งหมายของหลักสู ตร / พระราชบัญญัติการศึกษาแห่ งชาติ หลักสู ตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน มุ่งพัฒนาคนไทยให้เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ เป็ นคนดี มีปัญญา มีความสุ ข และมีความเป็ นไทย มีศกยภาพในการศึกษาต่อและประกอบอาชี พ จึง ั กาหนดจุดหมายซึ่ งถือเป็ นมาตรฐานการเรี ยนรู ้ให้เกิดคุณลักษณะอันพึงประสงค์เฉพาะที่ สอดคล้องกับโรงเรี ยนกุดชุมวิทยาคมและกลุ่มสาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์ มีดงนี้ ั 1. ผูเ้ รี ยนมีคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ 2. ผูเ้ รี ยนมีจิตสานึกในการอนุ รักษ์และพัฒนาสิ่ งแวดล้อม 3. ผูเ้ รี ยนมีทกษะในการทางาน รักการทางานสามารถทางานร่ วมกับผูอื่น มีเจต ั ้ คติที่ดีต่ออาชีพสุ จริ ต 4. ผูเ้ รี ยนมีความสามารถในการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ มีวจารณญาณและมี ิ ความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์คิกไตร่ ตรองและมีวสยทัศน์ ิ ั 5. ผูเ้ รี ยนมีทกษะความรู้และจาเป็ นตามหลักสู ตร ั 6. ผูเ้ รี ยนมีทกษะในการแสวงหาความรู้ดวยตนเอง รักการเรี ยนรู้ และพัฒนา ั ้ ตนเองอย่างต่อเนื่อง 7. ผูเ้ รี ยนมีสุขนิสัยมีสุขภาพกาย สุ ขภาพจิตที่ดี 8. ผูเ้ รี ยนมี มีสุนทรี ยภาพทางด้านศิลปะ ดนตรี กีฬา
  • 19. 19 5.2 สภาพทัวไป/สภาพปัญหาของผู้เรี ยน ่ สภาพทัวไปของนักเรียนก่อนสอน ่ นักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 ประจาปี การศึกษา 2554 นักเรี ยนร้อยละ 85 เป็ นนักเรี ยนที่มีวินยในตนเอง ปฏิบติตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ตนนับถือ ั ั ่ มีคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ อยูในระดับปานกลาง เพราะครู ตองคอยบอกและ ้ ตักเตือนเรื่ องการประพฤติปฏิบติตนให้เหมาะสม นักเรี ยนมักจะรักความสะดวก ทาทุกอย่าง ั ตามใจตนเอง ไม่ค่อยคานึงถึงกฎเกณฑ์ทางสังคม , ด้านความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน รักการ อ่าน รักการเขียน และรักการค้นคว้า นักเรี ยนที่มีคุณสมบัติน้ ีจะมีประมาณร้อยละ 50 ของ นักเรี ยนที่สอนทั้งหมด 249 คน ฉะนั้นจึงเป็ นปั ญหาที่จะต้องปลูกฝังอย่างเร่ งด่วน , ด้านการเป็ น คนดีมีคุณธรรม จริ ยธรรม และปฏิบติตนตามหลักศาสนามีนิสัยรักการอ่าน รักการเขียน รักการ ั ค้นคว้า ใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน และมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวน และทักษะในการดารงชีวต ั ิ ตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง มีทกษะในการสื่ อสารและการใช้เทคโนโลยีได้เหมาะสมมี ั จิตสานึกในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและสิ่ งแวดล้อม มีสุขภาพร่ างกายและสุ ขภาพจิตที่ดีมี ความภูมิใจในความเป็ นไทย และยึดมันในวิถีชีวตตามระบอบประชาธิ ปไตย นักเรี ยนปั จจุบนนี้ ่ ิ ั ไม่ค่อยสนใจความเป็ นไทย เนื่องจากวัฒนธรรมจากนานาประเทศหลังไหลเข้ามาอย่างหลากหลาย ่ ประกอบกับเยาวชนไทยที่มีกระแสค่านิยมวัฒนธรรมต่างชาติ ทาให้ลืมเลือนความเป็ นไทยไปมาก จนน่าเป็ นห่วงโดยสังเกตได้จากพฤติกรรมต่างๆ ที่แสดงออกมาให้เห็นอย่างชัดเจน เป็ นต้นว่า การ แต่งกาย การใช้ภาษา การใช้เทคโนโลยี ความเป็ นอยู่ ด้านความรักประเทศชาติและท้องถิ่น มุ่ง ทาประโยชน์และสร้างสิ่ งที่ดีงามให้สังคม นักเรี ยนมีความเห็นแก่ตวขาดคุณสมบัติของผูมีจิต ั ้ สาธารณะที่จะเสี ยสละเพื่อส่ วนรวม สังเกตได้จากการทิ้งขยะและการวางเฉยต่อสิ่ งที่ไม่เหมาะไม่ ควร ครู ตองสร้างกิจกรรมต่างๆ เพื่อปลุกจิตสานึกให้เป็ นผูที่มีคุณลักษณะที่สังคมต้องการ ้ ้ สภาพทัวไปของนักเรียนหลังสอน ่ ด้านการมีวินยในตนเอง ปฏิบติตามหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรื อศาสนาที่ ั ั ตนนับถือ มีคุณธรรม จริ ยธรรมและค่านิยมที่พึงประสงค์ นักเรี ยนมีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม รู ้ สิ่ งใดควร ไม่ควร มีวนยและความรับผิดชอบมากขึ้น สังเกตจากการกระตือรื อร้นในการทางานที่ ิ ั ครู สั่ง จะมีอยูเ่ พียงเล็กน้อยที่ยงคงพฤติกรรมเดิมๆ หลังจากที่ครู ได้สอดแทรกคุณธรรม จริ ยธรรม ั ั ่ และค่านิยมที่พึงประสงค์ไว้กบการเรี ยนรู ้ พยายามอบรมบ่มนิสัยให้รู้วาสิ่ งใดควร สิ่ งใดไม่ควร นักเรี ยนส่ วนใหญ่มีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมไปในทางที่ดีข้ ึน , ด้านความคิดสร้างสรรค์ ใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน รักการอ่าน รักการเขียน และรักการค้นคว้า ครู สร้างกิจกรรมพัฒนาการคิดอย่างเป็ นระบบ มีกิจกรรมการเรี ยนรู ้ที่จะต้องค้นคว้าจากแหล่งเรี ยนรู ้ต่างๆ เป็ นผลให้นกเรี ยนเป็ นผูใฝ่ รู ้ใฝ่ เรี ยน , ั ้ ด้านการเป็ นคนดีมีคุณธรรม จริ ยธรรม และปฏิบติตนตามหลักศาสนามีนิสัยรักการอ่าน รักการ ั เขียน รักการค้นคว้า ใฝ่ รู้ใฝ่ เรี ยน และมีความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ มีทกษะกระบวนการ และทักษะ ั
  • 20. 20 ในการดารงชี วตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง มีทกษะในการสื่ อสารและการใช้เทคโนโลยีได้ ิ ั เหมาะสม มีจิตสานึกในการอนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรมและสิ่ งแวดล้อม มีสุขภาพร่ างกายและ สุ ขภาพจิตที่ดี มีความภูมิใจในความเป็ นไทย และยึดมันในวิถีชีวตตามระบอบประชาธิ ปไตย ่ ิ ภูมิใจในความเป็ นไทย เป็ นพลเมืองดี ยึดมันในวิถีชีวตและการปกครองระบอบประชาธิปไตย ่ ิ อันมีพระมหากษัตริ ยทรงเป็ นประมุข , ด้านมีจิตสานึกในการอนุรักษ์ภาษาไทย ศิลปะ ์ วัฒนธรรม ประเพณี กีฬา ภูมิปัญญาไทย ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาสิ่ งแวดล้อม นักเรี ยน ได้รับการอบรมจากครู ผสอน การจัดกิจกรรมส่ งเสริ มเกี่ยวกับการอนุ รักษ์ความเป็ นไทยและจาก ู้ การจัดกิจกรรมสร้างเสริ มคุณลักษณะอันพึงประสงค์ของฝ่ ายบริ หารงานทัวไป ทาให้นกเรี ยนมี ่ ั คุณสมบัติของความเป็ นคนไทยมากขึ้น , ด้านความรักประเทศชาติและท้องถิ่น มุ่งทาประโยชน์ และสร้างสิ่ งที่ดีงามให้สังคม นักเรี ยนมีพฒนาการด้านนี้ นอยยังต้องหาวิธีสร้างเสริ มให้เข้มแข็ง ั ้ มากขึ้น 5.3 เปาหมายของการพัฒนานักเรียน ้ 5.1.1 ขั้นเตรี ยม - ศึกษา ค้นคว้าหาความรู ้ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรี ยนรู ้วชาคณิ ตศาสตร์ ิ (ค 23101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 - ศึกษาหลักสู ตรสถานศึกษา คาอธิ บายรายวิชา หน่วยการเรี ยนรู ้และผลการ เรี ยนรู้ที่คาดหวังวิชาคณิ ตศาสตร์ (ค 23101) ระดับชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 3 - ศึกษาวิเคราะห์มาตรฐานการศึกษาของโรงเรี ยน ด้านผูเ้ รี ยนจานวน 8 มาตรฐานได้ - ศึกษาการเขียนแผนจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นผูเ้ รี ยนเป็ นสาคัญ - ศึกษาวิธีการสอนโดยใช้ทกษะและกระบวนการคิด ั - ศึกษาวิธีการผลิตสื่ อ - จัดทาแผนการจัดการเรี ยนรู้โดยใช้ทกษะและกระบวนการคิด ั 5.1.2 ขั้นดาเนินงาน ข้าพเจ้าได้ดาเนินงาน ดังนี้ - จัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ - ศึกษานักเรี ยนเป็ นรายบุคคล โดย  แบ่งกลุ่มนักเรี ยนเก่ง ปานกลาง อ่อน  จัดทาประวัติรายบุคคล ระเบียนนักเรี ยนจากห้องที่เป็ นที่ปรึ กษา - วัดประเมินผลตามสภาพจริ ง โดยใช้เครื่ องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ดังนี้  แบบทดสอบ แบบประเมินพฤติกรรมนักเรี ยน  แบบประเมินการทางานกลุ่มแบบประเมินผลงานที่เกิดจากการ เรี ยนรู้
  • 21. 21 6. ความรู้ สึก หรือคุณค่ าทีได้ รับจากการปฏิบัติหน้ าทีเ่ ป็ นครู ต่อนักเรียน มีดงนี้ ่ ั 1. ปฏิบติหน้าที่กากับดูแลนักเรี ยนอย่างจริ งจัง นักเรี ยนมีความประพฤติดีอย่างน้อย ั ร้อยละ 90 ของนักเรี ยนที่รับผิดชอบ 2. ประพฤติตนเป็ นแบบอย่างที่ดีเพื่อให้นกเรี ยนศรัทธาและปฏิบติตามในทางที่ถูกที่ควร ั ั 7. การปฏิบัติการสอนประจาปี การศึกษา 2554 นี้ ข้ าพเจ้ าได้ ค้นพบความรู้ ใหม่ ดังนี้ 1) วิธีการสอนที่พบว่าประสบความสาเร็ จมากที่สุด คือ การสอนแบบเน้นย้าให้นกเรี ยน ั ได้มีการฝึ กทักษะการทาโจทย์ O-Net และตัวอย่างโจทย์ปัญหาที่หลากหลายแทรกระหว่างการ สอนเนื้ อหาในชั้นเรี ยน เป็ นการฝึ กหัดทักษะกระบวนการคิดให้นกเรี ยน นักเรี ยนจึงจะมีความคิดที่ ั คงทนสามารถแก้ปัญหาได้ทุกเรื่ อง จึงมีผลทาให้ผลการสอบ O-Net ของนักเรี ยนชั้นมัธยมศึกษา ปี ที่ 3 ปี การศึกษา 2554 เพิ่มขึ้นร้อยละ 34.65 2) ปัจจัยที่ทาให้ประสบผลสาเร็ จในการปฏิบติหน้าที่ คือ ความมุ่งมันและตั้งใจใส่ ใจของ ั ่ ในการสอนของครู จากการได้รับการสนับสนุ นจากโรงเรี ยนเป็ นอย่างดี และนักเรี ยนมีความ มุ่งมันในการเรี ยน มีความรับผิดชอบ มีความตระหนักและใส่ ใจต่อการเรี ยนอยูในระดับดีอย่าง ่ ่ น้อยร้อยละ 85 8. ปัญหา/อุปสรรค และข้อเสนอแนะ 1) สิ่ งที่ตองแก้ไข (ปั ญหา) คือ วิธีการจัดกิจกรรมการเรี ยนรู ้บางวิธีการและการจัด ้ กิจกรรมการเรี ยนซ่อมเสริ มสาหรับนักเรี ยนที่เรี ยนอ่อนและนักเรี ยนหลบเรี ยน 2) สิ่ งที่ตองการพัฒนาต่อไป คือ การเขียนแผนการจัดการเรี ยนรู้ที่เน้นทักษะและ ้ กระบวนการคิดอย่างเต็มที่ทุกหน่วยการเรี ยนรู ้เพื่อใช้สอนและพัฒนานักเรี ยนต่อไป 3) เรื่ องที่ควรจะนาไปทาวิจยในชั้นเรี ยนต่อไป คือ การใช้แผนการตัดการเรี ยนรู้แบบ ั ใช้ทกษะและกระบวนการคิดสาหรับนักเรี ยน ั ลงชื่อ..........................................ผูรายงาน ้ (นางทับทิม เจริ ญตา) ตาแหน่ง ครู