SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน โรคอ้วนและภาวะน้าหนักตัวเกิน
ชื่อผู้ท้าโครงงาน
นางสาว ญาสุมินทร์ อินโณวรรณ เลขที่ 21 ชั้น ม.6 ห้อง 5
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาด้าเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
ส้านักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดท้าข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาว ญาสุมินทร์ อินโณวรรณ เลขที่ 21
ค้าชีแจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
โรคอ้วนและภาวะน้้าหนักตัวเกิน
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Obesity and overweight
ประเภทโครงงาน โครงงาเพื่อนการศึกษา
ชื่อผู้ท้าโครงงาน นางสาว ญาสุมินทร์ อินโณวรรณ
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาด้าเนินงาน ภาคเรียนที่ 1
ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน
ในปัจจุบันนี้ผู้คนที่เป็นโรคอ้วนและภาวะน้้าหนักตัวเกินมีจ้านวนมากเกิน 50 % และในอนาคตอาจมีเพิ่มมาก
ขึ้นอีก จัดเป็นปัญหาทางสาธารณสุข เพราะประชากรทั่วโลก รวมทั้งในคนไทย มีปัญหาน้้าหนักตัวเกินและเป็นโรค
อ้วนเพิ่มขึ้นทุกปีอย่างต่อเนื่อง ซึ่งทั้งน้้าหนักตัวเกินและโรคอ้วน เป็นทั้งปัจจัยเสี่ยงและสาเหตุส้าคัญของโรคเรื้อรัง
ต่างๆ ที่เป็นปัญหาต่อสุขภาพ และเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูงมาก แต่อัตราเสียชีวิตก็ยังคงสูงต่อ สาเหตุของ
น้้าหนักตัวและโรคอ้วน ที่พบบ่อย คือ กินอาหารเกินความต้องการของร่าง กายทั้งประเภท (อาหารแป้ง ไขมันและ
อาหารใยอาหารต่้า) และปริมาณอาหาร ร่วมกับ ขาดการออกก้าลังกายที่เหมาะสม และขาดการเคลื่อนไหวร่างกาย
จากสภาพการท้างาน และจากการมีเครื่องอ้านวยความสะดวกต่างๆ รวมทั้งพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ไม่เคลื่อนไหว เช่น
ติดทีวี ติดเกมส์ หรือ ติดคอมพิวเตอร์ นอกจากนั้น ที่พบเป็นสาเหตุได้บ้างเป็นส่วนน้อย คือ จากความผิดปกติทาง
พันธุกรรมที่ท้าให้ร่างกายสะสมไขมันได้สูง โรคเกี่ยวกับฮอร์โมน การกินยาบางชนิดซึ่งมีผลข้าง เคียงกระตุ้นให้อยาก
อาหาร เช่น ยากันชัก หรือ ยารักษาโรคทางจิตเวช การผ่อนคลายความ เครียดด้วยการกิน คนท้องซึ่งกินมากในช่วง
ตั้งครรภ์ และเมื่อคลอดแล้วไม่สามารถลดน้้าหนักได้ ในผู้สูงอายุเพราะเคลื่อนไหวได้ช้า และมีโรคประจ้าตัวซึ่งเป็น
อุปสรรคต่อการเคลื่อนไหว การออกก้าลังกาย และมีบางการศึกษาพบว่าอาจเกิดจากการอดนอนเสมอ (นอนวันละ 5
ชั่ว โมงหรือน้อยกว่า) ทั้งนี้เพราะในขณะนอนหลับ ร่างกายจะสร้างฮอร์โมนเพื่อลดการอยากอาหาร(ฮอร์โมนเลปติน/
leptin) และฮอร์โมนเพื่อกระตุ้นการใช้พลังงานของร่างกาย (ฮอร์โมนอินซูลิน /insulin) จากเรื่องที่กล่าวมานี้ท้าให้
ผู้จัดท้าสนที่จะเลือกท้าเรื่อง โรคอ้วนเพื่อให้ได้ความรู้และประโยชน์ต่อไป
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการท้าโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อเป็นความรู้ให้ไม่เสี่ยงต่อโรคอ้วน
2. เพื่อป้องกันและยับยั้งการเกิดโรค
3. เพื่อที่จะได้รักษาและป้องกันให้ทันถ่วงที
4. เพื่อให้ได้ความรู้และดูแลตัวเอง
3
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจ้ากัดของการท้าโครงงาน)
สาเหตุ วิธีการรักษาและป้องกันการเกิดโรคอ้วน
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการท้าโครงงาน)
อันตรายโรคอ้วน!!
http://www.rajavithi.go.th/rj/?p=4110&lang=Th
โรคอ้วน ใน ที่นี้ หมายถึง ความอ้วนที่มากเกินไป มีน้้าหนักตัวมากกว่าที่ควรจะเป็น ไม่ใช่อ้วนก้าลังดี อ้วนพองามหรือ
ก้าลังสวย ค้าว่า อ้วน ตามความหมายของพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง มีเนื้อและไขมันมาก โต อวบ
ซึ่งเป็นความหมายที่ไม่น่าปรารถนาของคนทั่วๆ ไป
เกิดจากสาเหตุภายนอก
เป็นสาเหตุใหญ่ที่เกิดโรคอ้วน เพราะตามใจปากมากเกินไป กินมากเกินความต้องการของร่างกาย อาหารที่กิน เนื้อ
ไขมัน หรือแป้ง ของหวาน สิ่งเหล่านี้จะถูกเก็บสะสมไว้ในร่างกาย ถ้ามีมากเกินไปก็จะกลายเป็นไขมันพอกพูนตาม
ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ออกก้าลังกายน้อย กินแล้วนอน
 นิสัยในการรับประทาน คนที่มีนิสัยการรับประทานที่ไม่ดี เรียกว่า กินจุบกินจิบไม่เป็นเวลา
 ขาด การออกก้าลังกาย ถ้ารับประทานอาหารมากเกินกว่าที่ร่างกายต้องการ แต่ได้ออกก้าลังกายบ้างก็อาจท้า
ให้อ้วนช้าลง แต่หลายคนไม่ได้ยืดเส้นยืดสาย ไม่ช้าจะเกิดการสะสมเป็นไขมันในร่างกาย
มาจากสาเหตุภายใน
พบได้จากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ เช่น ต่อมใต้สมอง ต่อไทรอยด์ ท้าให้มีไขมันตามบริเวณต้นแขน ต้นขา และ
หน้าท้อง
 จิตใจและอารมณ์ มีคนเป็นจ้านวนไม่น้อยที่การกินอาหารขึ้นอยู่กับจิตใจและอารมณ์ เช่น กินดับความโกรธ
ดับความคับแค้นใจ กลุ้มใจ กังวลใจ หรือดีใจ บุคคลเหล่านี้ จะรู้สึกว่าอาหารที่ท้าให้จิตใจสงบ จึงหันมายึดเอา
อาหารไว้เป็นที่พึ่งทางใจ ตรงกันขามกับบางคนกลุ้มใจเสียใจก็กินไม่ได้ นอนไม่หลับ
 ความไม่สมดุลระหว่างความรู้สึกอิ่มกับความหิว เมื่อใดที่ความอยากเพิ่มขึ้น เมื่อนั้นการกินก็จะเพิ่มมากขึ้น
ซึ่งถึงขั้นเรียกว่า กินจุ ในที่สุดก็อ้วนเอาๆ
4
เพราะกรรมพันธุ์
ซึ่งพบได้น้อย กรรมพันธุ์นี้พิสูจน์ไม่ได้ แต่ถ้าพ่อและแม่อ้วนทั้งสองคน ลูกจะมีโอกาสอ้วนได้ถึงร้อยละ 80 ถ้าพ่อหรือ
แม่คนใดคนหนึ่งอ้วน ลูกมีโอกาสอ้วนได้ถึงร้อยละ 40
โรคประจ้าตัว เช่น เบาหวาน ความดันสูง
จากการกินยาบางชนิด
ก็ส่งผลกระทบให้อ้วน ผู้ป่วยบางโรคได้รับฮอร์โมนสเตียรอยด์เป็นเวลานาน ก็ท้าให้อ้วนได้ และในผู้หญิงที่ฉีดยาหรือ
กินยาคุมก้าเนิดก็ท้าให้อ้วนง่ายเช่นกัน
เพศ
เพศหญิงนั้นมักอ้วนกว่าเพศชาย ก็ธรรมชาติเธอมักสรรหาจะกิน กิน และกิน ตลอดเวลา อีกทั้งตอนตั้งครรภ์ ก็ต้องกิน
มากขึ้น เพื่อบ้ารุงร่างกายและลูกน้อยในครรภ์ แต่หลังจากคลอดลูกแล้ว บางรายก็ลดน้้าหนักลงมาได้ แต่บางรายก็ลด
ไม่ได้ ผู้หญิงท้างานน้อย ออกก้าลังน้อยกว่าชาย ผู้หญิงอ้วนมากกว่าผู้ชาย 4 : 1
อายุ
เมื่อมากขึ้น โอกาสโรคอ้วนถามหาก็ง่ายขึ้น เนื่องจากพออายุมาก มีความเชื่องช้า ใช้พลังงานน้อยลง กินมากกว่าใช้
หญิงและชายที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป มักจะอ้วนง่าย เพราะคนวัยนี้ ยังอยู่ในวัยท้างานมาก กินมากขึ้นเพื่อชดเชย
ก้าลังงานที่ถูกใช้ไป คนมีสุขภาพจิตดีมักมีรูปร่างสมส่วนแข็งแรง บางคนสุขภาพจิตไม่ดี อารมณ์เครียดเป็นประจ้า ท้า
ให้เกิดความท้อถอย เบื่อหน่าย ขี้เกียจออกก้าลัง โรคอ้วนก็จะถามหาได้นะคะ
ประเภทของความอ้วน
อ้วนแบบลูกแอปเปิ้ล (apple-shape obesity) หรือ อ้วนลงพุง (central obesity)
คือคนอ้วนที่มีรอบเอวใหญ่กว่ารอบสะโพก เกิดจากมีไขมันสะสมมากในช่องท้องและอวัยวะภายใน ไขมันที่อยู่ใน
อวัยวะภายในนี้จะเป็นตัวการที่ท้าให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคความดัน
โลหิตสูง
อ้วนแบบลูกแพร์ (pear-shape obesity) หรืออ้วนชนิดสะโพกใหญ่
ส่วนใหญ่เป็นลักษณะที่พบในเพศหญิง โดยจะมีไขมันสะสมอยู่มากบริเวณสะโพกและน่อง อ้วนลักษณะนี้ยากต่อการ
ลดน้้าหนัก แต่โอกาสที่จะเกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ จะน้อยกว่าชนิดแรก
อ้วนทั้งตัว (generalized obesity)
ได้แก่ คนอ้วนที่มีไขมันทั้งตัวมากกว่าปกติกระจายตัวอยู่ตามส่วนต่างๆ ของร่างกายโดยรอบ มีทั้งลงพุงและสะโพก
ใหญ่ รวมถึงมีโรคแทรกซ้อนทุกอย่างดังกล่าว และโรคที่เกิดจากน้้าหนักตัวมากโดยตรง เช่น โรคทางไขข้อ ปวดข้อ ข้อ
เสื่อม ปวดหลัง เหนื่อยง่าย หายใจล้าบากเพราะไขมันสะสม ท้าให้ระบบหายใจท้างานติดขัด
5
ผลกระทบที่เกิดจากโรคอ้วน
1.ท้าให้บุคลิกของตัวเองไม่น่าดู ขาดความมั่นใจในการเดินและท้ากิจกรรมต่างๆ
2.มีอาการปวดเข่าและท้าให้เดินไม่สะดวก
3.เกิดอาการไขมันในเส้นเลือดสูง
4.เกิดภาวะความดันโลหิตสูง และเสี่ยงท้าให้เกิดโรคแทรกซ้อนตามมาได้
5.มีโอกาสเป็นโรคหัวใจและโรคเบาหวาน
วิธีป้องกันและรักษาโรคความอ้วน
1.หมั่นออกก้าลังกายเป็นประจ้า เพราะการออกก้าลังกายจะช่วยในการลดการสะสมของพลังงานในร่างกายได้เป็น
อย่างดี
2.เมื่อเริ่มรู้สึกว่าน้้าหนักเพิ่มมากจนเกินไป ควรรีบเข้าพบแพทย์เพื่อท้าการตรวจวินิจฉัยโรคต่อไป
3.ควรลดอาหารที่มีพลังงานสูง และงดอาหารจ้าพวกมีความมัน ผัด ทอด และหวาน
4.ควรจ้ากัดปริมาณการทานอาหารในแต่ละครั้ง เพื่อเป็นการควบคุมอาหารให้แก่ร่างกายได้มีน้้าหนักที่อยู่ในระดับ
ปกติ
5.ใส่ใจและหมั่นดูแลสุขภาพอย่างสม่้าเสมอ ไม่ควรปล่อยปละละเลยด้วยการคิดอยากทานอะไรก็ทาน จนไม่ค้านึงถึง
ผลเสียที่จะตามมา
http://women.sanook.com/blog/69451/
การวัดความอ้วนด้วยสูตรดัชนีมวลกาย
1.ส้าหรับผู้หญิง ให้เอาความสูงลบด้วย 110 ค่าที่ได้คือน้้าหนักที่ร่างกายควรมี
2.ส้าหรับผู้ชาย ให้เอาความสูงลบด้วย 100 ค่าที่ได้คือน้้าหนักที่ร่างกายควรมี
6
อาการของภาวะอ้วน
ผู้ที่มีภาวะอ้วน คือ ผู้ที่มีไขมันส่วนเกินสะสมอยู่ในร่างกายปริมาณมาก ท้าให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ คือ หายใจ
ติดขัด นอนกรน เหนื่อยง่าย ร้อนง่าย เหงื่อออกง่าย ท้ากิจกรรมต่าง ๆ ได้ยากล้าบาก จนอาจท้าให้เกิดปัญหาสุขภาพ
อื่น ๆ รวมถึงความไม่มั่นใจในตนเอง อาจท้าให้มีปัญหาด้านความสัมพันธ์หรือการเข้าสังคม และปัญหาสุขภาพจิต
อย่างภาวะซึมเศร้าที่อาจเกิดขึ้นตามมา
การวินิจฉัยภาวะอ้วน
การตรวจหาภาวะอ้วนท้าได้ด้วยการหาค่า BMI และการตรวจวัดรอบเอว
เมื่อไปพบแพทย์ แพทย์จะตรวจร่างกาย ซักประวัติสุขภาพ การใช้ชีวิตประจ้าวัน การบริโภคอาหารและเครื่องดื่ม การ
สูบบุหรี่ การดื่มสุรา การใช้สารเสพติด การท้ากิจกรรมต่าง ๆ ประวัติสุขภาพของครอบครัว ความรู้สึกที่มีต่อภาวะ
อ้วน และปัญหาที่ก้าลังเผชิญจากภาวะอ้วน
ส่วนการตรวจเพิ่มเติมเมื่อทราบว่าผู้ป่วยก้าลังเผชิญกับภาวะอ้วน ได้แก่ การตรวจวัดความดันโลหิต การตรวจหา
ระดับน้้าตาลและไขมันในเลือด เพื่อให้ทราบผลความผิดปกติแล้วน้าไปสู่การวางแผนรักษาต่อไป
การรักษาภาวะอ้วน
http://www.natureshop.in.th
เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะอ้วนมีน้้าหนักอยู่ในเกณฑ์ปกติ มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง และมีสุขภาพจิตที่ดี สามารถท้าได้
โดยการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง ควบคุมอาหารและพฤติกรรมการบริโภค ออกก้าลังกายอย่างเหมาะสมสม่้าเสมอ
ส่วนการรักษาทางการแพทย์ แพทย์จะพิจารณาเป็นกรณี อาจมีบางรายที่ควรรับประทานยาลดน้้าหนักภายใต้ใบสั่ง
แพทย์ควบคู่กับการดูแลตนเอง หรือบางราย แพทย์อาจต้องท้าการผ่าตัดเพื่อช่วยเหลือให้ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น ก่อนจะ
รักษาในขั้นต่อ ๆ ไป
ภาวะแทรกซ้อนของภาวะอ้วน
เมื่อเผชิญกับภาวะอ้วน ท้าให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคและอาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ไปจนถึงโรคและ
อาการที่ร้ายแรงที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง มีปัญหาในระบบทางเดินหายใจ ประจ้าเดือน
มาไม่ปกติ เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ภาวะมีลูกยาก หอบหืด ปวดตามกระดูกข้อต่อ ปวดหลัง ข้อเสื่อม มีนิ่วในถุง
น้้าดี โรคเบาหวาน โรคตับ โรคไต โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมองตีบตัน และโรคมะเร็งต่าง ๆ
ส่วนปัญหาสุขภาพจิตที่กระทบต่อการใช้ชีวิตซึ่งอาจเกิดขึ้นตามมา ได้แก่ การขาดความมั่นใจในตนเอง ความรู้สึกโดด
เดี่ยว เก็บตัว แยกตัว น้าไปสู่ปัญหาด้านความสัมพันธ์ การเข้าสังคม การเรียน การท้างาน หรืออาจเกิดภาวะซึมเศร้า
ได้
7
การผ่าตัดลดความอ้วน
วิธีที่ 1 การลดความอ้วนด้วยวิธีการใส่บอลลูนในกระเพาะอาหาร(Gastric balloon) ส้าหรับใครที่อยากจะลดน้้าหนัก
ลดความอ้วน หรือควบคุมน้้าหนักแต่ยังตามใจปากอยู่ ควบคุมอาหารไม่ได้และไม่อยากผ่าตัด ปัญหานี้จะหมดไปด้วย
นวัตกรรมใหม่แห่งการลดความอ้วนได้แก่ การลดความอ้วนด้วยวิธีการใส่บอลลูนในกระเพาะอาหาร ซึ่งตัวบอลลูนที่ใส่
ลงในกระเพาะอาหารจะท้าให้รู้สึกอิ่มตลอดเวลาและจะท้าให้รับประทานอาหารได้ลดน้อยลงกว่าเดิม มี
ภาวะแทรกซ้อนน้อยโดยเฉลี่ยสามารถลดน้้าหนักได้ถึง 24 กิโลกรัม ภายใน 1 ปี วิธีนี้มีมานานแล้วและเป็นที่ยอมรับ
ในต่างประเทศ
ข้อดี
• ไม่ต้องผ่าตัด
• เป็นหัตถการที่มีความเสี่ยงน้อย
• ไม่ต้องนอนพักในโรงพยาบาลหลังท้าสามารถกลับไปพักที่บ้านได้
• สามารถท้าซ้้าได้อีกถ้าน้้าหนักกลับมาเพิ่มอีกครั้งหลังจากที่ท้าครั้งแรก
• สามารถเพิ่มขนาดของบอลลูนได้ถ้าผู้ป่วยต้องการ
• สามารถลดน้้าหนักได้โดยเฉลี่ย 24 กิโลกรัม/ปี
ความเสี่ยง
• การเกิดแผลในกระเพาะอาหาร (ulcer ‹1%)
• คลื่นไส้ อาเจียน อาการไม่สุขสบายท้องหลังจากใส่บอลลูน (โดยส่วนใหญ่)
• มีภาวะเลือดออกในกระเพาะอาหาร (Bleeding‹1%)
• การเกิดภาวะอุดตันในกระเพาะอาหาร (obstruction‹1%)
• ผนังกระเพาะอาหารทะลุ (Perforation‹1%)
วิธีที่ 2 การผ่าตัดลดขนาดของกระเพาะลง (Sleeve Gastrectomy) โดยตัดกระเพาะออกไปประมาณ
85% ท้าให้ทานอาหารได้น้อยลงเพราะตัดกระเพาะส่วนที่ผลิต Hormone ที่ท้าให้เกิดการหิว
ออกไป เป็นการผ่าตัดที่เป็นที่นิยมมากในขณะนี้ เพราะไม่ต้องตัดต่อกับล้าไส้เล็กและผู้ป่วยจะไม่เป็น
โรคขาดสารอาหารจากการ ผ่าตัดนี้ ผู้ป่วยจะสามารถลดน้้าหนักได้ถึง 40-60 % ของน้้าหนักเดิมในปี
แรกหลังผ่าตัด และเป็นการรักษาโรคข้างเคียง เช่น เบาหวาน ไขมัน ความดันไปในตัวด้วย ไม่มีข้อจ้ากัด
เด็กอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไปก็สามารถผ่าตัดด้วยวิธีนี้ได้
8
วิธีที่ 3 การผ่าตัดลดความอ้วนแบบใช้เข็มขัดรัดกระเพาะอาหาร (Gastric Banding) โดยใช้วิธีการเจาะ
แผลเล็กๆที่หน้าท้อง ใช้อุปกรณ์ลักษณะคล้ายเข็ดขัดสอดเข้าไปรัดกระเพาะอาหารตอนบน ท้าให้
กระเพาะอาหารมีขนาดเล็กลง รู้สึกอิ่มเร็วขึ้น เป็นวิธีการผ่าตัดที่ได้ผลดี เมื่อน้้าหนักตัวคงที่ สามารถ
กลับมาแก้ไขน้าสายรัดกระเพาะออกได้ในภายหลัง
Adjustable gastric banding (AGB) หรือ gastric Banding
คือการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร โดยใช้ที่รัดกระเพาะ ที่ปรับเปลี่ยนขนาดกระเพาะ ได้ตามความ
ต้องการ เครื่องนี้ออกแบบมาเพื่อใช้กับวิธีผ่าตัดส่องกล้อง ท้าด้วยซิลิโคนที่มีส่วนประกอบ 3 ส่วน คือ
ส่วนที่ 1 อุปกรณ์คล้ายเข็มขัดนี้ จะถูกรัด เข้ากับส่วนต้นของกระเพาะอาหาร, ส่วนที่ 2 เป็นสายยาง ซึ่ง
เป็นท่อติดต่อ ระหว่างส่วนที่ 1 กับส่วนที่ 3, ส้าหรับส่วนที่ 3 เป็นกระเปาะสามารถ ปรับได้โดยใช้เข็ม
แทงเพื่อดูดน้้าเกลือ ออกจากภายนอกเพื่อปรับให้เข็มขัด(ส่วนที่ 1)โป่งหรือแฟบ ส่วนนี้ใช้วางอยู่ใต้
ผิวหนังหน้าท้อง
วิธีที่ 4 การผ่าตัดลดความอ้วนแบบตัดต่อกระเพาะอาหารและล้าไส้เล็ก (Gastric Bypass) ด้วยวิธีการ
ส่องกล้องเข้าไปตัดเย็บ
Roux-en-Y gastric bypass (RYGB) หรือ Gastric Bypassใช้ตลับลวดแบ่งกระเพาะอาหารเป็น 2
ส่วน กระเปาะกระเพาะใหม่จะมีขนาดเล็กท้าให้รับอาหารได้ไม่มาก จาก นั้น ศัลยแพทย์จะเอาล้าไส้เล็ก
ลัดคิวหรืออ้อมผ่าน (bypass) โดยมาต่อเข้า กับกระเปาะกระเพาะ อาหาร ที่มี ขนาดเล็กดังกล่าว ท้าให้
อาหารไม่ผ่านกระเพาะอาหารกระเปาะใหญ่ ผลก็คืออาหาร และแคลอรีจะดูด ซึม เข้าสู่ร่างกายลดลง
ข้อดี ของการผ่าตัดเพื่อการลดน้้าหนักโดยการใช้กล้องนี้ คือ บาดแผลเล็ก เเผลมีการติดเชื้อ น้อย
มีความเจ็บปวดน้อยกว่าเมื่อเทียบกับการผ่าตัดแบบเปิด ผู้ป่วยฟื้นตัวเร็วภายใน 2 -3 วันเท่านั้น เเละ
สามารถกลับไปด้าเนินชีวิตประจ้าวันได้ในระยะเวลาอันสั้น
ขั้นตอนการผ่าตัด
การผ่าตัดนี้เป็นการผ่าตัดผ่านกล้อง (laparoscopic technique) โดยเย็บส่วนของกระเพาะอาหารให้มีขนาด
ประมาณ 15-30 มิลลิลิตร จากนั้นจึงน้ามาต่อเข้ากับล้าไส้เล็ก ด้วยวิธีการผ่าตัดนี้ผู้ป่วยจะมีรอยแผลผ่าเล็กๆ ที่หน้า
ท้อง 5 รอย ขนาดของแผลประมาณ 0.5-2 เซนติเมตร และจะมีอาการเจ็บแผลเพียงเล็กน้อยเท่านั้น
แนวทางการรับประทานอาหาร
1. รับประทานอาหาร 3 มื้อต่อวัน และจ้ากัดอาหารว่างที่ไม่จ้าเป็นระหว่างมื้อ
การลดน้้าหนักจะประสบความส้าเร็จหรือไม่ ขึ้นอยู่กับสิ่งที่คุณรับประทาน อาหารว่างที่ไม่มีประโยชน์ระหว่างมื้อ
(เช่น ขนมกรุบกรอบ ขนมอบต่างๆ ฯลฯ) หรือการรับประทานบ่อยครั้ง จะท้าให้การลดน้้าหนักไม่ประสบความส้าเร็จ
และท้าให้น้้าหนักเพิ่มขึ้นเนื่องจากได้รับปริมาณแคลอรี่มากเกินความจ้าเป็น
9
2. รับประทานอาหารช้าๆและเคี้ยวให้ละเอียดเหลว
การเคี้ยวอาหารไม่ละเอียดจะท้าให้ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน และระคายเคืองกระเพาะอาหารได้ การเคี้ยวให้ละเอียด
เป็นเรื่องส้าคัญมาก ต้องละเอียดจนเหลวเท่านั้น และควรตัดอาหารให้เป็นชิ้นเล็กๆก่อนรับประทาน หรืออาจจะหยุด
พัก 1 นาทีก่อนรับประทานค้าต่อไป และควรใช้เวลาอย่างน้อย 30 นาทีในการรับประทานอาหารต่อมื้อ
3. หลีกเลี่ยงการรับประทานน้้าตาล
ไม่ควรรับประทานอาหารที่มีน้้าตาลปรากฏเป็นส่วนประกอบ 3 อันดับแรกบนฉลาก จ้านวนกรัมที่ระบุบนฉลาก
นั้นระบุว่าเป็นน้้าตาลตามธรรมชาติหรือน้้าตาลที่เติม เข้าไป ดังนั้น การอ่านฉลากอาหารเป็นเรื่องจ้าเป็น ท้าให้ทราบ
ว่า น้้าตาลในอาหารชนิดนั้นเป็นน้้าตาลแบบใด และ ควรจ้ากัดปริมาณน้้าตาลให้เหลือเพียง 15 กรัม หรือน้อยกว่านั้น
ต่อการรับประทานหนึ่งมื้อ เพื่อช่วยควบคุมแคลอรี่ในอาหาร
วิธีด้าเนินงาน
แนวทางการด้าเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
10
ขันตอนและแผนด้าเนินงาน
ล้าดับ
ที่
ขันตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9
1
0
1
1
12
1
3
1
4
1
5
16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดท้าโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การท้าเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 น้าเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการท้าโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ด้าเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่น้ามาใช้การท้าโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot (10)

Comdaniel
ComdanielComdaniel
Comdaniel
 
2562 final-project 12-matave
2562 final-project 12-matave2562 final-project 12-matave
2562 final-project 12-matave
 
2562 final-project -warun
2562 final-project -warun2562 final-project -warun
2562 final-project -warun
 
Obesity
ObesityObesity
Obesity
 
2562 final-project -warun (1)
2562 final-project -warun (1)2562 final-project -warun (1)
2562 final-project -warun (1)
 
Work1
Work1Work1
Work1
 
Obesity
ObesityObesity
Obesity
 
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
 
งานคอม
งานคอมงานคอม
งานคอม
 
2560 project 9,22
2560 project 9,222560 project 9,22
2560 project 9,22
 

Similar to 2560 project

โครงร่าง1
โครงร่าง1โครงร่าง1
โครงร่าง1qnlivyatan
 
2562 final-project 40
2562 final-project 402562 final-project 40
2562 final-project 40ssuserceb50d
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาBream Mie
 
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาโครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาnammint
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Phimwaree
 
Trick how to lose weight, make the body perfectly beautiful
Trick how to lose weight, make the body perfectly beautifulTrick how to lose weight, make the body perfectly beautiful
Trick how to lose weight, make the body perfectly beautifulpattarapornboonsom
 
โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2nampingtcn
 
2560 project 602
2560  project 6022560  project 602
2560 project 602opor kwn
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610Pichnaree Suta
 
2562 final-project 16-pimolpa
2562 final-project 16-pimolpa2562 final-project 16-pimolpa
2562 final-project 16-pimolpaLomipNekcihc
 
Bubble milk tea
Bubble milk teaBubble milk tea
Bubble milk teayyokky
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer projectMaryW6
 
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37KamontipKumjen
 

Similar to 2560 project (20)

โครงร่าง1
โครงร่าง1โครงร่าง1
โครงร่าง1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2562 final-project 40
2562 final-project 402562 final-project 40
2562 final-project 40
 
โครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษาโครงงานเพื่อการศึกษา
โครงงานเพื่อการศึกษา
 
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษาโครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
โครงงานสื่อการสอนวิชาสุขศึกษา
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Trick how to lose weight, make the body perfectly beautiful
Trick how to lose weight, make the body perfectly beautifulTrick how to lose weight, make the body perfectly beautiful
Trick how to lose weight, make the body perfectly beautiful
 
2562 final-project 03
2562 final-project 032562 final-project 03
2562 final-project 03
 
โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2โครงงานคอมเทอม2
โครงงานคอมเทอม2
 
2560 project 602
2560  project 6022560  project 602
2560 project 602
 
2562 final-project 34-610
2562 final-project  34-6102562 final-project  34-610
2562 final-project 34-610
 
Isstrain
IsstrainIsstrain
Isstrain
 
2562 final-project 16-pimolpa
2562 final-project 16-pimolpa2562 final-project 16-pimolpa
2562 final-project 16-pimolpa
 
Work1.1
Work1.1Work1.1
Work1.1
 
Bubble milk tea
Bubble milk teaBubble milk tea
Bubble milk tea
 
Daniellll
DaniellllDaniellll
Daniellll
 
Computer project
Computer projectComputer project
Computer project
 
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37Tuangtham Sura M.6/9 No.37
Tuangtham Sura M.6/9 No.37
 
Hyper36
Hyper36Hyper36
Hyper36
 

More from Nichaphat Sanguthai

ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Nichaphat Sanguthai
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมNichaphat Sanguthai
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังNichaphat Sanguthai
 
2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็มNichaphat Sanguthai
 
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvkNichaphat Sanguthai
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง Nichaphat Sanguthai
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองNichaphat Sanguthai
 
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6Nichaphat Sanguthai
 
แบบสำรวจตัวเอง
แบบสำรวจตัวเองแบบสำรวจตัวเอง
แบบสำรวจตัวเองNichaphat Sanguthai
 

More from Nichaphat Sanguthai (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
ปลาตีน
ปลาตีนปลาตีน
ปลาตีน
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการัง
 
Yoga
YogaYoga
Yoga
 
2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
04 017 p51
04 017 p5104 017 p51
04 017 p51
 
Book20110408103212
Book20110408103212Book20110408103212
Book20110408103212
 
Kc4104041
Kc4104041Kc4104041
Kc4104041
 
24
2424
24
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง
 
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
 
Thanakritsomrit
ThanakritsomritThanakritsomrit
Thanakritsomrit
 
แบบสำรวจตัวเอง
แบบสำรวจตัวเองแบบสำรวจตัวเอง
แบบสำรวจตัวเอง
 

2560 project

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน โรคอ้วนและภาวะน้าหนักตัวเกิน ชื่อผู้ท้าโครงงาน นางสาว ญาสุมินทร์ อินโณวรรณ เลขที่ 21 ชั้น ม.6 ห้อง 5 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาด้าเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ ส้านักงานเขตพืนที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดท้าข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1. นางสาว ญาสุมินทร์ อินโณวรรณ เลขที่ 21 ค้าชีแจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) โรคอ้วนและภาวะน้้าหนักตัวเกิน ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Obesity and overweight ประเภทโครงงาน โครงงาเพื่อนการศึกษา ชื่อผู้ท้าโครงงาน นางสาว ญาสุมินทร์ อินโณวรรณ ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาด้าเนินงาน ภาคเรียนที่ 1 ที่มาและความส้าคัญของโครงงาน ในปัจจุบันนี้ผู้คนที่เป็นโรคอ้วนและภาวะน้้าหนักตัวเกินมีจ้านวนมากเกิน 50 % และในอนาคตอาจมีเพิ่มมาก ขึ้นอีก จัดเป็นปัญหาทางสาธารณสุข เพราะประชากรทั่วโลก รวมทั้งในคนไทย มีปัญหาน้้าหนักตัวเกินและเป็นโรค อ้วนเพิ่มขึ้นทุกปีอย่างต่อเนื่อง ซึ่งทั้งน้้าหนักตัวเกินและโรคอ้วน เป็นทั้งปัจจัยเสี่ยงและสาเหตุส้าคัญของโรคเรื้อรัง ต่างๆ ที่เป็นปัญหาต่อสุขภาพ และเสียค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลสูงมาก แต่อัตราเสียชีวิตก็ยังคงสูงต่อ สาเหตุของ น้้าหนักตัวและโรคอ้วน ที่พบบ่อย คือ กินอาหารเกินความต้องการของร่าง กายทั้งประเภท (อาหารแป้ง ไขมันและ อาหารใยอาหารต่้า) และปริมาณอาหาร ร่วมกับ ขาดการออกก้าลังกายที่เหมาะสม และขาดการเคลื่อนไหวร่างกาย จากสภาพการท้างาน และจากการมีเครื่องอ้านวยความสะดวกต่างๆ รวมทั้งพฤติกรรมการใช้ชีวิตที่ไม่เคลื่อนไหว เช่น ติดทีวี ติดเกมส์ หรือ ติดคอมพิวเตอร์ นอกจากนั้น ที่พบเป็นสาเหตุได้บ้างเป็นส่วนน้อย คือ จากความผิดปกติทาง พันธุกรรมที่ท้าให้ร่างกายสะสมไขมันได้สูง โรคเกี่ยวกับฮอร์โมน การกินยาบางชนิดซึ่งมีผลข้าง เคียงกระตุ้นให้อยาก อาหาร เช่น ยากันชัก หรือ ยารักษาโรคทางจิตเวช การผ่อนคลายความ เครียดด้วยการกิน คนท้องซึ่งกินมากในช่วง ตั้งครรภ์ และเมื่อคลอดแล้วไม่สามารถลดน้้าหนักได้ ในผู้สูงอายุเพราะเคลื่อนไหวได้ช้า และมีโรคประจ้าตัวซึ่งเป็น อุปสรรคต่อการเคลื่อนไหว การออกก้าลังกาย และมีบางการศึกษาพบว่าอาจเกิดจากการอดนอนเสมอ (นอนวันละ 5 ชั่ว โมงหรือน้อยกว่า) ทั้งนี้เพราะในขณะนอนหลับ ร่างกายจะสร้างฮอร์โมนเพื่อลดการอยากอาหาร(ฮอร์โมนเลปติน/ leptin) และฮอร์โมนเพื่อกระตุ้นการใช้พลังงานของร่างกาย (ฮอร์โมนอินซูลิน /insulin) จากเรื่องที่กล่าวมานี้ท้าให้ ผู้จัดท้าสนที่จะเลือกท้าเรื่อง โรคอ้วนเพื่อให้ได้ความรู้และประโยชน์ต่อไป วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการท้าโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อเป็นความรู้ให้ไม่เสี่ยงต่อโรคอ้วน 2. เพื่อป้องกันและยับยั้งการเกิดโรค 3. เพื่อที่จะได้รักษาและป้องกันให้ทันถ่วงที 4. เพื่อให้ได้ความรู้และดูแลตัวเอง
  • 3. 3 ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจ้ากัดของการท้าโครงงาน) สาเหตุ วิธีการรักษาและป้องกันการเกิดโรคอ้วน หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการท้าโครงงาน) อันตรายโรคอ้วน!! http://www.rajavithi.go.th/rj/?p=4110&lang=Th โรคอ้วน ใน ที่นี้ หมายถึง ความอ้วนที่มากเกินไป มีน้้าหนักตัวมากกว่าที่ควรจะเป็น ไม่ใช่อ้วนก้าลังดี อ้วนพองามหรือ ก้าลังสวย ค้าว่า อ้วน ตามความหมายของพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน หมายถึง มีเนื้อและไขมันมาก โต อวบ ซึ่งเป็นความหมายที่ไม่น่าปรารถนาของคนทั่วๆ ไป เกิดจากสาเหตุภายนอก เป็นสาเหตุใหญ่ที่เกิดโรคอ้วน เพราะตามใจปากมากเกินไป กินมากเกินความต้องการของร่างกาย อาหารที่กิน เนื้อ ไขมัน หรือแป้ง ของหวาน สิ่งเหล่านี้จะถูกเก็บสะสมไว้ในร่างกาย ถ้ามีมากเกินไปก็จะกลายเป็นไขมันพอกพูนตาม ส่วนต่างๆ ของร่างกาย ออกก้าลังกายน้อย กินแล้วนอน  นิสัยในการรับประทาน คนที่มีนิสัยการรับประทานที่ไม่ดี เรียกว่า กินจุบกินจิบไม่เป็นเวลา  ขาด การออกก้าลังกาย ถ้ารับประทานอาหารมากเกินกว่าที่ร่างกายต้องการ แต่ได้ออกก้าลังกายบ้างก็อาจท้า ให้อ้วนช้าลง แต่หลายคนไม่ได้ยืดเส้นยืดสาย ไม่ช้าจะเกิดการสะสมเป็นไขมันในร่างกาย มาจากสาเหตุภายใน พบได้จากความผิดปกติของต่อมไร้ท่อ เช่น ต่อมใต้สมอง ต่อไทรอยด์ ท้าให้มีไขมันตามบริเวณต้นแขน ต้นขา และ หน้าท้อง  จิตใจและอารมณ์ มีคนเป็นจ้านวนไม่น้อยที่การกินอาหารขึ้นอยู่กับจิตใจและอารมณ์ เช่น กินดับความโกรธ ดับความคับแค้นใจ กลุ้มใจ กังวลใจ หรือดีใจ บุคคลเหล่านี้ จะรู้สึกว่าอาหารที่ท้าให้จิตใจสงบ จึงหันมายึดเอา อาหารไว้เป็นที่พึ่งทางใจ ตรงกันขามกับบางคนกลุ้มใจเสียใจก็กินไม่ได้ นอนไม่หลับ  ความไม่สมดุลระหว่างความรู้สึกอิ่มกับความหิว เมื่อใดที่ความอยากเพิ่มขึ้น เมื่อนั้นการกินก็จะเพิ่มมากขึ้น ซึ่งถึงขั้นเรียกว่า กินจุ ในที่สุดก็อ้วนเอาๆ
  • 4. 4 เพราะกรรมพันธุ์ ซึ่งพบได้น้อย กรรมพันธุ์นี้พิสูจน์ไม่ได้ แต่ถ้าพ่อและแม่อ้วนทั้งสองคน ลูกจะมีโอกาสอ้วนได้ถึงร้อยละ 80 ถ้าพ่อหรือ แม่คนใดคนหนึ่งอ้วน ลูกมีโอกาสอ้วนได้ถึงร้อยละ 40 โรคประจ้าตัว เช่น เบาหวาน ความดันสูง จากการกินยาบางชนิด ก็ส่งผลกระทบให้อ้วน ผู้ป่วยบางโรคได้รับฮอร์โมนสเตียรอยด์เป็นเวลานาน ก็ท้าให้อ้วนได้ และในผู้หญิงที่ฉีดยาหรือ กินยาคุมก้าเนิดก็ท้าให้อ้วนง่ายเช่นกัน เพศ เพศหญิงนั้นมักอ้วนกว่าเพศชาย ก็ธรรมชาติเธอมักสรรหาจะกิน กิน และกิน ตลอดเวลา อีกทั้งตอนตั้งครรภ์ ก็ต้องกิน มากขึ้น เพื่อบ้ารุงร่างกายและลูกน้อยในครรภ์ แต่หลังจากคลอดลูกแล้ว บางรายก็ลดน้้าหนักลงมาได้ แต่บางรายก็ลด ไม่ได้ ผู้หญิงท้างานน้อย ออกก้าลังน้อยกว่าชาย ผู้หญิงอ้วนมากกว่าผู้ชาย 4 : 1 อายุ เมื่อมากขึ้น โอกาสโรคอ้วนถามหาก็ง่ายขึ้น เนื่องจากพออายุมาก มีความเชื่องช้า ใช้พลังงานน้อยลง กินมากกว่าใช้ หญิงและชายที่มีอายุตั้งแต่ 35 ปีขึ้นไป มักจะอ้วนง่าย เพราะคนวัยนี้ ยังอยู่ในวัยท้างานมาก กินมากขึ้นเพื่อชดเชย ก้าลังงานที่ถูกใช้ไป คนมีสุขภาพจิตดีมักมีรูปร่างสมส่วนแข็งแรง บางคนสุขภาพจิตไม่ดี อารมณ์เครียดเป็นประจ้า ท้า ให้เกิดความท้อถอย เบื่อหน่าย ขี้เกียจออกก้าลัง โรคอ้วนก็จะถามหาได้นะคะ ประเภทของความอ้วน อ้วนแบบลูกแอปเปิ้ล (apple-shape obesity) หรือ อ้วนลงพุง (central obesity) คือคนอ้วนที่มีรอบเอวใหญ่กว่ารอบสะโพก เกิดจากมีไขมันสะสมมากในช่องท้องและอวัยวะภายใน ไขมันที่อยู่ใน อวัยวะภายในนี้จะเป็นตัวการที่ท้าให้เกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ เช่น โรคเบาหวาน โรคหลอดเลือดหัวใจตีบ โรคความดัน โลหิตสูง อ้วนแบบลูกแพร์ (pear-shape obesity) หรืออ้วนชนิดสะโพกใหญ่ ส่วนใหญ่เป็นลักษณะที่พบในเพศหญิง โดยจะมีไขมันสะสมอยู่มากบริเวณสะโพกและน่อง อ้วนลักษณะนี้ยากต่อการ ลดน้้าหนัก แต่โอกาสที่จะเกิดโรคแทรกซ้อนต่างๆ จะน้อยกว่าชนิดแรก อ้วนทั้งตัว (generalized obesity) ได้แก่ คนอ้วนที่มีไขมันทั้งตัวมากกว่าปกติกระจายตัวอยู่ตามส่วนต่างๆ ของร่างกายโดยรอบ มีทั้งลงพุงและสะโพก ใหญ่ รวมถึงมีโรคแทรกซ้อนทุกอย่างดังกล่าว และโรคที่เกิดจากน้้าหนักตัวมากโดยตรง เช่น โรคทางไขข้อ ปวดข้อ ข้อ เสื่อม ปวดหลัง เหนื่อยง่าย หายใจล้าบากเพราะไขมันสะสม ท้าให้ระบบหายใจท้างานติดขัด
  • 5. 5 ผลกระทบที่เกิดจากโรคอ้วน 1.ท้าให้บุคลิกของตัวเองไม่น่าดู ขาดความมั่นใจในการเดินและท้ากิจกรรมต่างๆ 2.มีอาการปวดเข่าและท้าให้เดินไม่สะดวก 3.เกิดอาการไขมันในเส้นเลือดสูง 4.เกิดภาวะความดันโลหิตสูง และเสี่ยงท้าให้เกิดโรคแทรกซ้อนตามมาได้ 5.มีโอกาสเป็นโรคหัวใจและโรคเบาหวาน วิธีป้องกันและรักษาโรคความอ้วน 1.หมั่นออกก้าลังกายเป็นประจ้า เพราะการออกก้าลังกายจะช่วยในการลดการสะสมของพลังงานในร่างกายได้เป็น อย่างดี 2.เมื่อเริ่มรู้สึกว่าน้้าหนักเพิ่มมากจนเกินไป ควรรีบเข้าพบแพทย์เพื่อท้าการตรวจวินิจฉัยโรคต่อไป 3.ควรลดอาหารที่มีพลังงานสูง และงดอาหารจ้าพวกมีความมัน ผัด ทอด และหวาน 4.ควรจ้ากัดปริมาณการทานอาหารในแต่ละครั้ง เพื่อเป็นการควบคุมอาหารให้แก่ร่างกายได้มีน้้าหนักที่อยู่ในระดับ ปกติ 5.ใส่ใจและหมั่นดูแลสุขภาพอย่างสม่้าเสมอ ไม่ควรปล่อยปละละเลยด้วยการคิดอยากทานอะไรก็ทาน จนไม่ค้านึงถึง ผลเสียที่จะตามมา http://women.sanook.com/blog/69451/ การวัดความอ้วนด้วยสูตรดัชนีมวลกาย 1.ส้าหรับผู้หญิง ให้เอาความสูงลบด้วย 110 ค่าที่ได้คือน้้าหนักที่ร่างกายควรมี 2.ส้าหรับผู้ชาย ให้เอาความสูงลบด้วย 100 ค่าที่ได้คือน้้าหนักที่ร่างกายควรมี
  • 6. 6 อาการของภาวะอ้วน ผู้ที่มีภาวะอ้วน คือ ผู้ที่มีไขมันส่วนเกินสะสมอยู่ในร่างกายปริมาณมาก ท้าให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ คือ หายใจ ติดขัด นอนกรน เหนื่อยง่าย ร้อนง่าย เหงื่อออกง่าย ท้ากิจกรรมต่าง ๆ ได้ยากล้าบาก จนอาจท้าให้เกิดปัญหาสุขภาพ อื่น ๆ รวมถึงความไม่มั่นใจในตนเอง อาจท้าให้มีปัญหาด้านความสัมพันธ์หรือการเข้าสังคม และปัญหาสุขภาพจิต อย่างภาวะซึมเศร้าที่อาจเกิดขึ้นตามมา การวินิจฉัยภาวะอ้วน การตรวจหาภาวะอ้วนท้าได้ด้วยการหาค่า BMI และการตรวจวัดรอบเอว เมื่อไปพบแพทย์ แพทย์จะตรวจร่างกาย ซักประวัติสุขภาพ การใช้ชีวิตประจ้าวัน การบริโภคอาหารและเครื่องดื่ม การ สูบบุหรี่ การดื่มสุรา การใช้สารเสพติด การท้ากิจกรรมต่าง ๆ ประวัติสุขภาพของครอบครัว ความรู้สึกที่มีต่อภาวะ อ้วน และปัญหาที่ก้าลังเผชิญจากภาวะอ้วน ส่วนการตรวจเพิ่มเติมเมื่อทราบว่าผู้ป่วยก้าลังเผชิญกับภาวะอ้วน ได้แก่ การตรวจวัดความดันโลหิต การตรวจหา ระดับน้้าตาลและไขมันในเลือด เพื่อให้ทราบผลความผิดปกติแล้วน้าไปสู่การวางแผนรักษาต่อไป การรักษาภาวะอ้วน http://www.natureshop.in.th เพื่อให้ผู้ป่วยที่มีภาวะอ้วนมีน้้าหนักอยู่ในเกณฑ์ปกติ มีสุขภาพร่างกายที่แข็งแรง และมีสุขภาพจิตที่ดี สามารถท้าได้ โดยการดูแลสุขภาพด้วยตนเอง ควบคุมอาหารและพฤติกรรมการบริโภค ออกก้าลังกายอย่างเหมาะสมสม่้าเสมอ ส่วนการรักษาทางการแพทย์ แพทย์จะพิจารณาเป็นกรณี อาจมีบางรายที่ควรรับประทานยาลดน้้าหนักภายใต้ใบสั่ง แพทย์ควบคู่กับการดูแลตนเอง หรือบางราย แพทย์อาจต้องท้าการผ่าตัดเพื่อช่วยเหลือให้ผู้ป่วยมีอาการดีขึ้น ก่อนจะ รักษาในขั้นต่อ ๆ ไป ภาวะแทรกซ้อนของภาวะอ้วน เมื่อเผชิญกับภาวะอ้วน ท้าให้เพิ่มความเสี่ยงต่อการป่วยด้วยโรคและอาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง ไปจนถึงโรคและ อาการที่ร้ายแรงที่อาจเกิดขึ้นได้ เช่น ความดันโลหิตสูง ไขมันในเลือดสูง มีปัญหาในระบบทางเดินหายใจ ประจ้าเดือน มาไม่ปกติ เสื่อมสมรรถภาพทางเพศ ภาวะมีลูกยาก หอบหืด ปวดตามกระดูกข้อต่อ ปวดหลัง ข้อเสื่อม มีนิ่วในถุง น้้าดี โรคเบาหวาน โรคตับ โรคไต โรคหัวใจ โรคหลอดเลือดสมองตีบตัน และโรคมะเร็งต่าง ๆ ส่วนปัญหาสุขภาพจิตที่กระทบต่อการใช้ชีวิตซึ่งอาจเกิดขึ้นตามมา ได้แก่ การขาดความมั่นใจในตนเอง ความรู้สึกโดด เดี่ยว เก็บตัว แยกตัว น้าไปสู่ปัญหาด้านความสัมพันธ์ การเข้าสังคม การเรียน การท้างาน หรืออาจเกิดภาวะซึมเศร้า ได้
  • 7. 7 การผ่าตัดลดความอ้วน วิธีที่ 1 การลดความอ้วนด้วยวิธีการใส่บอลลูนในกระเพาะอาหาร(Gastric balloon) ส้าหรับใครที่อยากจะลดน้้าหนัก ลดความอ้วน หรือควบคุมน้้าหนักแต่ยังตามใจปากอยู่ ควบคุมอาหารไม่ได้และไม่อยากผ่าตัด ปัญหานี้จะหมดไปด้วย นวัตกรรมใหม่แห่งการลดความอ้วนได้แก่ การลดความอ้วนด้วยวิธีการใส่บอลลูนในกระเพาะอาหาร ซึ่งตัวบอลลูนที่ใส่ ลงในกระเพาะอาหารจะท้าให้รู้สึกอิ่มตลอดเวลาและจะท้าให้รับประทานอาหารได้ลดน้อยลงกว่าเดิม มี ภาวะแทรกซ้อนน้อยโดยเฉลี่ยสามารถลดน้้าหนักได้ถึง 24 กิโลกรัม ภายใน 1 ปี วิธีนี้มีมานานแล้วและเป็นที่ยอมรับ ในต่างประเทศ ข้อดี • ไม่ต้องผ่าตัด • เป็นหัตถการที่มีความเสี่ยงน้อย • ไม่ต้องนอนพักในโรงพยาบาลหลังท้าสามารถกลับไปพักที่บ้านได้ • สามารถท้าซ้้าได้อีกถ้าน้้าหนักกลับมาเพิ่มอีกครั้งหลังจากที่ท้าครั้งแรก • สามารถเพิ่มขนาดของบอลลูนได้ถ้าผู้ป่วยต้องการ • สามารถลดน้้าหนักได้โดยเฉลี่ย 24 กิโลกรัม/ปี ความเสี่ยง • การเกิดแผลในกระเพาะอาหาร (ulcer ‹1%) • คลื่นไส้ อาเจียน อาการไม่สุขสบายท้องหลังจากใส่บอลลูน (โดยส่วนใหญ่) • มีภาวะเลือดออกในกระเพาะอาหาร (Bleeding‹1%) • การเกิดภาวะอุดตันในกระเพาะอาหาร (obstruction‹1%) • ผนังกระเพาะอาหารทะลุ (Perforation‹1%) วิธีที่ 2 การผ่าตัดลดขนาดของกระเพาะลง (Sleeve Gastrectomy) โดยตัดกระเพาะออกไปประมาณ 85% ท้าให้ทานอาหารได้น้อยลงเพราะตัดกระเพาะส่วนที่ผลิต Hormone ที่ท้าให้เกิดการหิว ออกไป เป็นการผ่าตัดที่เป็นที่นิยมมากในขณะนี้ เพราะไม่ต้องตัดต่อกับล้าไส้เล็กและผู้ป่วยจะไม่เป็น โรคขาดสารอาหารจากการ ผ่าตัดนี้ ผู้ป่วยจะสามารถลดน้้าหนักได้ถึง 40-60 % ของน้้าหนักเดิมในปี แรกหลังผ่าตัด และเป็นการรักษาโรคข้างเคียง เช่น เบาหวาน ไขมัน ความดันไปในตัวด้วย ไม่มีข้อจ้ากัด เด็กอายุตั้งแต่ 15 ปีขึ้นไปก็สามารถผ่าตัดด้วยวิธีนี้ได้
  • 8. 8 วิธีที่ 3 การผ่าตัดลดความอ้วนแบบใช้เข็มขัดรัดกระเพาะอาหาร (Gastric Banding) โดยใช้วิธีการเจาะ แผลเล็กๆที่หน้าท้อง ใช้อุปกรณ์ลักษณะคล้ายเข็ดขัดสอดเข้าไปรัดกระเพาะอาหารตอนบน ท้าให้ กระเพาะอาหารมีขนาดเล็กลง รู้สึกอิ่มเร็วขึ้น เป็นวิธีการผ่าตัดที่ได้ผลดี เมื่อน้้าหนักตัวคงที่ สามารถ กลับมาแก้ไขน้าสายรัดกระเพาะออกได้ในภายหลัง Adjustable gastric banding (AGB) หรือ gastric Banding คือการผ่าตัดลดขนาดกระเพาะอาหาร โดยใช้ที่รัดกระเพาะ ที่ปรับเปลี่ยนขนาดกระเพาะ ได้ตามความ ต้องการ เครื่องนี้ออกแบบมาเพื่อใช้กับวิธีผ่าตัดส่องกล้อง ท้าด้วยซิลิโคนที่มีส่วนประกอบ 3 ส่วน คือ ส่วนที่ 1 อุปกรณ์คล้ายเข็มขัดนี้ จะถูกรัด เข้ากับส่วนต้นของกระเพาะอาหาร, ส่วนที่ 2 เป็นสายยาง ซึ่ง เป็นท่อติดต่อ ระหว่างส่วนที่ 1 กับส่วนที่ 3, ส้าหรับส่วนที่ 3 เป็นกระเปาะสามารถ ปรับได้โดยใช้เข็ม แทงเพื่อดูดน้้าเกลือ ออกจากภายนอกเพื่อปรับให้เข็มขัด(ส่วนที่ 1)โป่งหรือแฟบ ส่วนนี้ใช้วางอยู่ใต้ ผิวหนังหน้าท้อง วิธีที่ 4 การผ่าตัดลดความอ้วนแบบตัดต่อกระเพาะอาหารและล้าไส้เล็ก (Gastric Bypass) ด้วยวิธีการ ส่องกล้องเข้าไปตัดเย็บ Roux-en-Y gastric bypass (RYGB) หรือ Gastric Bypassใช้ตลับลวดแบ่งกระเพาะอาหารเป็น 2 ส่วน กระเปาะกระเพาะใหม่จะมีขนาดเล็กท้าให้รับอาหารได้ไม่มาก จาก นั้น ศัลยแพทย์จะเอาล้าไส้เล็ก ลัดคิวหรืออ้อมผ่าน (bypass) โดยมาต่อเข้า กับกระเปาะกระเพาะ อาหาร ที่มี ขนาดเล็กดังกล่าว ท้าให้ อาหารไม่ผ่านกระเพาะอาหารกระเปาะใหญ่ ผลก็คืออาหาร และแคลอรีจะดูด ซึม เข้าสู่ร่างกายลดลง ข้อดี ของการผ่าตัดเพื่อการลดน้้าหนักโดยการใช้กล้องนี้ คือ บาดแผลเล็ก เเผลมีการติดเชื้อ น้อย มีความเจ็บปวดน้อยกว่าเมื่อเทียบกับการผ่าตัดแบบเปิด ผู้ป่วยฟื้นตัวเร็วภายใน 2 -3 วันเท่านั้น เเละ สามารถกลับไปด้าเนินชีวิตประจ้าวันได้ในระยะเวลาอันสั้น ขั้นตอนการผ่าตัด การผ่าตัดนี้เป็นการผ่าตัดผ่านกล้อง (laparoscopic technique) โดยเย็บส่วนของกระเพาะอาหารให้มีขนาด ประมาณ 15-30 มิลลิลิตร จากนั้นจึงน้ามาต่อเข้ากับล้าไส้เล็ก ด้วยวิธีการผ่าตัดนี้ผู้ป่วยจะมีรอยแผลผ่าเล็กๆ ที่หน้า ท้อง 5 รอย ขนาดของแผลประมาณ 0.5-2 เซนติเมตร และจะมีอาการเจ็บแผลเพียงเล็กน้อยเท่านั้น แนวทางการรับประทานอาหาร 1. รับประทานอาหาร 3 มื้อต่อวัน และจ้ากัดอาหารว่างที่ไม่จ้าเป็นระหว่างมื้อ การลดน้้าหนักจะประสบความส้าเร็จหรือไม่ ขึ้นอยู่กับสิ่งที่คุณรับประทาน อาหารว่างที่ไม่มีประโยชน์ระหว่างมื้อ (เช่น ขนมกรุบกรอบ ขนมอบต่างๆ ฯลฯ) หรือการรับประทานบ่อยครั้ง จะท้าให้การลดน้้าหนักไม่ประสบความส้าเร็จ และท้าให้น้้าหนักเพิ่มขึ้นเนื่องจากได้รับปริมาณแคลอรี่มากเกินความจ้าเป็น
  • 9. 9 2. รับประทานอาหารช้าๆและเคี้ยวให้ละเอียดเหลว การเคี้ยวอาหารไม่ละเอียดจะท้าให้ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน และระคายเคืองกระเพาะอาหารได้ การเคี้ยวให้ละเอียด เป็นเรื่องส้าคัญมาก ต้องละเอียดจนเหลวเท่านั้น และควรตัดอาหารให้เป็นชิ้นเล็กๆก่อนรับประทาน หรืออาจจะหยุด พัก 1 นาทีก่อนรับประทานค้าต่อไป และควรใช้เวลาอย่างน้อย 30 นาทีในการรับประทานอาหารต่อมื้อ 3. หลีกเลี่ยงการรับประทานน้้าตาล ไม่ควรรับประทานอาหารที่มีน้้าตาลปรากฏเป็นส่วนประกอบ 3 อันดับแรกบนฉลาก จ้านวนกรัมที่ระบุบนฉลาก นั้นระบุว่าเป็นน้้าตาลตามธรรมชาติหรือน้้าตาลที่เติม เข้าไป ดังนั้น การอ่านฉลากอาหารเป็นเรื่องจ้าเป็น ท้าให้ทราบ ว่า น้้าตาลในอาหารชนิดนั้นเป็นน้้าตาลแบบใด และ ควรจ้ากัดปริมาณน้้าตาลให้เหลือเพียง 15 กรัม หรือน้อยกว่านั้น ต่อการรับประทานหนึ่งมื้อ เพื่อช่วยควบคุมแคลอรี่ในอาหาร วิธีด้าเนินงาน แนวทางการด้าเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
  • 10. 10 ขันตอนและแผนด้าเนินงาน ล้าดับ ที่ ขันตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 1 0 1 1 12 1 3 1 4 1 5 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดท้าโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การท้าเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 น้าเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการท้าโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ด้าเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่น้ามาใช้การท้าโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________