SlideShare a Scribd company logo
1 of 17
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน ปลาหมอไทย กินกับอะไรก็อร่อย
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1. นางสาวณิชาภัทร แสงอุทัย เลขที่ 8 ชั้น ม.6 ห้อง5
2. นางสาวจิราพร จิตต์มั่น เลขที่ 14 ชั้น ม.6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
2
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกกลุ่ม
1 นางสาวณิชาภัทร แสงอุทัย เลขที่ 8 2 นางสาวจิราพร จิตต์มั่น เลขที่ 14
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
ปลาหมอไทย กินกับอะไรก็อร่อย
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Trick of Climbing Perch
ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวณิชาภัทร แสงอุทัย
นางสาวจิราพร จิตต์มั่น
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน
ด้วยความอุดมสมบูรณ์ ในน้้ามีปลา ในนามี ข้าว ปลาจึงเป็นอาหารที่คนไทยคุ้นเคยเป็นอย่างดี และหนึ่งใน
ปลาที่นิยมน้ามาประกอบอาหารของไทยก็คือ ปลาหมอไทย เพราะเป็นปลาที่มีรสมัน เนื้อแน่น นุ่ม ก้างน้อย สามารถ
ประกอบอาหารหรือแปรรูปได้หลากหลาย ทั้งต้มย้า แกง ย่าง ทอด ท้าปลาร้า ปลาเค็ม ปลาตากแห้ง และอื่นๆ ปลา
หมอไทย เป็นปลาน้้าจืดพื้นบ้านของไทย ที่มีความส้าคัญทางเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่ง ที่ประชาชนทุกระดับชนชั้นของ
สังคมไทย นิยมบริโภคกันอย่างแพร่หลาย เพราะสามารถประกอบอาหารได้หลากหลาย ทั้งแกง ต้ม ทอด ย่างหรือ
แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ อีกทั้งเป็นปลาที่มีความทนทาน ทรหด อดทนสูง เพราะมีอวัยวะพิเศษช่วยหายใจ
(labyrinth organ) จึงอาศัยอยู่ได้ในบริเวณที่มีน้้าน้อยๆ หรือที่ชุ่มชื้นได้เป็นเวลานาน อย่างไรก็ตาม ผลผลิตส่วนใหญ่
ได้จากแหล่งน้้าธรรมชาติ โดยกรมประมง รายงานว่า ปี 2543 มีผลผลิตปลาหมอไทยทั้งหมด 7,200 เมตริกตัน คิด
เป็นมูลค่า 207 ล้านบาท เป็นผลผลิตปลาจากแหล่งน้้าธรรมชาติ 6,730 เมตริกตัน และการเพาะเลี้ยง 470 เมตริกตัน
3
โดยบริโภคในรูปปลาสด 84 % ปลาร้า 12 % นอกจากนั้นอีก 4 % ท้าปลาเค็มตากแห้ง รมควันและอื่นๆ ปลาหมอ
เป็นปลาที่มีถิ่นอาศัยอยู่ในประเทศจีน ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย อินเดีย ฟิลิปปินส์และหมู่เกาะอินโด-
ออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบแพร่กระจายทั่วประเทศในแหล่งน้้าจืด ล้าคลอง คู ทะเลสาบ บ่อ หนอง บึงทั่วไป ใน
พื้นที่ลุ่มน้้าปากพนัง ปลาหมอเป็นปลาน้้าจืดพื้นบ้านของไทยที่นิยมบริโภค มีราคาสูง รสชาติดีเป็นที่ต้องการของ
ตลาดทั้งในและต่างประเทศ ปลาหมอที่จับได้ส่วนใหญ่ได้มาจากการท้าการประมงในแหล่งน้้าธรรมชาติ แต่ในปัจจุบัน
มีเกษตรกรสนใจเลี้ยงปลาหมอมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่ลุ่มน้้าปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ในช่วงที่การเลี้ยงกุ้ง
กุลาด้าประสบปัญหาโรคระบาด เกษตรกรหลายรายหันมาเลี้ยงปลาหมอและประสบความส้าเร็จ อีกทั้งมีการส่งเสริม
การปรับเปลี่ยนอาชีพเกษตรกรตามโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้้าปากพนัง จนมีการขยายพื้นที่การเลี้ยงเพิ่มขึ้น แต่ยังมี
ปัญหาการขาดแหล่งพันธุ์ปลา เนื่องจากการเพาะพันธุ์ปลาหมอยังมีน้อยและไม่แพร่หลาย ประกอบกับการศึกษาและ
ข้อมูลจากเอกสารที่ตีพิมพ์เกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงปลาหมอยังมีน้อยมาก การศึกษาชีววิทยาบางประการของปลาหมอ
เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาการเพาะเลี้ยงปลาหมอให้แก่เกษตรกรและประชาชนผู้สนใจ
ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้้าจืดนครศรีธรรมราชเป็นหน่วยงานที่มีการศึกษาวิจัย รวบรวมพันธุ์ และท้าการเพาะพันธุ์
มาตลอดเวลายาวนาน รวมถึงเล็งเห็นความส้าคัญของปลาหมอในการที่จะพัฒนาไปสู่การเลี้ยงเชิงเศรษฐกิจ และ
ศึกษาหาแนวทางในการฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ในแหล่งน้้าธรรมชาติต่อไป
ปัจจุบัน แม้ว่าการเพาะเลี้ยงปลาหมอไทย ยังไม่เป็นที่แพร่หลายมากนัก มักกระจุกอยู่บางท้องที่หรือเลี้ยงกัน
แบบหัวไร่ ปลายนา แต่จัดเป็นปลาที่มีศักยภาพ ทั้งการผลิตและการตลาดเพื่อส่งออกสูง กล่าวคือ (1) สามารถ
เพาะเลี้ยงในอัตราความหนาแน่นสูง และเจริญเติบโต ในภาวะคุณสมบัติของดินและน้้าที่แปรปรวนสูงได้ ทั้งน้้าจืด น้้า
กร่อยและน้้าค่อนข้างเป็นกรดหรือพื้นที่ดินพรุ ดินเปรี้ยวตลอดจนนาข้าว นากุ้งทิ้งร้างได้ สามารถขนส่งและจ้าหน่าย
ในรูปปลาสดมีชีวิตระยะทางไกลๆ อันสอดคล้องกับพฤติกรรมผู้บริโภคยุคใหม่ ที่นิยมใช้ปลาสดมีชีวิตประกอบอาหาร
(2) อุปสงค์ของตลาดมีสูงมาก โดยเฉพาะปลาขนาดใหญ่ ทั้งตลาดภายในและต่างประเทศ เช่น ตลาดตะวันออกกลาง
จีน ไต้หวัน เกาหลีและมาเลเซีย มีความต้องการไม่ต่้ากว่า 100 เมตริกตัน/ปี ในช่วงเดือนเมษายน ถึง พฤษภาคม ของ
ทุกปี ขณะที่ผลผลิตไม่เพียงพอและปริมาณไม่แน่นอน
ปัจจุบันเป็นที่ต้องการของตลาด และนิยมบริโภคกันมาก และเนื่องจากปลาหมอไทยสามารถพบได้ในแม่น้า
หนอง บึง และแหล่งน้าทั่วไป เป็นปลาที่มีความทนต่อปริมาณที่มีน้าน้อยๆ หรือขาดน้าได้เป็นเวลานานกว่าปลาชนิด
อื่นๆ ปลาหมอหนึ่งตัวสามารถแพร่พันธุ์ และวางไข่ได้จ้านวนมาก สามารถเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็วในเวลาไม่กี่
เดือน สามารถปรับตัวให้กับสภาพแวดล้อมที่เป็นน้ากร่อย หรือน้าเค็มได้อย่างดี อีกทังเกษตรกรหันมาเลียงปลาหมอ
ไทยเพิ่มมากขึนในปัจจุบัน เพราะสามารถเลียงได้ในอ่างเก็บน้า นาข้าว และเลียงผสมรวมกับปลาชนิดอื่นได้ดี
จึงเห็นสมควรที่จะจัดท้าโครงงาน “ปลาหมอไทยกินกับอะไรก็อร่อย” ขึนมา เพื่อให้เกษตรกรหรือผู้
เพาะเลียงปลาหมอไทยได้ศึกษาและน้าไปใช้ท้าเป็นอาชีพประจ้าวันได้ ดังนันผู้จัดท้าโครงงานจึงได้เลือกศึกษาวิธีการ
แปรรูปและประกอบอาหารจากปลาหมอไทยเพื่อการจัดจาหน่าย เพื่อได้น้าวิชาความรู้ในสาขาวิชาการขายที่เรียนมา
ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านรายได้ต่อตนเองและครอบครัว
วัตถุประสงค์
1. เพื่อให้ทราบถึงขันตอนและวิธีประกอบอาหารด้วยปลาหมอไทย
4
2. เพื่อสามารถน้าไปท้ารับประทานในชีวิตประจ้าวันได้
3. เพื่อเป็นแนวทางในการน้าไปประกอบอาชีพได้
4. เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาเรื่องปลาหมอไทย
ขอบเขตโครงงาน
1. โครงงาน“ปลาหมอไทยกินกับอะไรก็อร่อย”
1.1 ขันตอนการจัดเตรียมอุปกรณ์
1.2. ขันตอนการประกอบอาหารด้วยปลาหมอ
2. สรุปรายงานผล
หลักการและทฤษฎี
การจัดท้าโครงงาน “ปลาหมอไทยกินกับอะไรก็อร่อย” ผู้จัดท้าได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารเกี่ยวการจัดท้า มี
รายละเอียด ดังนี
1. ปลาหมอไทย และการเลี้ยงปลาหมอไทย
ปลาหมอไทย เป็นปลาที่มีรสมัน เนือแน่น นุ่ม ก้างน้อย สามารถประกอบอาหารหรือแปรรูปได้หลากหลาย
ทังต้มย้า แกง ย่าง ทอด ท้าปลาร้า ปลาเค็ม ปลาตากแห้ง และอื่นๆ ปัจจุบันเป็นที่ต้องการของตลาด และนิยมบริโภค
กันมาก ทังในประเทศ และการส่งออก
ปลาหมอไทยเป็นปลาที่มีความทนในสภาพที่มีน้าน้อยหรือขาดน้า จึงสามารถขนส่ง และจ้าหน่ายในรูปปลาสดที่มีชีวิต
ในระยะทางไกลๆได้ เป็นปลาที่ต้องการทางตลาดทังภายใน และต่างประเทศสูงในแต่ละปี (จีน ไต้หวัน เกาหลี
มาเลเซีย และประเทศแถบตะวันออกกลาง) โดยเฉพาะปลาหมอที่มีขนาดใหญ่ (3-5 ตัว/กิโลกรัม) ราคาจ้าหน่ายใน
5
ประเทศ กิโลกรัมละ 100-150 บาท ขึนอยู่กับพืนที่ และฤดูกาล ซึ่งปัจจุบันมีผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการทังใน
และต่างประเทศ
ปลาหมอไทย (Climbing Perch, Anabastestudineus, Bloch) เป็นปลาน้าจืดพืนบ้านของไทยที่นิยมบริโภคกันทั่ว
ทุกภาค มีชื่อเรียกต่างกันในแต่ละท้องถิ่น เช่น ภาคเหนือ และอีสาน เรียกว่า ปลาเข็ง ภาคใต้ เรียกว่า อีแกปูยู
ปลาหมอ
ปลาหมอไทยสามารถพบได้ในแม่น้า หนอง บึง และแหล่งน้าทั่วไป เป็นปลาที่มีความทนต่อปริมาณที่มีน้าน้อยๆ หรือ
ขาดร้าได้เป็นเวลานานกว่าปลาชนิดอื่นๆ ปลาหมอหนึ่งตัวสามารถแพร่พันธุ์ และวางไข่ได้จ้านวนมาก เป็นปลากินพืช
และกินเนือที่สามารถเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็วในเวลาไม่กี่เดือน สามารถปรับตัวให้กับสภาพแวดล้อมที่เป็นน้ากร่อย
หรือน้าเค็มได้อย่างดี เกษตรกรจึงหันมาเลียงปลาหมอไทยเพิ่มมากขึน เพราะสามารถเลียงได้ในอ่างเก็บน้า นาข้าว
และเลียงผสมรวมกับปลาชนิดอื่นได้ดี
ปลาหมอ เป็นปลาที่สามารถปีนป่ายขึนบนบกเพื่ออพยพหาแหล่งน้าได้ โดยเฉพาะในช่วงฝนตกในต้นฤดูฝน ท้าให้มี
การแพร่กระจายตัวแหล่งน้าในทุกแห่งได้อย่างรวดเร็ว การปีนป่ายบนบกตามพืนดินของปลาหมอจะใช้ส่วนล่างของ
กระดูกกระพุ้งแก้ม รวมถึงแผ่นเหงือกช่วยเกาะปีนไปข้างหน้าตามพืนดินหรือบางครังจะใช้ล้าตัวไถลไปตามพืนที่ชืน
แฉะของดิน
อนุกรมวิธานปลาหมอไทย
Phylum : Chordata
Class : Pisces
Subclass : Teleostmi
Order : Labyrinthici
Family : Anabantide
Genus : Anabas
Species : testudineus
ลักษณะปลาหมอไทย
ปลาหมอมีอวัยวะช่วยหายใจ (labryrinth organ) ในช่องเหงือกใต้ลูกตา ประกอบด้วยแผ่นกระดูกบาง (lamellae)
จ้านวนมากเรียงซ้อนกัน และถูกห่อหุ้มด้วยผนังบางๆที่มีเส้นเลือดฝอยจ้านวนมาก แผ่นนีจะช่วยดูดซับออกซิเจนใน
อากาศ และผ่านเข้าสู่เส้นเลือดฝอยเมื่อโผล่ขึนมาฮุบอากาศเหนือผิวน้า
ปลาหมอไทยมีลักษณะล้าตัวค่อนข้างแบน ปกคลุมด้วยเกล็ดแข็งแบบ ctenoid สีน้าตาลหรือเหลืองปนด้าหรือเขียว
ปนด้า และมีมีสีเหล่านีปะปนกันทังล้าตัว เกล็ดบริเวณใกล้ท้องมีสีจางกว่าส่วนหลัง ล้าตัวยาวประมาณสามเท่าของ
ความกว้างล้าตัว บริเวณสันหลังมีครีบหลังที่แข็ง 17-18 ก้าน และก้านครีบอ่อนส่วนท้ายสันหลัง 9-10 ก้าน ครีบก้น
6
ส่วนต้นมีก้านครีบแข็ง 9-10 ก้าน และก้านครีบอ่อนส่วนท้าย 10-11 ก้าน ครีบท้องถัดจากครีบก้นขึนไปทางด้านหัวมี
ก้านครีบแข็ง 2 ก้าน และก้านครีบอ่อน 5 ก้าน ส่วนครีบอกที่อยู่เหนือครีบท้องมีก้านครีบอ่อน 15 ก้าน
ต้าแหน่งของครีบหลัง ครีบอก ครีบท้องอยู่ในแนวเดียวกัน เส้นข้างตัวแบ่งขาดเป็น 2 ตอน กระดูกกระพุ่งแก้มงอพับ
ได้ ส่วนปลายมีลักษณะเป็นหนามแหลมคม และส่วนล่างกระดูกกระพุ้งแก้มแยกเป็นกระดูกแข็งส้าหรับปีนป่าย
เรียกว่า ichy feet หรือเกาะกับพืนเพื่อเคลื่อนที่ไปข้างหน้า ครีบหางมีลักษณะกลม มนเล็กน้อย บริเวณโคนหางมีจุด
สีด้ากลม หรืออาจไม่มีก็ได้ ปากอยู่สุดของส่วนหัว มีลักษณะเฉียงขึนเล็กน้อย ริมฝีปากยืดหดไม่ได้ ฟันด้านในแหลม
คม ตามีลักษณะทรงกลม มีตาด้าอยู่ตรงกลาง
การแยกเพศปลาหมอไทย
ปลาเพศหมอเมียจะมีขนาดโต และน้าหนักมากกว่าเพศผู้ และมีความกว้างของล้าตัวมากกว่าเพศผู้ ส่วนเพศ
ผู้จะมีล้าตัวเรียวยาวกว่าเพศเมีย และความกว้างล้าตัวสันกว่า
เมื่อถึงฤดูปลามีไข่ ปลาหมอเพศเมียจะมีท้องอูมเป่ง อวัยวะเพศขยายใหญ่ มีสีแดง ส่วนเพศผู้จะไม่
เปลี่ยนแปลง เมื่อจับส่วนโคนหาง (caudal peduncle) ปลาเพศเมียจะหนากว่าปลาเพศผู้
รังไข่ของปลาหมอไทยมีลักษณะบาง มีเป็นคู่ แยกออกเป็นสองพูในช่องท้อง รังไข่ใหม่จะมีสีชมพูแก่ และมี
เม็ดไข่สีขาวนวลขนาดเล็ก เมื่อรังไข่แก่จะมีสีเหลือง และมีเส้นเลือดฝอย (ovarian arteries) มาหล่อเลียงจ้านวนมาก
สามารถมองเห็นได้ชัดเจน ภายในรังไข่เต็มไปด้วยไข่สีเหลือง มีลักษณะกลม จ้านวนมาก ขนาดไข่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง
ประมาณ 0.7 เซนติเมตร ภายในเม็ดไข่มีหยดน้ามันขนาดใหญ่ และหยดน้ามันขนาดเล็ก
จ้านวนไข่ปลาหมอจะขึนกับขนาดเป็นส้าคัญ มีการศึกษาจ้านวนไข่ของปลาหมอ พบว่า ปลาหมอขนาด 38
กรัม จะมีไข่ประมาณ 2,200 ฟอง ขนาด 100 กรัม จะมีไข่ประมาณ 12,000 ฟองและ ขนาด 145 กรัม จะมีไข่
ประมาณ 28,000 ฟอง ส่วนตัวผู้จะมีถุงน้าเชือ ที่ระยะแรกจะมีสีชมพูใส ต่อมาเมื่อแก่ก็จะมีสีขาวขุ่น แยกเป็นสองพู
ในช่องท้อง
ขนาดล้าตัว และการเติบโตปลาหมอไทย
ปลาหมอไทยโตเต็มวัยที่สามารถสืบพันธุ์ และวางไข่ได้ จะมีอายุประมาณ 5 เดือน หลังจากฟักออกเป็นตัวแล้ว ขนาด
ความยาวประมาณ 9-10 เซนติเมตร น้าหนัก 30-40 กรัม
7
อัตราการเติบโตของปลาหมอไทยจะเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล มีช่วงการเจริญเติบโตดีในฤดูฝนจนถึงต้นฤดูหนาว อัตรา
การเจริญเติบโตจะสูงมากในช่วงต้นฤดูฝน ในฤดูหนาวอุณหภูมิลดลง การเจริญเติบโตจะช้าหรือหยุดชะงัก และจะเป็น
ปกติเมื่อพ้นฤดูหนาว
ประโยชน์ และการแปรรูป
ปัจจุบัน ปลาหมอจัดเป็นปลาที่นิยมเลียง และบริโภคกันมากในทุกภาคของไทย เนื่องจากให้เนือแน่น เนือมีรสมัน
อร่อยต่างจากปลาชนิดอื่น มีก้างน้อย มักพบปิ้งย่างเกลือขายตามตลาด ร้านอาหาร ริมถนน โดยเฉพาะถนนสายอีสาน
และภาคเหนือ นอกจากนัน ยังนิยมประกอบอาหารหลากหลายเมนู เช่น ต้มย้า แกง และทอด
การแปรรูปปลาหมอนิยมใช้ปลาหมอขนาดเล็กในการท้าปลาร้า ส่วนปลาหมอที่มีขนาดใหญ่ขึนมาจะแปรรูปตากแห้ง
หรือท้าปลาเค็มส้าหรับย่างหรือทอด
การเพาะเลี้ยงปลาหมอไทย
โดยธรรมชาติ ปลาหมอไทยวางไข่ในช่วงฤดูฝนเหมือนปลาอื่นๆ ในช่วงเดือนพฤษภาคมเป็นต้นไป โดยเฉพาะน้าใหม่
หรือฝนแรก ปลาหมอเพศเมียที่พร้อมจะวางไข่จะมีส่วนท้องอูมเป่ง และนิ่ม เมื่อบีบท้องเบาๆ จะมีไข่กลม สีเหลือง
อ่อนออกมา ส่วนเพศผู้จะมีลักษณะปกติ ไม่เปลี่ยนแปลง ก่อนวางไข่ ปลาเพศผู้จะก่อหวอดที่เคลือบด้วยสารเมือก
เกาะติดกันเป็นกลุ่มฟองอากาศ บริเวณก่อหวอดมักเป็นน้าตืน มีกอหญ้า ปลาตัวเมียจะเข้าวางไข่ใต้หวอด และตัวผู้ก็
จะฉีดน้าเชือเข้าผสม ไข่ปลาหมอจะลอยอยู่ผิวน้า ไข่ที่ได้รับการผสมจะมีสีเหลืองอ่อนใส ขนาดประมาณ 0.7-1
มิลลิเมตร และจะพัฒนาการจนฟักออกเป็นตัวอ่อนต่อไป
8
โรคที่พบในปลาหมอไทย
โรคปลาหมอไทยที่พบบ่อย ดังนี
1. โรคตกเลือดซอกเกล็ด
เกิดจากเชือปรสิตเซลล์เดียว (Epistylissp.) ที่อยู่รวมกันเป็นกลุ่มร่วมกับเชือแบคทีเรีย ปลาหมอที่เป็นโรคนีจะมี
อาการเกิดแผลสีแดงเป็นจ้าๆ ตามล้าตัว พบมากบริเวณครีบ และซอกเกล็ด หากเป็นมากจะท้าให้เกล็ดหลุดหรือติด
เชือราร่วมด้วยจนเป็นโรคเกล็ดพองได้
2. โรคเกล็ดพอง
เกิดจากเชือแบคทีเรีย ปลาหมอที่เป็นโรคนีจะมีอาการเกล็ดพองตามล้าตัว หรือเกล็ดตังอ้าออก มีอาการตกเลือดตาม
ฐานซอกเกล็ด ร่วมด้วยกับล้าตัวบวมโต
3.โรคแผลตามล้าตัว
เกิดจากเชือแบคทีเรียที่เข้าท้าลายเม็ดเลือดแดง ปลาหมอที่เป็นโรคนีจะมีอาการเกล็ดหลุด และผิวหนังเปื่อยลึก
มองเห็นเนือด้านใน แผลมีการกระจายทั่วล้าตัว และมักพบการติดเชือราร่วมด้วย เช่น โรคอิพิซู โอติด อัลเซอร์เรทีพ
ซินโดรม (Epizootic Ulcerative Syndrome) ที่พบแผลมีเส้นใยของเชือราฝังอยู่
4.โรคจุดขาว
เกิดจากเชือโปรโตซัว (Ichthyophthirius inultifilis) เข้ากัดกินเซลล์ผิวหนัง ปลาหมอที่เป็นโรคนีจะมีอาการปรากฏ
จุดขาวขุ่น ขนาดเท่าหัวเข็มหมุดบริเวณล้าตัว และครีบ
2. การประกอบอาหารจากปลาหมอไทย
เมนูปลาหมอทอดน้้าปลา
วัตถุดิบที่จ้าเป็นต้องใช้
– ปลาหมอ
– มะนาว
– น้าปลา
– น้าตาลทราย
– น้ามันพืช
วิธีท้า ปลาหมอทอดน้าปลา
1. น้าปลาหมอ มาแร่เอาก้างกลางออก จากนันก็แผ่ตัวออก เพื่อเตรียมเอาไว้ ส้าหรับการทอด
9
2. จุดไฟ ตังกระทะ ใส่น้ามันพืชลงไป
3. รอให้น้ามันร้อนจัดๆ ก็ใส่ปลาหมอ ลงไปทอด
4. พอทอดจนเหลืองกรอบ เป็นสีทอง และลอยขึนมา ก็ถือว่า ใช้ได้แล้ว ให้ตักขึนมา พักเอาไว้ ให้สะเด็ดน้ามันได้เลย
5. น้าน้ามันที่เหลือจากการทอดปลา เอาแค่นิดหน่อย มาทอดร่วมกับน้าปลา น้าปลาเพียวๆ ใส่ลงไปได้เลย เสียงตอน
เทลงไป จะมีเสียงดังฉ่า ก็ไม่ต้องตกใจไป จากนันก็เติมน้าเปล่าลงไปเล็กน้อย และใส่น้าตาลทรายขาวลงไป
6. ค่อยๆ เคี่ยวให้น้าปลาพอมีความเหนียว พักเดียว ก็ตักขึนมา ราดที่ตัวปลาได้เลย ถ้าไม่แน่ใจ ให้ชิมน้าราดก่อนนะ
ครับ เพื่อความชัวร์ ว่าเค็มมากไป หรือยังหวานน้อยไป จะได้แก้รสชาติ ถ้าเค็มไป ก็เติมน้า ถ้าหวานน้อยไป ก็เติม
น้าตาล
– ปลาหมอที่น้ามาใช้ ต้องเป็นปลาหมอ ที่มีขนาดใหญ่ ตัวเล็ก ไม่ควรน้ามาทอดนะครับ ขนาดที่แนะน้าก็คือ ประมาณ
3 ตัวโล จะดีมากๆ เลยครับ
– การแร่ปลาหมอ จะต้องระมัดระวัง และใช้มีดที่คมมากๆ เพราะเนือค่อนข้างหนามาก ตอนที่เอาก้างกลางออก จะ
ค่อนข้างยากพอสมควร ต้องท้าช้าๆ นิดนึงนะครับ
– การล้างปลาหมอ ต้องล้างด้วยเกลือ เอาเกลือมาถูที่ตัวให้ทั่ว เพื่อก้าจัดเมือก และลดความคาว
– การทอดปลานัน น้ามันจะต้องร้อน และเดือดจริงๆ ไม่อย่างนัน เมื่อทอดมาแล้วจะไม่กรอบนอก นุ่มใน
เมนูต้มปลาหมอเปรี้ยวเค็ม
วัตถุดิบที่จ้าเป็นต้องใช้
– ปลาหมอ
– น้าตาลทรายขาว
– น้ามะขามเปียก
– น้าปลา
– น้าซุปกระดูกหมู
วิธีท้า ต้มปลาหมอเปรียวเค็ม
1. จุดไฟ ตังหม้อ ใส่น้าซุปลงไป ปิดฝา รอให้น้าเดือดจัดๆ
2. พอน้าเดือดแล้ว ก็เปิดฝา
3. ใส่เครื่องปรุงลงไปก่อน โดยเริ่มจาก น้ามะขามเปียก น้าปลา และ น้าตาลทรายขาว คนให้น้าตาลละลาย แล้วก็ปิด
ฝา รอให้เดือดอีกที
4. พอน้าเดือดแล้ว ก็เปิดฝา แล้วก็ใส่ปลาหมอลงไปได้เลย (ใส่ลงไปทังตัว) โดยเมื่อใส่ลงไปแล้ว รีบปิดฝาทันที และ
ห้ามคน เร่งไฟให้แรง เพื่อไม่ให้คาว
5. ต้มไว้สักพัก จนเนือปลาสุก ก็ตักขึนมาใส่ชามได้เลย
6. ใส่พริกขีหนูสวน ลงไปได้เลย เพื่อให้มีความแซ่บขึนมาสักหน่อย ถ้าชอบมาก ก็ใส่ลงไปเยอะๆ
10
เคล็ดลับในการท้าเมนู ต้มปลาหมอเปรียวเค็ม
– การล้างปลาหมอ ต้องล้างด้วยเกลือ เพื่อล้างเมือกออกให้หมด และช่วยลดความคาวได้
– การใส่ปลาหมอลงไปในหม้อ ที่มีน้าเดือดๆ ต้องค่อยๆ ใส่ลงไปทังตัว อย่าโยน หรือทิงลงไป ต้องค่อยๆ ใส่ เมื่อใส่
แล้ว ให้รีบปิดฝาหม้อ และอย่าคน ไม่อย่างนัน จะคาว
– ปลาหมอที่น้ามาต้ม ควรจะบังให้ลึก เพื่อจะได้ดูง่ายเวลาที่ใส่ลงไปต้ม ว่าสุกหรือยัง
– รสชาติของเมนูนี จะต้องเปรียวน้า และเค็มตาม ดังนัน ต้องใส่น้ามะขามเปียก ค่อนข้างเยอะ
เมนูฉู่ฉี่ปลาหมอทอด (แบบแห้ง) หรือปลาหมอทอดผัดพริกแกง
เครื่องปรุงปลาหมอแบบแช่แข็ง 6 ตัว
ถัวฝักยาวหรือถั่วแขก/ผักบุ้ง ตามชอบ หั่นชินพอค้า
พริกแกงแดง 2-3 ชต.
ใบมะกรูดหั่นฝอย 5-6 ใบ
พริกหวานหรือพริกชีฟ้าหั่นแฉลบ
ใบกระเพรา 1 ถ้วย
น้ามัน (ส้าหรับทอดและผัดพริกแกง)
น้าปลา ½ - 1 ชต.
น้าตาลทราย 1/2 ชช.
น้าเปล่า 5-8 ชต.
ข้าวสวย
วิธีท้า
11
1. ติดไฟ ใส่น้ามันในกระทะ ไฟปานกลาง พอน้ามันร้อนได้ที่ น้าปลาหมอที่สะเด็ดน้า จากนันน้าไปทอดให้สุกและ
กรอบ ช่วงที่ทอดประมาณ 5-7 นาทีแรกของด้านแรก จากนันก็มาลวกถั่วฝักยาวที่หั่นเตรียมไว้ให้สุก โดยลวก
ประมาณ 5 นาทีคะ และให้น้าไปเทผ่านน้าเย็นหรือแช่น้าเย็น เพื่อให้คงสีเขียวสวยไว้อย่างที่เห็น
2. จากนันมาเริ่มผัดพริกแกง ตังกระทะ ใส่น้ามันลงไป พอน้ามันร้อนได้ที่ ใส่พริกแกงแดงลงไป ผัดให้หอม ปรุงรสด้วย
น้าปลา และน้าตาลทราย (เพื่อเป็นการตัดรส) เติมน้าเปล่าเล็กน้อย คลุกเคล้าให้เข้ากัน ชิมให้ได้รสชาติที่ต้องการ
จากนันก็ใส่ปลาหมอทอด ถั่วฝักยาว/ผักบุ้งและใบมะกรูดฉีกลงไป คลุกเคล้าให้เข้ากัน ลองชิมดู ขาดเหลืออะไร
สามารถเติมได้ตอนนีอีกรอบ
3. โรยพริกหวานหรือพริกชีฟ้าหั่นแฉลบและใบกระเพราเป็นการปิดท้าย คลุกให้เข้ากันอีกรอบ ปิดไฟ ตักใส่จาน
จากนันให้เอาข้าวสวยมากคลุกก้นกระทะกับพริกแกงที่ติดก้นกระทะ พร้อมเสิร์ฟ
3. การแปรรูปปลาหมอไทย
การท้าปลาร้าจากปลาหมอไทย
ปลาร้า หมายถึง ผลิตภัณฑ์ปลาหมักที่ได้จากการน้าปลาสดมาหมักกับเกลือ และข้าวคั่วหรือร้าข้าวในอัตราส่วนที่
เหมาะสม ก่อนจะหมักในภาชนะนาน 7-8 เดือน หรือมากกว่า เป็นปี จนได้เนือปลาสีน้าตาลหรือสีเหลือง เนือ และน้า
มีรสเค็ม และกลมกล่อมจากเนือปลา
ปลาร้า หรืออีสานเรียก ปลาแดก จัดเป็นอาหารท้องถิ่นที่ดังเดิมผลิตกันเฉพาะในภาคอีสาน และประเทศลาว
ปัจจุบัน ปลาร้า เป็นอาหารที่นิยมรับประทานมากของคนไทยในทุกภาค โดยเฉพาะน้ามาใช้เป็นส่วนผสมส้าคัญของ
ส้มต้า
12
ปลาร้า เป็นค้าภาษากลาง ที่มาจากค้าว่า
– ปลา ซึ่งหมายถึง ปลาชนิดต่างๆ
– ร้า ซึ่งหมายถึง อ่อนนิ่ม (ปลาที่หมักแล้วจะมีล้าตัวอ่อนนิ่ม)
ปลาแดก เป็นค้าท้องถิ่นของคนอีสานที่มาจากค้าว่า
– ปลา ซึ่งมีความหมายเหมือนข้างต้น
– แดก ซึ่งหมายถึง การยัดใส่ให้แน่นเพื่อให้ได้ปริมาณมากที่สุด (ยัดใส่ในไห) นอกจากนัน ยังอาจเหมือนถึง กิริยาของ
การกินหรือการรับประทาน
ขอบคุณภาพจาก www.momypedia.com
ประเภทปลาร้าตามรสของชาวอีสาน
1. ปลาร้าหอม/ปลาแดกหอม
ปลาร้าหอม/ปลาแดกหอม หมายถึง ปลาร้าที่มีกลิ่นหอม น้าปลาร้ามีสีน้าตาล เนือปลาอาจเป็นสีเหลืองหรือสีแดงตาม
ชนิดปลา ขนาดปลาที่ใช้มักเป็นปลาขนาดกลาง ส่วนผสม ได้แก่ ปลา : เกลือ : ข้าวคั่วหรือร้า ในอัตราส่วน 4 : 2 : 1
หมักนานประมาณ 6-10 เดือน
2. ปลาร้านัว/ปลาแดกนัว/ปลาแดกต่วง
ปลาร้านัว/ปลาแดกนัว/ปลาแดกต่วง น้าปลาร้ามีสีน้าตาล เนือปลามีสีแดง เนือให้รสมันนัว มักใช้ปลาขนาดเล็กถึง
กลาง ได้แก่ ปลา : เกลือ : ข้าวคั่วหรือร้า ในอัตราส่วน 4 : 1/2 : 1 หมักนานประมาณ 4-6 เดือน
3. ปลาร้าโหน่ง/ปลาแดกโหน่ง
ปลาร้าโหน่ง/ปลาแดกโหน่ง หมายถึง ปลาร้าที่มีกลิ่นฉุนมาก อันเกิดจากระยะเวลาหมักที่นาน มักใช้ปลาขนาดเล็ก
หมัก เช่น ปลาซิว ปลาหมอ เนือปลามักเปื่อยยุ่ย เนือมีสีแดงคล้า หมักนานมากกว่า 10 เดือน ถึง 1 ปี
13
ประเภทปลาร้า/ปลาแดกตามข้าวที่ใส่
1. ปลาร้าข้าวคั่ว
เป็นประเภทปลาร้าที่ท้ามากในภาคกลาง ได้แก่ นครสวรรค์ อยุธยา ลพบุรี และสิงบุรี เป็นต้น ปลาร้าในภาคกลาง
นิยมใช้ข้าวคั่ว ใช้วัตถุดิบหลัก คือ ข้าวคั่วที่น้ามาต้าบดให้เป็นก้อนเล็กๆหรือบดให้ละเอียด ปลาร้าที่ได้มักมีสีเหลือง
นวลหรือเหลืองเข้ม เนือปลาอ่อนนุ่ม นิยมใช้ท้าปลาร้าหลน หรือ ปลาร้าทรงเครื่อง
2. ปลาร้าร้าข้าว
เป็นปลาร้าที่ท้ากันมากในภาคอีสานทุกจังหวัด ใช้วัตถุดิบหลัก คือ ร้าข้าวที่หาได้จากโรงสีข้าวในชุมชน ปลาร้าที่ได้มัก
มีสีน้าตาลหรือแดงอมน้าตาล เนือปลาอ่อนนุ่ม นิยมน้าน้าปลาร้ามาใส่ส้มต้า เนือปลาท้าปลาร้าบองหรือแจ่วบอง
วิธีท้าปลาร้า
ส่วนผสม
1. ปลาสด 3-5 กิโลกรัม
14
2. เกลือ 1 กิโลกรัม
3. ข้าวคั่ว หรือร้าข้าว อย่างใดอย่างหนึ่ง 2 ถ้วย
4. น้าอุ่นที่ต้มแล้ว 3 ถ้วย
ขันตอนการท้าปลาร้า
1. คัดเลือกปลาที่มีขนาดพอเหมาะ ไม่ควรใช้ปลาที่มีน้าหนักกว่า 1 กิโลกรัม หรือตัวใหญ่มากเกินไป เพราะจะต้องใช้
เวลาหมักนาน ส่วนชนิดปลาที่ใช้ ดังที่กล่าวไว้ข้างต้น
2. น้ามาล้างน้าท้าความสะอาดสิ่งที่อาจปนมากับตัวปลาก่อน 1-2 น้า
3. หากเป็นปลามีเกล็ด ให้ขอดเกล็ดด้วยช้อนให้หมดก่อน หากเป็นปลามีก้านครีบแข็ง และยาว รวมถึงมี เงี่ยง ซึ่ง
จะต้องตัดก้านครีบ และเงี่ยงออกก่อน และอาจตัดหัวปลาทิงด้วยก็ได้ หลังจากนัน น้าปลามาควักไส้ออกให้หมด ก่อน
จะล้างท้าความสะอาด 2-3 น้า
4. น้าปลาที่ล้างแล้วใส่ชามหรือถัง พร้อมเติมเกลือ และข้าวคั่วหรือร้าข้าว และน้าอุ่น ก่อนจะคลุกผสมกันให้ทั่ว
5. น้าส่วนผสมที่คลุกได้ที่แล้วเทใส่ถังหมักหรือไหหมัก ก่อนจะรัดปิดปากถังหรือไหให้แน่น พร้อมหมักทิงไว้ในร่มนาน
6-10 เดือน หรือมากกว่าตามขนาดของปลาที่ใช้
ทังนี ภาชนะที่ใช้ในการเตรียม รวมถึงถังหมักหรือไหหมักจะต้องล้างท้าความสะอาด และตากแดดให้แห้งก่อนทุกครัง
ส่วนระยะการหมักมักหมักทิงไว้ไม่เกิน 1 ปี เพราะหากหมักนานมักท้าให้เนือปลาเปื่อยยุ่ยมาก
ส้าหรับการป้องกันแมลงวันหรือแมลงต่างๆมาไข่ใส่นัน ตามภูมิปัญญาของชาวอีสานจะใช้ขีเถ้าห่อใส่ผ้าขาวบางหรือผ้า
มุ้งแล้วน้ามาวางทับบนปากถังหรือปากไหให้ปกมิด ซึ่งเป็นวิธีที่ช่วยป้องกันแมลงวันมาไข่ใส่ได้ดี ส่วนวัสดุที่ปิดปากไห
ครังแรกอาจเป็นผ้าหรือพลาสติกบางๆหลายชัน ซึ่งจะใช้เชือกรัดคลุมปากถังหรือไหให้แน่นสนิท
ส้าหรับสีของเนือปลาร้า และความอ่อนนุ่มจะขึนอยู่กับชนิดปลาเป็นส้าคัญ เช่น หากใช้ปลาหมอหรือปลาช่อนจะให้สี
แดงอมน้าตาล หากใช้ปลาดุกจะได้สีเหลืองเข้ม เนือปลาช่อนจะเหนียว และไม่นุ่มเท่าเนือปลาดุก เป็นต้น ส่วนสีของ
น้าปลาร้าจะขึนอยู่กับชนิดข้าวเป็นส้าคัญ กล่าวคือ หากเป็นข้าวคั่วมักให้สีน้าตาลเข้ม หากเป็นร้าข้าวมักให้สีเหลือง
นวล ทังนี สีน้าปลาร้ายังเปลี่ยนแปลงได้หากหมักนานขึน
15
ลักษณะปลาร้าที่หมักได้ที่
1. ล้าตัว และเนือปลาอ่อนนุ่ม ไม่แข็งทู่หรือเปื่อยยุ่ย
2. เนือปลาด้านในมีสีน้าตาลหรือสีแดงอมชมพู
3. มีกลิ่นหอมของการหมัก ไม่มีกลิ่นเหม็นเน่า
4. เนือปลามีรสเค็ม โดยมีเกลือประมาณ ประมาณ 11-16% มีความมันของน้ามันปลา และไม่มีรสเปรียว
5. น้าปลาร้ามีสีน้าตาลอมด้า มีรสเค็ม ไม่มีรสเปรียว
6. สีของร้าหรือข้าวคั่วเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล ไม่ด้าคล้า
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. คิดหัวข้อโครงงาน
2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3. จัดท้าโครงร่างงาน
4. ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5. ปรับปรุงทดสอบ
6. การท้าเอกสารรายงาน
7. ประเมินผลงาน
8. น้าเสนอโครงงาน
16
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน / / ณิชาภัทร
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / / ณิชาภัทร
3 จัดท้าโครงร่างงาน / / / / / ณิชาภัทร
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การท้าเอกสารรายงาน / / / / / ณิชาภัทร
7 ประเมินผลงาน
8 น้าเสนอโครงงาน / จิราพร
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
1. ได้ทราบถึงขันตอนและวิธีการประกอบอาหารจากปลาหมอไทยอย่างถูกวิธี
2. สามารถน้าไปท้ารับประทานในชีวิตประจ้าวันได้
3. สามารถน้าไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพได้
4. เป็นการส่งเสริมให้รู้จักปลาหมอไทยมากขึน
สถานที่ดาเนินการ
สวนอาหารอุ้ยมี ที่อยู่: 83 หมู่ 9 ต.แม่แฝกใหม่ อ้าเภอ สันทราย เชียงใหม่ 50290
โทรศัพท์: 053 848 634
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
การงานอาชีพและเทคโนโลยี
แหล่งอ้างอิง
http://pasusat.com/%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%
A1%E0%B8%AD/
https://www.youtube.com/watch?v=T0NMCQB-72w
http://pasusat.com/%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8
9%E0%B8%B2/
17
http://foodtep.com/%E0%B8%95%E0%B9%89%E0%B8%A1%E0%B8%9B%E0%B8%A
5%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B9%80%E0%B8%9B%E0%B
8%A3%E0%B8%B5%E0%B9%89%E0%B8%A2%E0%B8%A7%E0%B9%80%E0%B8%84%E0
%B9%87%E0%B8%A1/
http://foodtep.com/%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%
A1%E0%B8%AD%E0%B8%97%E0%B8%AD%E0%B8%94%E0%B8%99%E0%B9%89%E0%
B8%B3%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2/
http://www.bloggang.com/viewdiary.php?id=venus-bart-charlotte&month=01-
2013&date=11&group=26&gblog=15

More Related Content

What's hot

การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทยการสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทยJarinya Chaiyabin
 
โดรงร่างงานคอม
โดรงร่างงานคอมโดรงร่างงานคอม
โดรงร่างงานคอมfearlo kung
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยJarinya Chaiyabin
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานPopeye Kotchakorn
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Tmw Pcy
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพศิริวรรณ นามสวัสดิ์
 
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์jokercoke
 
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพCheeses 'Zee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร Wichitchai Buathong
 
2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)Sarocha Somboon
 
2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)Sarocha Somboon
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31Sarocha Somboon
 
2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำBengelo
 
โครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผักโครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผักJorJames Satawat
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31Sarocha Somboon
 
โครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยโครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยKanokwan Makepothi
 

What's hot (20)

การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทยการสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
 
โดรงร่างงานคอม
โดรงร่างงานคอมโดรงร่างงานคอม
โดรงร่างงานคอม
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
 
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงานใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
ใบงานที่5 โครงร่างโครงาน
 
at1
at1at1
at1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
2558 project
2558 project 2558 project
2558 project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครงงานคอมพิวเตอร์ สื่อออนไลน์พืชสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพโครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
โครางงานสมุนไพรเพื่อสุขภาพ
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
โครงงานคอมพิวเตอร์ ยาดมสมุนไพร
 
2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)
 
2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)2562 final-project-2731 (1)
2562 final-project-2731 (1)
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31
 
2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ
 
โครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผักโครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผัก
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31
 
โครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยโครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทย
 

Similar to 2560 project

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sk'b Methasith
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sk'b Methasith
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sk'b Methasith
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์Kanoksak Kangwanwong
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงานFah Phatcharida
 
โครงงานร่าง
โครงงานร่างโครงงานร่าง
โครงงานร่างAom Nachanok
 
งานคอมสาว
งานคอมสาวงานคอมสาว
งานคอมสาวChatika Ruankaew
 
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลก
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลกไส้เดือนเพื่อนกู้โลก
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลกkuanjai saelee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์ppapad
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์phaizaza500
 
2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้นKanokwan Rapol
 
เค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอมเค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอมJah Jadeite
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาBream Mie
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกFrench Natthawut
 

Similar to 2560 project (20)

Project
ProjectProject
Project
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Healthy food
Healthy foodHealthy food
Healthy food
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
โครงงานร่าง
โครงงานร่างโครงงานร่าง
โครงงานร่าง
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
งานคอมสาว
งานคอมสาวงานคอมสาว
งานคอมสาว
 
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลก
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลกไส้เดือนเพื่อนกู้โลก
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลก
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น
 
เค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอมเค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอม
 
Mosquitoes
MosquitoesMosquitoes
Mosquitoes
 
กล้วย
กล้วยกล้วย
กล้วย
 
Projectcom 2560
Projectcom 2560Projectcom 2560
Projectcom 2560
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
 
โรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออกโรคไข้เลือดออก
โรคไข้เลือดออก
 

More from Nichaphat Sanguthai

ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Nichaphat Sanguthai
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมNichaphat Sanguthai
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังNichaphat Sanguthai
 
2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็มNichaphat Sanguthai
 
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvkNichaphat Sanguthai
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง Nichaphat Sanguthai
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองNichaphat Sanguthai
 
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6Nichaphat Sanguthai
 
แบบสำรวจตัวเอง
แบบสำรวจตัวเองแบบสำรวจตัวเอง
แบบสำรวจตัวเองNichaphat Sanguthai
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง Nichaphat Sanguthai
 

More from Nichaphat Sanguthai (20)

Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
ปลาตีน
ปลาตีนปลาตีน
ปลาตีน
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการัง
 
Yoga
YogaYoga
Yoga
 
2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
 
04 017 p51
04 017 p5104 017 p51
04 017 p51
 
Book20110408103212
Book20110408103212Book20110408103212
Book20110408103212
 
Kc4104041
Kc4104041Kc4104041
Kc4104041
 
24
2424
24
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง
 
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
 
Thanakritsomrit
ThanakritsomritThanakritsomrit
Thanakritsomrit
 
แบบสำรวจตัวเอง
แบบสำรวจตัวเองแบบสำรวจตัวเอง
แบบสำรวจตัวเอง
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง
 

2560 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน ปลาหมอไทย กินกับอะไรก็อร่อย ชื่อผู้ทาโครงงาน 1. นางสาวณิชาภัทร แสงอุทัย เลขที่ 8 ชั้น ม.6 ห้อง5 2. นางสาวจิราพร จิตต์มั่น เลขที่ 14 ชั้น ม.6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
  • 2. 2 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกกลุ่ม 1 นางสาวณิชาภัทร แสงอุทัย เลขที่ 8 2 นางสาวจิราพร จิตต์มั่น เลขที่ 14 ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ปลาหมอไทย กินกับอะไรก็อร่อย ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Trick of Climbing Perch ประเภทโครงงาน พัฒนาสื่อเพื่อการศึกษา ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวณิชาภัทร แสงอุทัย นางสาวจิราพร จิตต์มั่น ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน ด้วยความอุดมสมบูรณ์ ในน้้ามีปลา ในนามี ข้าว ปลาจึงเป็นอาหารที่คนไทยคุ้นเคยเป็นอย่างดี และหนึ่งใน ปลาที่นิยมน้ามาประกอบอาหารของไทยก็คือ ปลาหมอไทย เพราะเป็นปลาที่มีรสมัน เนื้อแน่น นุ่ม ก้างน้อย สามารถ ประกอบอาหารหรือแปรรูปได้หลากหลาย ทั้งต้มย้า แกง ย่าง ทอด ท้าปลาร้า ปลาเค็ม ปลาตากแห้ง และอื่นๆ ปลา หมอไทย เป็นปลาน้้าจืดพื้นบ้านของไทย ที่มีความส้าคัญทางเศรษฐกิจอีกชนิดหนึ่ง ที่ประชาชนทุกระดับชนชั้นของ สังคมไทย นิยมบริโภคกันอย่างแพร่หลาย เพราะสามารถประกอบอาหารได้หลากหลาย ทั้งแกง ต้ม ทอด ย่างหรือ แปรรูปเป็นผลิตภัณฑ์ต่างๆ อีกทั้งเป็นปลาที่มีความทนทาน ทรหด อดทนสูง เพราะมีอวัยวะพิเศษช่วยหายใจ (labyrinth organ) จึงอาศัยอยู่ได้ในบริเวณที่มีน้้าน้อยๆ หรือที่ชุ่มชื้นได้เป็นเวลานาน อย่างไรก็ตาม ผลผลิตส่วนใหญ่ ได้จากแหล่งน้้าธรรมชาติ โดยกรมประมง รายงานว่า ปี 2543 มีผลผลิตปลาหมอไทยทั้งหมด 7,200 เมตริกตัน คิด เป็นมูลค่า 207 ล้านบาท เป็นผลผลิตปลาจากแหล่งน้้าธรรมชาติ 6,730 เมตริกตัน และการเพาะเลี้ยง 470 เมตริกตัน
  • 3. 3 โดยบริโภคในรูปปลาสด 84 % ปลาร้า 12 % นอกจากนั้นอีก 4 % ท้าปลาเค็มตากแห้ง รมควันและอื่นๆ ปลาหมอ เป็นปลาที่มีถิ่นอาศัยอยู่ในประเทศจีน ลาว กัมพูชา เวียดนาม มาเลเซีย อินเดีย ฟิลิปปินส์และหมู่เกาะอินโด- ออสเตรเลีย ในประเทศไทยพบแพร่กระจายทั่วประเทศในแหล่งน้้าจืด ล้าคลอง คู ทะเลสาบ บ่อ หนอง บึงทั่วไป ใน พื้นที่ลุ่มน้้าปากพนัง ปลาหมอเป็นปลาน้้าจืดพื้นบ้านของไทยที่นิยมบริโภค มีราคาสูง รสชาติดีเป็นที่ต้องการของ ตลาดทั้งในและต่างประเทศ ปลาหมอที่จับได้ส่วนใหญ่ได้มาจากการท้าการประมงในแหล่งน้้าธรรมชาติ แต่ในปัจจุบัน มีเกษตรกรสนใจเลี้ยงปลาหมอมากขึ้นโดยเฉพาะในพื้นที่ลุ่มน้้าปากพนัง จังหวัดนครศรีธรรมราช ในช่วงที่การเลี้ยงกุ้ง กุลาด้าประสบปัญหาโรคระบาด เกษตรกรหลายรายหันมาเลี้ยงปลาหมอและประสบความส้าเร็จ อีกทั้งมีการส่งเสริม การปรับเปลี่ยนอาชีพเกษตรกรตามโครงการพัฒนาพื้นที่ลุ่มน้้าปากพนัง จนมีการขยายพื้นที่การเลี้ยงเพิ่มขึ้น แต่ยังมี ปัญหาการขาดแหล่งพันธุ์ปลา เนื่องจากการเพาะพันธุ์ปลาหมอยังมีน้อยและไม่แพร่หลาย ประกอบกับการศึกษาและ ข้อมูลจากเอกสารที่ตีพิมพ์เกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงปลาหมอยังมีน้อยมาก การศึกษาชีววิทยาบางประการของปลาหมอ เพื่อเป็นข้อมูลพื้นฐานในการส่งเสริมสนับสนุนและพัฒนาการเพาะเลี้ยงปลาหมอให้แก่เกษตรกรและประชาชนผู้สนใจ ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงน้้าจืดนครศรีธรรมราชเป็นหน่วยงานที่มีการศึกษาวิจัย รวบรวมพันธุ์ และท้าการเพาะพันธุ์ มาตลอดเวลายาวนาน รวมถึงเล็งเห็นความส้าคัญของปลาหมอในการที่จะพัฒนาไปสู่การเลี้ยงเชิงเศรษฐกิจ และ ศึกษาหาแนวทางในการฟื้นฟูความอุดมสมบูรณ์ในแหล่งน้้าธรรมชาติต่อไป ปัจจุบัน แม้ว่าการเพาะเลี้ยงปลาหมอไทย ยังไม่เป็นที่แพร่หลายมากนัก มักกระจุกอยู่บางท้องที่หรือเลี้ยงกัน แบบหัวไร่ ปลายนา แต่จัดเป็นปลาที่มีศักยภาพ ทั้งการผลิตและการตลาดเพื่อส่งออกสูง กล่าวคือ (1) สามารถ เพาะเลี้ยงในอัตราความหนาแน่นสูง และเจริญเติบโต ในภาวะคุณสมบัติของดินและน้้าที่แปรปรวนสูงได้ ทั้งน้้าจืด น้้า กร่อยและน้้าค่อนข้างเป็นกรดหรือพื้นที่ดินพรุ ดินเปรี้ยวตลอดจนนาข้าว นากุ้งทิ้งร้างได้ สามารถขนส่งและจ้าหน่าย ในรูปปลาสดมีชีวิตระยะทางไกลๆ อันสอดคล้องกับพฤติกรรมผู้บริโภคยุคใหม่ ที่นิยมใช้ปลาสดมีชีวิตประกอบอาหาร (2) อุปสงค์ของตลาดมีสูงมาก โดยเฉพาะปลาขนาดใหญ่ ทั้งตลาดภายในและต่างประเทศ เช่น ตลาดตะวันออกกลาง จีน ไต้หวัน เกาหลีและมาเลเซีย มีความต้องการไม่ต่้ากว่า 100 เมตริกตัน/ปี ในช่วงเดือนเมษายน ถึง พฤษภาคม ของ ทุกปี ขณะที่ผลผลิตไม่เพียงพอและปริมาณไม่แน่นอน ปัจจุบันเป็นที่ต้องการของตลาด และนิยมบริโภคกันมาก และเนื่องจากปลาหมอไทยสามารถพบได้ในแม่น้า หนอง บึง และแหล่งน้าทั่วไป เป็นปลาที่มีความทนต่อปริมาณที่มีน้าน้อยๆ หรือขาดน้าได้เป็นเวลานานกว่าปลาชนิด อื่นๆ ปลาหมอหนึ่งตัวสามารถแพร่พันธุ์ และวางไข่ได้จ้านวนมาก สามารถเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็วในเวลาไม่กี่ เดือน สามารถปรับตัวให้กับสภาพแวดล้อมที่เป็นน้ากร่อย หรือน้าเค็มได้อย่างดี อีกทังเกษตรกรหันมาเลียงปลาหมอ ไทยเพิ่มมากขึนในปัจจุบัน เพราะสามารถเลียงได้ในอ่างเก็บน้า นาข้าว และเลียงผสมรวมกับปลาชนิดอื่นได้ดี จึงเห็นสมควรที่จะจัดท้าโครงงาน “ปลาหมอไทยกินกับอะไรก็อร่อย” ขึนมา เพื่อให้เกษตรกรหรือผู้ เพาะเลียงปลาหมอไทยได้ศึกษาและน้าไปใช้ท้าเป็นอาชีพประจ้าวันได้ ดังนันผู้จัดท้าโครงงานจึงได้เลือกศึกษาวิธีการ แปรรูปและประกอบอาหารจากปลาหมอไทยเพื่อการจัดจาหน่าย เพื่อได้น้าวิชาความรู้ในสาขาวิชาการขายที่เรียนมา ประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ด้านรายได้ต่อตนเองและครอบครัว วัตถุประสงค์ 1. เพื่อให้ทราบถึงขันตอนและวิธีประกอบอาหารด้วยปลาหมอไทย
  • 4. 4 2. เพื่อสามารถน้าไปท้ารับประทานในชีวิตประจ้าวันได้ 3. เพื่อเป็นแนวทางในการน้าไปประกอบอาชีพได้ 4. เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาเรื่องปลาหมอไทย ขอบเขตโครงงาน 1. โครงงาน“ปลาหมอไทยกินกับอะไรก็อร่อย” 1.1 ขันตอนการจัดเตรียมอุปกรณ์ 1.2. ขันตอนการประกอบอาหารด้วยปลาหมอ 2. สรุปรายงานผล หลักการและทฤษฎี การจัดท้าโครงงาน “ปลาหมอไทยกินกับอะไรก็อร่อย” ผู้จัดท้าได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารเกี่ยวการจัดท้า มี รายละเอียด ดังนี 1. ปลาหมอไทย และการเลี้ยงปลาหมอไทย ปลาหมอไทย เป็นปลาที่มีรสมัน เนือแน่น นุ่ม ก้างน้อย สามารถประกอบอาหารหรือแปรรูปได้หลากหลาย ทังต้มย้า แกง ย่าง ทอด ท้าปลาร้า ปลาเค็ม ปลาตากแห้ง และอื่นๆ ปัจจุบันเป็นที่ต้องการของตลาด และนิยมบริโภค กันมาก ทังในประเทศ และการส่งออก ปลาหมอไทยเป็นปลาที่มีความทนในสภาพที่มีน้าน้อยหรือขาดน้า จึงสามารถขนส่ง และจ้าหน่ายในรูปปลาสดที่มีชีวิต ในระยะทางไกลๆได้ เป็นปลาที่ต้องการทางตลาดทังภายใน และต่างประเทศสูงในแต่ละปี (จีน ไต้หวัน เกาหลี มาเลเซีย และประเทศแถบตะวันออกกลาง) โดยเฉพาะปลาหมอที่มีขนาดใหญ่ (3-5 ตัว/กิโลกรัม) ราคาจ้าหน่ายใน
  • 5. 5 ประเทศ กิโลกรัมละ 100-150 บาท ขึนอยู่กับพืนที่ และฤดูกาล ซึ่งปัจจุบันมีผลผลิตไม่เพียงพอกับความต้องการทังใน และต่างประเทศ ปลาหมอไทย (Climbing Perch, Anabastestudineus, Bloch) เป็นปลาน้าจืดพืนบ้านของไทยที่นิยมบริโภคกันทั่ว ทุกภาค มีชื่อเรียกต่างกันในแต่ละท้องถิ่น เช่น ภาคเหนือ และอีสาน เรียกว่า ปลาเข็ง ภาคใต้ เรียกว่า อีแกปูยู ปลาหมอ ปลาหมอไทยสามารถพบได้ในแม่น้า หนอง บึง และแหล่งน้าทั่วไป เป็นปลาที่มีความทนต่อปริมาณที่มีน้าน้อยๆ หรือ ขาดร้าได้เป็นเวลานานกว่าปลาชนิดอื่นๆ ปลาหมอหนึ่งตัวสามารถแพร่พันธุ์ และวางไข่ได้จ้านวนมาก เป็นปลากินพืช และกินเนือที่สามารถเจริญเติบโตได้อย่างรวดเร็วในเวลาไม่กี่เดือน สามารถปรับตัวให้กับสภาพแวดล้อมที่เป็นน้ากร่อย หรือน้าเค็มได้อย่างดี เกษตรกรจึงหันมาเลียงปลาหมอไทยเพิ่มมากขึน เพราะสามารถเลียงได้ในอ่างเก็บน้า นาข้าว และเลียงผสมรวมกับปลาชนิดอื่นได้ดี ปลาหมอ เป็นปลาที่สามารถปีนป่ายขึนบนบกเพื่ออพยพหาแหล่งน้าได้ โดยเฉพาะในช่วงฝนตกในต้นฤดูฝน ท้าให้มี การแพร่กระจายตัวแหล่งน้าในทุกแห่งได้อย่างรวดเร็ว การปีนป่ายบนบกตามพืนดินของปลาหมอจะใช้ส่วนล่างของ กระดูกกระพุ้งแก้ม รวมถึงแผ่นเหงือกช่วยเกาะปีนไปข้างหน้าตามพืนดินหรือบางครังจะใช้ล้าตัวไถลไปตามพืนที่ชืน แฉะของดิน อนุกรมวิธานปลาหมอไทย Phylum : Chordata Class : Pisces Subclass : Teleostmi Order : Labyrinthici Family : Anabantide Genus : Anabas Species : testudineus ลักษณะปลาหมอไทย ปลาหมอมีอวัยวะช่วยหายใจ (labryrinth organ) ในช่องเหงือกใต้ลูกตา ประกอบด้วยแผ่นกระดูกบาง (lamellae) จ้านวนมากเรียงซ้อนกัน และถูกห่อหุ้มด้วยผนังบางๆที่มีเส้นเลือดฝอยจ้านวนมาก แผ่นนีจะช่วยดูดซับออกซิเจนใน อากาศ และผ่านเข้าสู่เส้นเลือดฝอยเมื่อโผล่ขึนมาฮุบอากาศเหนือผิวน้า ปลาหมอไทยมีลักษณะล้าตัวค่อนข้างแบน ปกคลุมด้วยเกล็ดแข็งแบบ ctenoid สีน้าตาลหรือเหลืองปนด้าหรือเขียว ปนด้า และมีมีสีเหล่านีปะปนกันทังล้าตัว เกล็ดบริเวณใกล้ท้องมีสีจางกว่าส่วนหลัง ล้าตัวยาวประมาณสามเท่าของ ความกว้างล้าตัว บริเวณสันหลังมีครีบหลังที่แข็ง 17-18 ก้าน และก้านครีบอ่อนส่วนท้ายสันหลัง 9-10 ก้าน ครีบก้น
  • 6. 6 ส่วนต้นมีก้านครีบแข็ง 9-10 ก้าน และก้านครีบอ่อนส่วนท้าย 10-11 ก้าน ครีบท้องถัดจากครีบก้นขึนไปทางด้านหัวมี ก้านครีบแข็ง 2 ก้าน และก้านครีบอ่อน 5 ก้าน ส่วนครีบอกที่อยู่เหนือครีบท้องมีก้านครีบอ่อน 15 ก้าน ต้าแหน่งของครีบหลัง ครีบอก ครีบท้องอยู่ในแนวเดียวกัน เส้นข้างตัวแบ่งขาดเป็น 2 ตอน กระดูกกระพุ่งแก้มงอพับ ได้ ส่วนปลายมีลักษณะเป็นหนามแหลมคม และส่วนล่างกระดูกกระพุ้งแก้มแยกเป็นกระดูกแข็งส้าหรับปีนป่าย เรียกว่า ichy feet หรือเกาะกับพืนเพื่อเคลื่อนที่ไปข้างหน้า ครีบหางมีลักษณะกลม มนเล็กน้อย บริเวณโคนหางมีจุด สีด้ากลม หรืออาจไม่มีก็ได้ ปากอยู่สุดของส่วนหัว มีลักษณะเฉียงขึนเล็กน้อย ริมฝีปากยืดหดไม่ได้ ฟันด้านในแหลม คม ตามีลักษณะทรงกลม มีตาด้าอยู่ตรงกลาง การแยกเพศปลาหมอไทย ปลาเพศหมอเมียจะมีขนาดโต และน้าหนักมากกว่าเพศผู้ และมีความกว้างของล้าตัวมากกว่าเพศผู้ ส่วนเพศ ผู้จะมีล้าตัวเรียวยาวกว่าเพศเมีย และความกว้างล้าตัวสันกว่า เมื่อถึงฤดูปลามีไข่ ปลาหมอเพศเมียจะมีท้องอูมเป่ง อวัยวะเพศขยายใหญ่ มีสีแดง ส่วนเพศผู้จะไม่ เปลี่ยนแปลง เมื่อจับส่วนโคนหาง (caudal peduncle) ปลาเพศเมียจะหนากว่าปลาเพศผู้ รังไข่ของปลาหมอไทยมีลักษณะบาง มีเป็นคู่ แยกออกเป็นสองพูในช่องท้อง รังไข่ใหม่จะมีสีชมพูแก่ และมี เม็ดไข่สีขาวนวลขนาดเล็ก เมื่อรังไข่แก่จะมีสีเหลือง และมีเส้นเลือดฝอย (ovarian arteries) มาหล่อเลียงจ้านวนมาก สามารถมองเห็นได้ชัดเจน ภายในรังไข่เต็มไปด้วยไข่สีเหลือง มีลักษณะกลม จ้านวนมาก ขนาดไข่มีเส้นผ่าศูนย์กลาง ประมาณ 0.7 เซนติเมตร ภายในเม็ดไข่มีหยดน้ามันขนาดใหญ่ และหยดน้ามันขนาดเล็ก จ้านวนไข่ปลาหมอจะขึนกับขนาดเป็นส้าคัญ มีการศึกษาจ้านวนไข่ของปลาหมอ พบว่า ปลาหมอขนาด 38 กรัม จะมีไข่ประมาณ 2,200 ฟอง ขนาด 100 กรัม จะมีไข่ประมาณ 12,000 ฟองและ ขนาด 145 กรัม จะมีไข่ ประมาณ 28,000 ฟอง ส่วนตัวผู้จะมีถุงน้าเชือ ที่ระยะแรกจะมีสีชมพูใส ต่อมาเมื่อแก่ก็จะมีสีขาวขุ่น แยกเป็นสองพู ในช่องท้อง ขนาดล้าตัว และการเติบโตปลาหมอไทย ปลาหมอไทยโตเต็มวัยที่สามารถสืบพันธุ์ และวางไข่ได้ จะมีอายุประมาณ 5 เดือน หลังจากฟักออกเป็นตัวแล้ว ขนาด ความยาวประมาณ 9-10 เซนติเมตร น้าหนัก 30-40 กรัม
  • 7. 7 อัตราการเติบโตของปลาหมอไทยจะเปลี่ยนแปลงตามฤดูกาล มีช่วงการเจริญเติบโตดีในฤดูฝนจนถึงต้นฤดูหนาว อัตรา การเจริญเติบโตจะสูงมากในช่วงต้นฤดูฝน ในฤดูหนาวอุณหภูมิลดลง การเจริญเติบโตจะช้าหรือหยุดชะงัก และจะเป็น ปกติเมื่อพ้นฤดูหนาว ประโยชน์ และการแปรรูป ปัจจุบัน ปลาหมอจัดเป็นปลาที่นิยมเลียง และบริโภคกันมากในทุกภาคของไทย เนื่องจากให้เนือแน่น เนือมีรสมัน อร่อยต่างจากปลาชนิดอื่น มีก้างน้อย มักพบปิ้งย่างเกลือขายตามตลาด ร้านอาหาร ริมถนน โดยเฉพาะถนนสายอีสาน และภาคเหนือ นอกจากนัน ยังนิยมประกอบอาหารหลากหลายเมนู เช่น ต้มย้า แกง และทอด การแปรรูปปลาหมอนิยมใช้ปลาหมอขนาดเล็กในการท้าปลาร้า ส่วนปลาหมอที่มีขนาดใหญ่ขึนมาจะแปรรูปตากแห้ง หรือท้าปลาเค็มส้าหรับย่างหรือทอด การเพาะเลี้ยงปลาหมอไทย โดยธรรมชาติ ปลาหมอไทยวางไข่ในช่วงฤดูฝนเหมือนปลาอื่นๆ ในช่วงเดือนพฤษภาคมเป็นต้นไป โดยเฉพาะน้าใหม่ หรือฝนแรก ปลาหมอเพศเมียที่พร้อมจะวางไข่จะมีส่วนท้องอูมเป่ง และนิ่ม เมื่อบีบท้องเบาๆ จะมีไข่กลม สีเหลือง อ่อนออกมา ส่วนเพศผู้จะมีลักษณะปกติ ไม่เปลี่ยนแปลง ก่อนวางไข่ ปลาเพศผู้จะก่อหวอดที่เคลือบด้วยสารเมือก เกาะติดกันเป็นกลุ่มฟองอากาศ บริเวณก่อหวอดมักเป็นน้าตืน มีกอหญ้า ปลาตัวเมียจะเข้าวางไข่ใต้หวอด และตัวผู้ก็ จะฉีดน้าเชือเข้าผสม ไข่ปลาหมอจะลอยอยู่ผิวน้า ไข่ที่ได้รับการผสมจะมีสีเหลืองอ่อนใส ขนาดประมาณ 0.7-1 มิลลิเมตร และจะพัฒนาการจนฟักออกเป็นตัวอ่อนต่อไป
  • 8. 8 โรคที่พบในปลาหมอไทย โรคปลาหมอไทยที่พบบ่อย ดังนี 1. โรคตกเลือดซอกเกล็ด เกิดจากเชือปรสิตเซลล์เดียว (Epistylissp.) ที่อยู่รวมกันเป็นกลุ่มร่วมกับเชือแบคทีเรีย ปลาหมอที่เป็นโรคนีจะมี อาการเกิดแผลสีแดงเป็นจ้าๆ ตามล้าตัว พบมากบริเวณครีบ และซอกเกล็ด หากเป็นมากจะท้าให้เกล็ดหลุดหรือติด เชือราร่วมด้วยจนเป็นโรคเกล็ดพองได้ 2. โรคเกล็ดพอง เกิดจากเชือแบคทีเรีย ปลาหมอที่เป็นโรคนีจะมีอาการเกล็ดพองตามล้าตัว หรือเกล็ดตังอ้าออก มีอาการตกเลือดตาม ฐานซอกเกล็ด ร่วมด้วยกับล้าตัวบวมโต 3.โรคแผลตามล้าตัว เกิดจากเชือแบคทีเรียที่เข้าท้าลายเม็ดเลือดแดง ปลาหมอที่เป็นโรคนีจะมีอาการเกล็ดหลุด และผิวหนังเปื่อยลึก มองเห็นเนือด้านใน แผลมีการกระจายทั่วล้าตัว และมักพบการติดเชือราร่วมด้วย เช่น โรคอิพิซู โอติด อัลเซอร์เรทีพ ซินโดรม (Epizootic Ulcerative Syndrome) ที่พบแผลมีเส้นใยของเชือราฝังอยู่ 4.โรคจุดขาว เกิดจากเชือโปรโตซัว (Ichthyophthirius inultifilis) เข้ากัดกินเซลล์ผิวหนัง ปลาหมอที่เป็นโรคนีจะมีอาการปรากฏ จุดขาวขุ่น ขนาดเท่าหัวเข็มหมุดบริเวณล้าตัว และครีบ 2. การประกอบอาหารจากปลาหมอไทย เมนูปลาหมอทอดน้้าปลา วัตถุดิบที่จ้าเป็นต้องใช้ – ปลาหมอ – มะนาว – น้าปลา – น้าตาลทราย – น้ามันพืช วิธีท้า ปลาหมอทอดน้าปลา 1. น้าปลาหมอ มาแร่เอาก้างกลางออก จากนันก็แผ่ตัวออก เพื่อเตรียมเอาไว้ ส้าหรับการทอด
  • 9. 9 2. จุดไฟ ตังกระทะ ใส่น้ามันพืชลงไป 3. รอให้น้ามันร้อนจัดๆ ก็ใส่ปลาหมอ ลงไปทอด 4. พอทอดจนเหลืองกรอบ เป็นสีทอง และลอยขึนมา ก็ถือว่า ใช้ได้แล้ว ให้ตักขึนมา พักเอาไว้ ให้สะเด็ดน้ามันได้เลย 5. น้าน้ามันที่เหลือจากการทอดปลา เอาแค่นิดหน่อย มาทอดร่วมกับน้าปลา น้าปลาเพียวๆ ใส่ลงไปได้เลย เสียงตอน เทลงไป จะมีเสียงดังฉ่า ก็ไม่ต้องตกใจไป จากนันก็เติมน้าเปล่าลงไปเล็กน้อย และใส่น้าตาลทรายขาวลงไป 6. ค่อยๆ เคี่ยวให้น้าปลาพอมีความเหนียว พักเดียว ก็ตักขึนมา ราดที่ตัวปลาได้เลย ถ้าไม่แน่ใจ ให้ชิมน้าราดก่อนนะ ครับ เพื่อความชัวร์ ว่าเค็มมากไป หรือยังหวานน้อยไป จะได้แก้รสชาติ ถ้าเค็มไป ก็เติมน้า ถ้าหวานน้อยไป ก็เติม น้าตาล – ปลาหมอที่น้ามาใช้ ต้องเป็นปลาหมอ ที่มีขนาดใหญ่ ตัวเล็ก ไม่ควรน้ามาทอดนะครับ ขนาดที่แนะน้าก็คือ ประมาณ 3 ตัวโล จะดีมากๆ เลยครับ – การแร่ปลาหมอ จะต้องระมัดระวัง และใช้มีดที่คมมากๆ เพราะเนือค่อนข้างหนามาก ตอนที่เอาก้างกลางออก จะ ค่อนข้างยากพอสมควร ต้องท้าช้าๆ นิดนึงนะครับ – การล้างปลาหมอ ต้องล้างด้วยเกลือ เอาเกลือมาถูที่ตัวให้ทั่ว เพื่อก้าจัดเมือก และลดความคาว – การทอดปลานัน น้ามันจะต้องร้อน และเดือดจริงๆ ไม่อย่างนัน เมื่อทอดมาแล้วจะไม่กรอบนอก นุ่มใน เมนูต้มปลาหมอเปรี้ยวเค็ม วัตถุดิบที่จ้าเป็นต้องใช้ – ปลาหมอ – น้าตาลทรายขาว – น้ามะขามเปียก – น้าปลา – น้าซุปกระดูกหมู วิธีท้า ต้มปลาหมอเปรียวเค็ม 1. จุดไฟ ตังหม้อ ใส่น้าซุปลงไป ปิดฝา รอให้น้าเดือดจัดๆ 2. พอน้าเดือดแล้ว ก็เปิดฝา 3. ใส่เครื่องปรุงลงไปก่อน โดยเริ่มจาก น้ามะขามเปียก น้าปลา และ น้าตาลทรายขาว คนให้น้าตาลละลาย แล้วก็ปิด ฝา รอให้เดือดอีกที 4. พอน้าเดือดแล้ว ก็เปิดฝา แล้วก็ใส่ปลาหมอลงไปได้เลย (ใส่ลงไปทังตัว) โดยเมื่อใส่ลงไปแล้ว รีบปิดฝาทันที และ ห้ามคน เร่งไฟให้แรง เพื่อไม่ให้คาว 5. ต้มไว้สักพัก จนเนือปลาสุก ก็ตักขึนมาใส่ชามได้เลย 6. ใส่พริกขีหนูสวน ลงไปได้เลย เพื่อให้มีความแซ่บขึนมาสักหน่อย ถ้าชอบมาก ก็ใส่ลงไปเยอะๆ
  • 10. 10 เคล็ดลับในการท้าเมนู ต้มปลาหมอเปรียวเค็ม – การล้างปลาหมอ ต้องล้างด้วยเกลือ เพื่อล้างเมือกออกให้หมด และช่วยลดความคาวได้ – การใส่ปลาหมอลงไปในหม้อ ที่มีน้าเดือดๆ ต้องค่อยๆ ใส่ลงไปทังตัว อย่าโยน หรือทิงลงไป ต้องค่อยๆ ใส่ เมื่อใส่ แล้ว ให้รีบปิดฝาหม้อ และอย่าคน ไม่อย่างนัน จะคาว – ปลาหมอที่น้ามาต้ม ควรจะบังให้ลึก เพื่อจะได้ดูง่ายเวลาที่ใส่ลงไปต้ม ว่าสุกหรือยัง – รสชาติของเมนูนี จะต้องเปรียวน้า และเค็มตาม ดังนัน ต้องใส่น้ามะขามเปียก ค่อนข้างเยอะ เมนูฉู่ฉี่ปลาหมอทอด (แบบแห้ง) หรือปลาหมอทอดผัดพริกแกง เครื่องปรุงปลาหมอแบบแช่แข็ง 6 ตัว ถัวฝักยาวหรือถั่วแขก/ผักบุ้ง ตามชอบ หั่นชินพอค้า พริกแกงแดง 2-3 ชต. ใบมะกรูดหั่นฝอย 5-6 ใบ พริกหวานหรือพริกชีฟ้าหั่นแฉลบ ใบกระเพรา 1 ถ้วย น้ามัน (ส้าหรับทอดและผัดพริกแกง) น้าปลา ½ - 1 ชต. น้าตาลทราย 1/2 ชช. น้าเปล่า 5-8 ชต. ข้าวสวย วิธีท้า
  • 11. 11 1. ติดไฟ ใส่น้ามันในกระทะ ไฟปานกลาง พอน้ามันร้อนได้ที่ น้าปลาหมอที่สะเด็ดน้า จากนันน้าไปทอดให้สุกและ กรอบ ช่วงที่ทอดประมาณ 5-7 นาทีแรกของด้านแรก จากนันก็มาลวกถั่วฝักยาวที่หั่นเตรียมไว้ให้สุก โดยลวก ประมาณ 5 นาทีคะ และให้น้าไปเทผ่านน้าเย็นหรือแช่น้าเย็น เพื่อให้คงสีเขียวสวยไว้อย่างที่เห็น 2. จากนันมาเริ่มผัดพริกแกง ตังกระทะ ใส่น้ามันลงไป พอน้ามันร้อนได้ที่ ใส่พริกแกงแดงลงไป ผัดให้หอม ปรุงรสด้วย น้าปลา และน้าตาลทราย (เพื่อเป็นการตัดรส) เติมน้าเปล่าเล็กน้อย คลุกเคล้าให้เข้ากัน ชิมให้ได้รสชาติที่ต้องการ จากนันก็ใส่ปลาหมอทอด ถั่วฝักยาว/ผักบุ้งและใบมะกรูดฉีกลงไป คลุกเคล้าให้เข้ากัน ลองชิมดู ขาดเหลืออะไร สามารถเติมได้ตอนนีอีกรอบ 3. โรยพริกหวานหรือพริกชีฟ้าหั่นแฉลบและใบกระเพราเป็นการปิดท้าย คลุกให้เข้ากันอีกรอบ ปิดไฟ ตักใส่จาน จากนันให้เอาข้าวสวยมากคลุกก้นกระทะกับพริกแกงที่ติดก้นกระทะ พร้อมเสิร์ฟ 3. การแปรรูปปลาหมอไทย การท้าปลาร้าจากปลาหมอไทย ปลาร้า หมายถึง ผลิตภัณฑ์ปลาหมักที่ได้จากการน้าปลาสดมาหมักกับเกลือ และข้าวคั่วหรือร้าข้าวในอัตราส่วนที่ เหมาะสม ก่อนจะหมักในภาชนะนาน 7-8 เดือน หรือมากกว่า เป็นปี จนได้เนือปลาสีน้าตาลหรือสีเหลือง เนือ และน้า มีรสเค็ม และกลมกล่อมจากเนือปลา ปลาร้า หรืออีสานเรียก ปลาแดก จัดเป็นอาหารท้องถิ่นที่ดังเดิมผลิตกันเฉพาะในภาคอีสาน และประเทศลาว ปัจจุบัน ปลาร้า เป็นอาหารที่นิยมรับประทานมากของคนไทยในทุกภาค โดยเฉพาะน้ามาใช้เป็นส่วนผสมส้าคัญของ ส้มต้า
  • 12. 12 ปลาร้า เป็นค้าภาษากลาง ที่มาจากค้าว่า – ปลา ซึ่งหมายถึง ปลาชนิดต่างๆ – ร้า ซึ่งหมายถึง อ่อนนิ่ม (ปลาที่หมักแล้วจะมีล้าตัวอ่อนนิ่ม) ปลาแดก เป็นค้าท้องถิ่นของคนอีสานที่มาจากค้าว่า – ปลา ซึ่งมีความหมายเหมือนข้างต้น – แดก ซึ่งหมายถึง การยัดใส่ให้แน่นเพื่อให้ได้ปริมาณมากที่สุด (ยัดใส่ในไห) นอกจากนัน ยังอาจเหมือนถึง กิริยาของ การกินหรือการรับประทาน ขอบคุณภาพจาก www.momypedia.com ประเภทปลาร้าตามรสของชาวอีสาน 1. ปลาร้าหอม/ปลาแดกหอม ปลาร้าหอม/ปลาแดกหอม หมายถึง ปลาร้าที่มีกลิ่นหอม น้าปลาร้ามีสีน้าตาล เนือปลาอาจเป็นสีเหลืองหรือสีแดงตาม ชนิดปลา ขนาดปลาที่ใช้มักเป็นปลาขนาดกลาง ส่วนผสม ได้แก่ ปลา : เกลือ : ข้าวคั่วหรือร้า ในอัตราส่วน 4 : 2 : 1 หมักนานประมาณ 6-10 เดือน 2. ปลาร้านัว/ปลาแดกนัว/ปลาแดกต่วง ปลาร้านัว/ปลาแดกนัว/ปลาแดกต่วง น้าปลาร้ามีสีน้าตาล เนือปลามีสีแดง เนือให้รสมันนัว มักใช้ปลาขนาดเล็กถึง กลาง ได้แก่ ปลา : เกลือ : ข้าวคั่วหรือร้า ในอัตราส่วน 4 : 1/2 : 1 หมักนานประมาณ 4-6 เดือน 3. ปลาร้าโหน่ง/ปลาแดกโหน่ง ปลาร้าโหน่ง/ปลาแดกโหน่ง หมายถึง ปลาร้าที่มีกลิ่นฉุนมาก อันเกิดจากระยะเวลาหมักที่นาน มักใช้ปลาขนาดเล็ก หมัก เช่น ปลาซิว ปลาหมอ เนือปลามักเปื่อยยุ่ย เนือมีสีแดงคล้า หมักนานมากกว่า 10 เดือน ถึง 1 ปี
  • 13. 13 ประเภทปลาร้า/ปลาแดกตามข้าวที่ใส่ 1. ปลาร้าข้าวคั่ว เป็นประเภทปลาร้าที่ท้ามากในภาคกลาง ได้แก่ นครสวรรค์ อยุธยา ลพบุรี และสิงบุรี เป็นต้น ปลาร้าในภาคกลาง นิยมใช้ข้าวคั่ว ใช้วัตถุดิบหลัก คือ ข้าวคั่วที่น้ามาต้าบดให้เป็นก้อนเล็กๆหรือบดให้ละเอียด ปลาร้าที่ได้มักมีสีเหลือง นวลหรือเหลืองเข้ม เนือปลาอ่อนนุ่ม นิยมใช้ท้าปลาร้าหลน หรือ ปลาร้าทรงเครื่อง 2. ปลาร้าร้าข้าว เป็นปลาร้าที่ท้ากันมากในภาคอีสานทุกจังหวัด ใช้วัตถุดิบหลัก คือ ร้าข้าวที่หาได้จากโรงสีข้าวในชุมชน ปลาร้าที่ได้มัก มีสีน้าตาลหรือแดงอมน้าตาล เนือปลาอ่อนนุ่ม นิยมน้าน้าปลาร้ามาใส่ส้มต้า เนือปลาท้าปลาร้าบองหรือแจ่วบอง วิธีท้าปลาร้า ส่วนผสม 1. ปลาสด 3-5 กิโลกรัม
  • 14. 14 2. เกลือ 1 กิโลกรัม 3. ข้าวคั่ว หรือร้าข้าว อย่างใดอย่างหนึ่ง 2 ถ้วย 4. น้าอุ่นที่ต้มแล้ว 3 ถ้วย ขันตอนการท้าปลาร้า 1. คัดเลือกปลาที่มีขนาดพอเหมาะ ไม่ควรใช้ปลาที่มีน้าหนักกว่า 1 กิโลกรัม หรือตัวใหญ่มากเกินไป เพราะจะต้องใช้ เวลาหมักนาน ส่วนชนิดปลาที่ใช้ ดังที่กล่าวไว้ข้างต้น 2. น้ามาล้างน้าท้าความสะอาดสิ่งที่อาจปนมากับตัวปลาก่อน 1-2 น้า 3. หากเป็นปลามีเกล็ด ให้ขอดเกล็ดด้วยช้อนให้หมดก่อน หากเป็นปลามีก้านครีบแข็ง และยาว รวมถึงมี เงี่ยง ซึ่ง จะต้องตัดก้านครีบ และเงี่ยงออกก่อน และอาจตัดหัวปลาทิงด้วยก็ได้ หลังจากนัน น้าปลามาควักไส้ออกให้หมด ก่อน จะล้างท้าความสะอาด 2-3 น้า 4. น้าปลาที่ล้างแล้วใส่ชามหรือถัง พร้อมเติมเกลือ และข้าวคั่วหรือร้าข้าว และน้าอุ่น ก่อนจะคลุกผสมกันให้ทั่ว 5. น้าส่วนผสมที่คลุกได้ที่แล้วเทใส่ถังหมักหรือไหหมัก ก่อนจะรัดปิดปากถังหรือไหให้แน่น พร้อมหมักทิงไว้ในร่มนาน 6-10 เดือน หรือมากกว่าตามขนาดของปลาที่ใช้ ทังนี ภาชนะที่ใช้ในการเตรียม รวมถึงถังหมักหรือไหหมักจะต้องล้างท้าความสะอาด และตากแดดให้แห้งก่อนทุกครัง ส่วนระยะการหมักมักหมักทิงไว้ไม่เกิน 1 ปี เพราะหากหมักนานมักท้าให้เนือปลาเปื่อยยุ่ยมาก ส้าหรับการป้องกันแมลงวันหรือแมลงต่างๆมาไข่ใส่นัน ตามภูมิปัญญาของชาวอีสานจะใช้ขีเถ้าห่อใส่ผ้าขาวบางหรือผ้า มุ้งแล้วน้ามาวางทับบนปากถังหรือปากไหให้ปกมิด ซึ่งเป็นวิธีที่ช่วยป้องกันแมลงวันมาไข่ใส่ได้ดี ส่วนวัสดุที่ปิดปากไห ครังแรกอาจเป็นผ้าหรือพลาสติกบางๆหลายชัน ซึ่งจะใช้เชือกรัดคลุมปากถังหรือไหให้แน่นสนิท ส้าหรับสีของเนือปลาร้า และความอ่อนนุ่มจะขึนอยู่กับชนิดปลาเป็นส้าคัญ เช่น หากใช้ปลาหมอหรือปลาช่อนจะให้สี แดงอมน้าตาล หากใช้ปลาดุกจะได้สีเหลืองเข้ม เนือปลาช่อนจะเหนียว และไม่นุ่มเท่าเนือปลาดุก เป็นต้น ส่วนสีของ น้าปลาร้าจะขึนอยู่กับชนิดข้าวเป็นส้าคัญ กล่าวคือ หากเป็นข้าวคั่วมักให้สีน้าตาลเข้ม หากเป็นร้าข้าวมักให้สีเหลือง นวล ทังนี สีน้าปลาร้ายังเปลี่ยนแปลงได้หากหมักนานขึน
  • 15. 15 ลักษณะปลาร้าที่หมักได้ที่ 1. ล้าตัว และเนือปลาอ่อนนุ่ม ไม่แข็งทู่หรือเปื่อยยุ่ย 2. เนือปลาด้านในมีสีน้าตาลหรือสีแดงอมชมพู 3. มีกลิ่นหอมของการหมัก ไม่มีกลิ่นเหม็นเน่า 4. เนือปลามีรสเค็ม โดยมีเกลือประมาณ ประมาณ 11-16% มีความมันของน้ามันปลา และไม่มีรสเปรียว 5. น้าปลาร้ามีสีน้าตาลอมด้า มีรสเค็ม ไม่มีรสเปรียว 6. สีของร้าหรือข้าวคั่วเปลี่ยนเป็นสีน้าตาล ไม่ด้าคล้า วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. คิดหัวข้อโครงงาน 2. ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3. จัดท้าโครงร่างงาน 4. ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5. ปรับปรุงทดสอบ 6. การท้าเอกสารรายงาน 7. ประเมินผลงาน 8. น้าเสนอโครงงาน
  • 16. 16 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน / / ณิชาภัทร 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล / / / ณิชาภัทร 3 จัดท้าโครงร่างงาน / / / / / ณิชาภัทร 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การท้าเอกสารรายงาน / / / / / ณิชาภัทร 7 ประเมินผลงาน 8 น้าเสนอโครงงาน / จิราพร ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ได้ทราบถึงขันตอนและวิธีการประกอบอาหารจากปลาหมอไทยอย่างถูกวิธี 2. สามารถน้าไปท้ารับประทานในชีวิตประจ้าวันได้ 3. สามารถน้าไปเป็นแนวทางในการประกอบอาชีพได้ 4. เป็นการส่งเสริมให้รู้จักปลาหมอไทยมากขึน สถานที่ดาเนินการ สวนอาหารอุ้ยมี ที่อยู่: 83 หมู่ 9 ต.แม่แฝกใหม่ อ้าเภอ สันทราย เชียงใหม่ 50290 โทรศัพท์: 053 848 634 กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง การงานอาชีพและเทคโนโลยี แหล่งอ้างอิง http://pasusat.com/%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8% A1%E0%B8%AD/ https://www.youtube.com/watch?v=T0NMCQB-72w http://pasusat.com/%E0%B8%9B%E0%B8%A5%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%8 9%E0%B8%B2/