SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6
ปีการศึกษา 2561
ชื่อโครงงาน อาหารเพื่อสุขภาพ
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1นางสาว ทิพย์สุดา ลิลิต เลขที่ 15 ชั้น ม.6/3 ห้อง 3
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม .……
1.นางสาวอภสร ทีฆภาคย์วิศิษฎ์ เลขที่ 1 2.นางสาว ฐิติภรณ์ สารคา เลขที่ 2 3.นางสาว ทิพย์สุดาลิลิต เลขที่15
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
อาหารเพื่อชีวิตและสุขภาพ
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
Healthy Food
ประเภทโครงงาน ใช้ในชีวิตประจาวัน
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นางสาวอภสร ทีฆภาคย์วิศิษฎ์ เลขที่ 1 2.นางสาว ฐิติภรณ์ สารคา เลขที่ 2 3.นางสาว ทิพย์สุดาลิลิต เลขที่15
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ชื่อที่ปรึกษาร่วม _____________________________________________________________
ระยะเวลาดาเนินงาน เทอมที่1-2
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ในปัจจุบันคนยุคใหม่หัดมาดูแลสุขภาพ ต่างก็ค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อจะได้นาสิ่งที่มีประโยชน์เข้าสู่ร่างกาย
และทาให้ตัวเองห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ บางคนอาจมุ่งเน้นเลือกกินอาหารธรรมชาติที่ผ่านการแปรรูปน้อยที่สุดเพื่อ
คงไว้ซึ่งองค์ประกอบทางธรรมชาติของอาหารนั้นๆ ให้มากที่สุด แต่อาจเป็นการยากที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ
บริโภคในทันทีทันใดได้ จริงๆแล้วอาหารใช่จะว่ามีดีหรือไม่ดีไปทั้งหมด ขึ้นอยู่กับการเลือกกินการผสมผสานให้ได้
สัดส่วนที่เหมาะสมถูกต้องตามความต้องการของคนนั้นๆ เพื่อให้ร่างกายได้รับประโยชน์มากที่สุด อาหารเพื่อสุขภาพ
อาหารเพื่อสุขภาพคือ ก่อนที่เราจะกินอาหารเพื่อสุขภาพเราจาเป็นต้องรู้ก่อนว่าอาหารเพื่อสุขภาพคืออะไร ซึ่งก็คือ
อาหารที่มีสารอาหารครบทุกหมวดหมู่ถือว่ามีความจาเป็น และความสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาร่างกาย จิตใจ
รวมทั้งอารมณ์ การที่เราทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ นั้นจะทาให้เราได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนเมื่อเราได้รับสารอาหาร
ครบถ้วนก็จะส่งผลให้ร่างกายได้รับพลัง แข็งแรงพร้อมที่จะลุยงานต่างๆได้อย่างกระปรี้กระเปร่า ที่สาคัญยังห่างไกล
จากโรคร้ายแรงต่างๆ จะเห็นได้ว่าอาหารเพื่อสุขภาพหารับประทานได้ไม่ยาก ดังนั้นการเลือกรับประทานอาหารเราจึง
ควรเลือกให้เหมาะสมกับร่างกาย ควรกินในปริมาณที่พอเหมาะ แต่ถ้าจะให้ผลดีมากกว่านี้ เราก็จะต้องออกกาลังกาย
ควบคู่ไปด้วย เพื่อที่เราจะได้มีสุขภาพที่ดี ห่างไกลจากโรคอีกด้วย คณะผู้จัดทาจึงรวบรวมความรู้ต่างๆเละรวบรวม
สูตรอาหารที่เหมาะสมกับทุกเพศทุกวัยเพื่อที่จะให้ผู้ที่มีความสนใจในอาหารเพื่อสุขภาพหรืออยากจะหันมา
รับประทานอาหารสุขภาพได้นาโครงงานนี้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อให้ได้รู้เกี่ยวกับอาหารเพื่อสุขภาพและนาไปใช้
2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหาร
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
ขอบเขตเนื้อหาเรื่องความหมายของสุขภาพ ความหมายของอาหารสุขภาพ ประโยชน์ สูตรอาหารง่ายๆ
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
1. มื้อว่างอาหารคลีน โดย กัญญา เทพทวีพิทักษ์
เสนอเมนูอาหารว่างคลีนแบบง่าย ๆ รสชาติอร่อย สไตลล์ฟิวชั่น กว่า 40 เมนู พร้อมอธิบายวิธีการกินคลี
นแบบเริ่มต้น และการปรับเปลี่ยนเมนูอาหารที่เคยกินแบบเดิม ๆ ให้กลายเป็นอาหารคลีนฟู้ดได้ง่าย ๆ ด้วย
ตัวคุณเอง
2.1.กินอาหารครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลาย และหมั่นดูแลน้าหนักตัว
ข้อแนะนำนี้เป็นข้อแนะนำหลัก ยึดอำหำรหลัก 5 หมู่ และเพิ่มควำมสำคัญของกำรกินอำหำรแต่ละหมู่ให้มีควำม
หลำกหลำย ไม่จำเจอยู่เพียงอำหำรไม่กี่ชนิด น้ำหนักตัวเป็นเครื่องบ่งชี้อย่ำงง่ำยถึงภำวะสุขภำพ ในผู้ใหญ่ที่กินอำหำรได้
เหมำะสม จะมีน้ำหนักตัวที่เหมำะสม มีรูปร่ำงที่ไม่อ้วนหรือผอมเกินไปและมีน้ำหนักตัวค่อนข้ำงคงที่ หำกสังเกตเห็นว่ำน้ำหนัก
ตัวเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จำกน้ำหนักปกติ แสดงให้เห็นว่ำเริ่มกินอำหำรมำกเกินไปแล้ว ควรจะต้องหันมำควบคุมลดปริมำณให้
น้อยลง โดยไม่จำเป็นต้องรอให้เสื้อผ้ำคับก่อนที่เริ่มรู้สึกตัวเพรำะเสื้อผ้ำสมัยใหม่มักนิยมใช้สำยยืดเพื่อให้สวมใส่สบำย
หรือหำกพบว่ำน้ำหนักตัวลดลงเรื่อยๆ ก็ควรต้องให้ควำมสนใจพร้อมทั้งสังเกตว่ำมีกำรอ่อนเพลีย ง่วง ซึม หรืออำกำรที่
แตกต่ำงไปจำกปกติเกิดขึ้นด้วยหรือไม่ ถ้ำมีอำกำรมำกควรพบแพทย์เพื่อตรวจสุขภำพ สำหรับเด็ก ร่ำงกำยมีกำรเจริญเติบโต
น้ำหนักตัวควรเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในอัตรำที่เหมำะสม ดังนั้น ควรหมั่นชั่งน้ำหนักตัวอย่ำงน้อยเดือนละครั้ง
2. 2. กินข้าวเป็นอาหารหลัก สลับกับอาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อ
เพื่อเป็นกำรรักษำเอกลักษณ์ของคนไทย จึงให้ควำมสำคัญกับกำรกินข้ำวเป็นอำหำรหลัก ถ้ำเป็นไปได้ควรกินข้ำวซ้อม
มือ เพรำะมีวิตำมิน แร่ธำตุ โปรตีนและใยอำหำรมำกกว่ำข้ำวที่ขัดสีจนขำว ส่วนอำหำรแป้ง เช่น ขนมปัง ก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน ให้กิน
เป็นบำงมื้อ อำหำรแป้งเป็นอำหำรที่ผ่ำน-กำรแปรรูป ใยอำหำรจะมีน้อยกว่ำในข้ำว
2.3. กินพืชผักให้มาก และกินผลไม้เป็นประจา
อำหำรหลัก 5 หมู่ ของไทยมีเอกลักษณ์ที่สำคัญอีกอย่ำงหนึ่ง คือ กำรจัดแยกพืชผัก และผลไม้เป็นอำหำรหลักคนละหมู่
เนื่องจำกประเทศไทยมีพืชผักและผลไม้อุดมสมบูรณ์ที่ผู้บริโภคสำมำรถเลือกบริโภคได้ตลอดปี พืชผักและผลไม้ให้สำรอำหำรที่
สำคัญหลำยชนิด คือ วิตำมิน แร่ธำตุ และใยอำหำร และให้สำรอื่นที่มิใช่สำรอำหำร เช่น สำรแอนติออกซิแดนท์ที่ช่วยไม่ให้อนุมูล
อิสระทำลำยเนื้อเยื่อและผนังเซลล์ ช่วยชะลอกำรเสื่อมสลำยของเซลล์ ทำให้ผิวพรรณเปล่งปลั่ง ดูสดใส ไม่แก่เกิน
วัย นอกจำกนี้ยังให้ประโยชน์ทำงด้ำนสมุนไพรที่ช่วยรักษำสุขภำพ
2.4. กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ และถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจา
เป็นกำรกินอำหำรที่ให้โปรตีน โดยเน้นปลำและอำหำรประเภทถั่วเมล็ดแห้ง เช่น เต้ำหู้ชนิดต่ำงๆ สำหรับเนื้อสัตว์ให้
เลือกที่ไม่ติดมัน หรือที่มีมันน้อย ไข่เป็นอำหำรที่มีประโยชน์ ควรกินเป็นประจำ เด็กควรกินวันละฟอง ผู้ใหญ่ภำวะปกติควรกินวัน
เว้นวัน หรือสัปดำห์ละ 2-3 ฟอง ส่วนคนที่มีปัญหำภำวะโคเลสเตอรอลสูงในเลือดควรลดปริมำณลง
2.5. ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
4
บำงคนอำจมองเห็นว่ำน้ำนมเป็นอำหำรของต่ำงชำติ ไม่ควรส่งเสริมกำรบริโภค น่ำจะให้คนไทยไปบริโภคอำหำรอย่ำง
อื่นจะดีกว่ำ อย่ำงไรก็ดีเมื่อพิจำรณำโดยรวม จะเห็นได้ว่ำน้ำนมเป็นอำหำรที่มีประโยชน์สมบูรณ์ เป็นแหล่งอำหำรของโปรตีน
แคลเซียม วิตำมินบี 2 และแร่ธำตุต่ำงๆ นอกจำกนี้น้ำนมเป็นอำหำรที่กินง่ำย รำคำไม่แพงเกินไป มีหลำยชนิดหำได้ทั่วไป จีงเป็น
กำรสะดวกที่จะใช้เป็นอำหำรสำหรับคนทุกวัย
ในกรณีที่ห่วงว่ำคื่มนมมำกๆ อำจทำให้อ้วน ผู้บริโภคสำมำรถเลือกดื่มนมพร่องไขมันได้และในเวลำเดียวกันควรควบคุม
ปริมำณไขมันในอำหำรชนิดอื่นด้วย เพรำะเพียงไขมันจำกน้ำนมอย่ำงเดียวไม่น่ำที่จะทำให้เกิดโรคอ้วน
ปริมำณที่แนะนำคือ เด็กควรดื่มวันละ 1-2 แก้ว ผู้ใหญ่และผู้สูงอำยุควรดื่มวันละ 1 แก้ว
2.6. กินอาหารที่มีไขมันแต่พอควร
ถึงแม้ไขมันจะเกี่ยวข้องกับปัญหำโภชนำกำร เช่น โรคอ้วน ภำวะไขมันในเลือดสูงที่นำไปสู่โรคหัวใจขำดเลือดได้ แต่
ร่ำงกำยต้องกำรไขมันเพื่อสุขภำพด้วยเช่นกัน เพียงแต่จะต้องควบคุมปริมำณและชนิดของไขมันที่จะบริโภคให้เหมำะสม ลด
อำหำรที่มีไขมันมำก เช่น หมูสำมชั้น ขำหมูพะโล้และอำหำรที่ใช้น้ำมันหรือกะทิจำนวนมำกในกำรประกอบอำหำร
2.7. หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัดและเค็มจัด
ส่วนประกอบสำคัญของอำหำรรสหวำนจัดและเค็มจัด ได้แก่ น้ำตำล และเกลือแกง ซึ่งส่วนประกอบทั้ง 2 ชนิดเมื่อ
บริโภคมำกเกินไป พบว่ำเป็นสำเหตุสำคัญของกำรเกิดโรคอ้วน และโรคควำมดันโลหิตสูง
วิธีปฏิบัตินอกจำกกำรหลีกเลี่ยงอำหำรที่มีรสหวำนจัดและเค็มจัดแล้ว ผู้บริโภคควรพยำยำมรับประทำนอำหำรที่มีรส
ธรรมดำ ไม่ควรที่จะต้องเติมน้ำตำลหรือเกลือเพิ่มเติมในอำหำรที่ปรุงแล้ว หรือหันมำกินอำหำรแบบไทยเดิม ที่มีกับข้ำวหลำยชนิด
เพื่อให้เกิดรสชำติที่หลำกหลำย
2.8. กินอาหารที่สะอาดปราศจากการปนเปื้อน
กำรกินอำหำรที่สะอำดนับเป็นเรื่องสำคัญ เพรำะจะช่วยลดอันตรำยจำกสิ่งปนเปื้อนต่ำงๆ ซึ่งอำจเป็นเชื้อโรค พยำธิ สำรพิษ
สิ่งแปลกปลอมต่ำงๆ ผู้บริโภคควรเลือกซื้ออำหำรจำกแหล่งผลิตที่เชื่อถือได้มีกำรผลิตที่ถูกต้อง มีกำรเก็บรักษำที่เหมำะสม อำหำร
สำเร็จรูปควรบรรจุในภำชนะที่เหมำะสม สะอำด มีฉลำกที่ถูกต้อง บอกวันหมดอำยุส่วนประกอบ ชื่ออำหำร สถำนที่ผลิต
นอกจำกนี้ผู้บริโภคควรมีสุขนิสัยที่ดีในกำรรับประทำนอำหำร เช่น กำรล้ำงมือก่อนรับประทำนอำหำร กำรใช้ช้อนกลำง
หรือใช้อุปกรณ์หยิบจับอำหำรมำกกว่ำกำรใช้มือ
2.9. งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์
เมื่อดื่มมำก จะมีผลทำให้กำรทำงำนของระบบสมองและประสำทช้ำลง ทำให้เกิดกำรขำดสติได้ง่ำย ที่จะนำไปสู่กำรเกิด
อุบัติเหตุ เสียทรัพย์เสียสุขภำพ ก่อให้เกิดโรคตับแข็งและกำรขำดสำรอำหำรที่สำคัญหลำยชนิด ดังนั้นควรลดกำรดื่มเครื่องดื่ม
แอลกอฮอล์หรือควรหลีกเลี่ยงให้มำกที่สุด
ข้อแนะนาการบริโภคอาหารสาหรับคนไทยทั้ง 9 ข้อดังกล่าวข้างต้น เป็นประโยชน์สาหรับผู้บริโภคชาวไทยทุกคน เป็น
การให้คาแนะนาในทางปฏิบัติได้ชัดเจนขึ้น และมีความยืดหยุ่นในตัว ที่แต่ละคนสามารถปรับให้เหมาะสมกับตนเองได้ เพื่อ
สุขภาพที่ดี
ที่มา : คณะพยำบำลศำสตร์ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่
5
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
1. คิดหัวข้อโครงงาน
2. หาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อขั้อมูลที่สนใจ เช่น สูตรอาหารเพื่อสุขภาพ
3. จัดทาโครงงานกับสมาชิกในกลุ่มเสนอครูที่ปรึกษา
4. จัดทาโครงงานตามแบบร่างที่เสนอ
5. นาเสนอรายงานความก้าวหน้าให้ครูที่ปรึกษาโครงงานได้ตรวจสอบและนาคาแนะนามาแก้ไขให้สมบูรณ์
6. จัดทาเอกสารรายงานโครงงาน
7. ประเมินผลโดยให้ครูที่ปรึกษาและผู้ที่สนใจร่วมประเมินผลงาน
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
1. คอมพิวเตอร์
2. มือถือ
3. หนังสือ
งบประมาณ
-
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
6
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
1. ได้รู้เกี่ยวกับอาหารเพื่อสุขภาพและนาไปใช้
2. สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหาร
สถานที่ดาเนินการ
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
การงานอาชีพ สุขศึกษา คอมพิวเตอร์
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
1. มื้อว่างอาหารคลีน โดย กัญญา เทพทวีพิทักษ์
2. อาหารดีเพื่อ สุขภาพ โดย เปรมแสงแก้ว
3. อาหารสุขภาพ โดย พญ. ลลิตา ธีระสิริ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน

More Related Content

What's hot

โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะPang Pond
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...Sircom Smarnbua
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5kessara61977
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานPhongsak Kongkham
 
เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5Peerada Ch
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้องPongtep Treeone
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนมChok Ke
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้Theyok Tanya
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในamixdouble
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงานTanyarad Chansawang
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดพัน พัน
 
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานแบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานnoeypornnutcha
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาBoonlert Aroonpiboon
 
โครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝันโครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝันพัน พัน
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานAjBenny Pong
 

What's hot (20)

โครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะโครงงานคัดแยกขยะ
โครงงานคัดแยกขยะ
 
สารบัญ.
สารบัญ.สารบัญ.
สารบัญ.
 
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
รายงานโครงงานวิทยาศาสตร์ เรื่อง เชื้อเห็ดราเอคโตไมคอร์ไรซากับการเจริญเติบโตขอ...
 
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
โครงงานสำรวจพฤติกรรมการใช้สมาร์ทโฟนนักเรียนชั้น ม.4-5
 
Kingdom plantae
Kingdom plantaeKingdom plantae
Kingdom plantae
 
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงานที่มาและความสำคัญของโครงงาน
ที่มาและความสำคัญของโครงงาน
 
เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5เล่มโครงงาน ม.5
เล่มโครงงาน ม.5
 
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
02 บทที่ 2-เอกสารที่เกี่ยวข้อง
 
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนมโครงงานวิทยาศาสตร์  ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
โครงงานวิทยาศาสตร์ ชุดโซฟาจากกระป๋องนม
 
ชาตะไคร้
ชาตะไคร้ชาตะไคร้
ชาตะไคร้
 
ปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกในปกนอก ปกใน
ปกนอก ปกใน
 
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
04 บทที่ 4-ผลการดำเนินโครงงาน
 
เรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติดเรื่องปัญหายาเสพติด
เรื่องปัญหายาเสพติด
 
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงานแบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
แบบเสนอเค้าโครงร่างโครงงาน
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษามาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
 
โครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝันโครงการแต้มสีเติมฝัน
โครงการแต้มสีเติมฝัน
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 
รูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงานรูปเล่มวิชาโครงงาน
รูปเล่มวิชาโครงงาน
 
โครงงาน Fast Food
โครงงาน Fast Foodโครงงาน Fast Food
โครงงาน Fast Food
 

Similar to Healthy food

หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งTanutkit Kinruean
 
2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้นKanokwan Rapol
 
เค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอมเค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอมJah Jadeite
 
โครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผักโครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผักJorJames Satawat
 
2562 final-project 40
2562 final-project 402562 final-project 40
2562 final-project 40ssuserceb50d
 
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)Nuties Electron
 
The massage with herb for health
The massage with herb for healthThe massage with herb for health
The massage with herb for healthSirintra Chaiwong
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งpornkanok02
 

Similar to Healthy food (20)

หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
หน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่งหน่อไม้ฝรั่ง
หน่อไม้ฝรั่ง
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
คอมเดี่ยว
คอมเดี่ยวคอมเดี่ยว
คอมเดี่ยว
 
2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น2558 project-มิ้น
2558 project-มิ้น
 
Aaaaaaaaaaa
AaaaaaaaaaaAaaaaaaaaaa
Aaaaaaaaaaa
 
2561 project 03
2561 project  032561 project  03
2561 project 03
 
เค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอมเค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอม
 
เค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอมเค้าโครงร่างคู่คอม
เค้าโครงร่างคู่คอม
 
โครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผักโครงร่าง โครงงานน้ำผัก
โครงร่าง โครงงานน้ำผัก
 
2562 final-project 40
2562 final-project 402562 final-project 40
2562 final-project 40
 
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
แบบเสนอโครงงาน (ล าส ด)
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
Do you-know-green-tea
Do you-know-green-teaDo you-know-green-tea
Do you-know-green-tea
 
Kiki
KikiKiki
Kiki
 
The massage with herb for health
The massage with herb for healthThe massage with herb for health
The massage with herb for health
 
กล้วย
กล้วยกล้วย
กล้วย
 
รักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็งรักษาโรคมะเร็ง
รักษาโรคมะเร็ง
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 
Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.Pitchayaporn N.
Pitchayaporn N.
 

Healthy food

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 5- 6 ปีการศึกษา 2561 ชื่อโครงงาน อาหารเพื่อสุขภาพ ชื่อผู้ทาโครงงาน 1นางสาว ทิพย์สุดา ลิลิต เลขที่ 15 ชั้น ม.6/3 ห้อง 3 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2561 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม .…… 1.นางสาวอภสร ทีฆภาคย์วิศิษฎ์ เลขที่ 1 2.นางสาว ฐิติภรณ์ สารคา เลขที่ 2 3.นางสาว ทิพย์สุดาลิลิต เลขที่15 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) อาหารเพื่อชีวิตและสุขภาพ ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Healthy Food ประเภทโครงงาน ใช้ในชีวิตประจาวัน ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาวอภสร ทีฆภาคย์วิศิษฎ์ เลขที่ 1 2.นางสาว ฐิติภรณ์ สารคา เลขที่ 2 3.นางสาว ทิพย์สุดาลิลิต เลขที่15 ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม _____________________________________________________________ ระยะเวลาดาเนินงาน เทอมที่1-2 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ในปัจจุบันคนยุคใหม่หัดมาดูแลสุขภาพ ต่างก็ค้นคว้าหาข้อมูลเพื่อจะได้นาสิ่งที่มีประโยชน์เข้าสู่ร่างกาย และทาให้ตัวเองห่างไกลจากโรคภัยไข้เจ็บ บางคนอาจมุ่งเน้นเลือกกินอาหารธรรมชาติที่ผ่านการแปรรูปน้อยที่สุดเพื่อ คงไว้ซึ่งองค์ประกอบทางธรรมชาติของอาหารนั้นๆ ให้มากที่สุด แต่อาจเป็นการยากที่จะปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการ บริโภคในทันทีทันใดได้ จริงๆแล้วอาหารใช่จะว่ามีดีหรือไม่ดีไปทั้งหมด ขึ้นอยู่กับการเลือกกินการผสมผสานให้ได้ สัดส่วนที่เหมาะสมถูกต้องตามความต้องการของคนนั้นๆ เพื่อให้ร่างกายได้รับประโยชน์มากที่สุด อาหารเพื่อสุขภาพ อาหารเพื่อสุขภาพคือ ก่อนที่เราจะกินอาหารเพื่อสุขภาพเราจาเป็นต้องรู้ก่อนว่าอาหารเพื่อสุขภาพคืออะไร ซึ่งก็คือ อาหารที่มีสารอาหารครบทุกหมวดหมู่ถือว่ามีความจาเป็น และความสาคัญอย่างยิ่งต่อการพัฒนาร่างกาย จิตใจ รวมทั้งอารมณ์ การที่เราทานอาหารให้ครบ 5 หมู่ นั้นจะทาให้เราได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนเมื่อเราได้รับสารอาหาร ครบถ้วนก็จะส่งผลให้ร่างกายได้รับพลัง แข็งแรงพร้อมที่จะลุยงานต่างๆได้อย่างกระปรี้กระเปร่า ที่สาคัญยังห่างไกล จากโรคร้ายแรงต่างๆ จะเห็นได้ว่าอาหารเพื่อสุขภาพหารับประทานได้ไม่ยาก ดังนั้นการเลือกรับประทานอาหารเราจึง ควรเลือกให้เหมาะสมกับร่างกาย ควรกินในปริมาณที่พอเหมาะ แต่ถ้าจะให้ผลดีมากกว่านี้ เราก็จะต้องออกกาลังกาย ควบคู่ไปด้วย เพื่อที่เราจะได้มีสุขภาพที่ดี ห่างไกลจากโรคอีกด้วย คณะผู้จัดทาจึงรวบรวมความรู้ต่างๆเละรวบรวม สูตรอาหารที่เหมาะสมกับทุกเพศทุกวัยเพื่อที่จะให้ผู้ที่มีความสนใจในอาหารเพื่อสุขภาพหรืออยากจะหันมา รับประทานอาหารสุขภาพได้นาโครงงานนี้ไปใช้ในชีวิตประจาวันได้
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อให้ได้รู้เกี่ยวกับอาหารเพื่อสุขภาพและนาไปใช้ 2. เพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหาร ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ขอบเขตเนื้อหาเรื่องความหมายของสุขภาพ ความหมายของอาหารสุขภาพ ประโยชน์ สูตรอาหารง่ายๆ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) 1. มื้อว่างอาหารคลีน โดย กัญญา เทพทวีพิทักษ์ เสนอเมนูอาหารว่างคลีนแบบง่าย ๆ รสชาติอร่อย สไตลล์ฟิวชั่น กว่า 40 เมนู พร้อมอธิบายวิธีการกินคลี นแบบเริ่มต้น และการปรับเปลี่ยนเมนูอาหารที่เคยกินแบบเดิม ๆ ให้กลายเป็นอาหารคลีนฟู้ดได้ง่าย ๆ ด้วย ตัวคุณเอง 2.1.กินอาหารครบ 5 หมู่ แต่ละหมู่ให้หลากหลาย และหมั่นดูแลน้าหนักตัว ข้อแนะนำนี้เป็นข้อแนะนำหลัก ยึดอำหำรหลัก 5 หมู่ และเพิ่มควำมสำคัญของกำรกินอำหำรแต่ละหมู่ให้มีควำม หลำกหลำย ไม่จำเจอยู่เพียงอำหำรไม่กี่ชนิด น้ำหนักตัวเป็นเครื่องบ่งชี้อย่ำงง่ำยถึงภำวะสุขภำพ ในผู้ใหญ่ที่กินอำหำรได้ เหมำะสม จะมีน้ำหนักตัวที่เหมำะสม มีรูปร่ำงที่ไม่อ้วนหรือผอมเกินไปและมีน้ำหนักตัวค่อนข้ำงคงที่ หำกสังเกตเห็นว่ำน้ำหนัก ตัวเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ จำกน้ำหนักปกติ แสดงให้เห็นว่ำเริ่มกินอำหำรมำกเกินไปแล้ว ควรจะต้องหันมำควบคุมลดปริมำณให้ น้อยลง โดยไม่จำเป็นต้องรอให้เสื้อผ้ำคับก่อนที่เริ่มรู้สึกตัวเพรำะเสื้อผ้ำสมัยใหม่มักนิยมใช้สำยยืดเพื่อให้สวมใส่สบำย หรือหำกพบว่ำน้ำหนักตัวลดลงเรื่อยๆ ก็ควรต้องให้ควำมสนใจพร้อมทั้งสังเกตว่ำมีกำรอ่อนเพลีย ง่วง ซึม หรืออำกำรที่ แตกต่ำงไปจำกปกติเกิดขึ้นด้วยหรือไม่ ถ้ำมีอำกำรมำกควรพบแพทย์เพื่อตรวจสุขภำพ สำหรับเด็ก ร่ำงกำยมีกำรเจริญเติบโต น้ำหนักตัวควรเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ ในอัตรำที่เหมำะสม ดังนั้น ควรหมั่นชั่งน้ำหนักตัวอย่ำงน้อยเดือนละครั้ง 2. 2. กินข้าวเป็นอาหารหลัก สลับกับอาหารประเภทแป้งเป็นบางมื้อ เพื่อเป็นกำรรักษำเอกลักษณ์ของคนไทย จึงให้ควำมสำคัญกับกำรกินข้ำวเป็นอำหำรหลัก ถ้ำเป็นไปได้ควรกินข้ำวซ้อม มือ เพรำะมีวิตำมิน แร่ธำตุ โปรตีนและใยอำหำรมำกกว่ำข้ำวที่ขัดสีจนขำว ส่วนอำหำรแป้ง เช่น ขนมปัง ก๋วยเตี๋ยว ขนมจีน ให้กิน เป็นบำงมื้อ อำหำรแป้งเป็นอำหำรที่ผ่ำน-กำรแปรรูป ใยอำหำรจะมีน้อยกว่ำในข้ำว 2.3. กินพืชผักให้มาก และกินผลไม้เป็นประจา อำหำรหลัก 5 หมู่ ของไทยมีเอกลักษณ์ที่สำคัญอีกอย่ำงหนึ่ง คือ กำรจัดแยกพืชผัก และผลไม้เป็นอำหำรหลักคนละหมู่ เนื่องจำกประเทศไทยมีพืชผักและผลไม้อุดมสมบูรณ์ที่ผู้บริโภคสำมำรถเลือกบริโภคได้ตลอดปี พืชผักและผลไม้ให้สำรอำหำรที่ สำคัญหลำยชนิด คือ วิตำมิน แร่ธำตุ และใยอำหำร และให้สำรอื่นที่มิใช่สำรอำหำร เช่น สำรแอนติออกซิแดนท์ที่ช่วยไม่ให้อนุมูล อิสระทำลำยเนื้อเยื่อและผนังเซลล์ ช่วยชะลอกำรเสื่อมสลำยของเซลล์ ทำให้ผิวพรรณเปล่งปลั่ง ดูสดใส ไม่แก่เกิน วัย นอกจำกนี้ยังให้ประโยชน์ทำงด้ำนสมุนไพรที่ช่วยรักษำสุขภำพ 2.4. กินปลา เนื้อสัตว์ไม่ติดมัน ไข่ และถั่วเมล็ดแห้งเป็นประจา เป็นกำรกินอำหำรที่ให้โปรตีน โดยเน้นปลำและอำหำรประเภทถั่วเมล็ดแห้ง เช่น เต้ำหู้ชนิดต่ำงๆ สำหรับเนื้อสัตว์ให้ เลือกที่ไม่ติดมัน หรือที่มีมันน้อย ไข่เป็นอำหำรที่มีประโยชน์ ควรกินเป็นประจำ เด็กควรกินวันละฟอง ผู้ใหญ่ภำวะปกติควรกินวัน เว้นวัน หรือสัปดำห์ละ 2-3 ฟอง ส่วนคนที่มีปัญหำภำวะโคเลสเตอรอลสูงในเลือดควรลดปริมำณลง 2.5. ดื่มนมให้เหมาะสมตามวัย
  • 4. 4 บำงคนอำจมองเห็นว่ำน้ำนมเป็นอำหำรของต่ำงชำติ ไม่ควรส่งเสริมกำรบริโภค น่ำจะให้คนไทยไปบริโภคอำหำรอย่ำง อื่นจะดีกว่ำ อย่ำงไรก็ดีเมื่อพิจำรณำโดยรวม จะเห็นได้ว่ำน้ำนมเป็นอำหำรที่มีประโยชน์สมบูรณ์ เป็นแหล่งอำหำรของโปรตีน แคลเซียม วิตำมินบี 2 และแร่ธำตุต่ำงๆ นอกจำกนี้น้ำนมเป็นอำหำรที่กินง่ำย รำคำไม่แพงเกินไป มีหลำยชนิดหำได้ทั่วไป จีงเป็น กำรสะดวกที่จะใช้เป็นอำหำรสำหรับคนทุกวัย ในกรณีที่ห่วงว่ำคื่มนมมำกๆ อำจทำให้อ้วน ผู้บริโภคสำมำรถเลือกดื่มนมพร่องไขมันได้และในเวลำเดียวกันควรควบคุม ปริมำณไขมันในอำหำรชนิดอื่นด้วย เพรำะเพียงไขมันจำกน้ำนมอย่ำงเดียวไม่น่ำที่จะทำให้เกิดโรคอ้วน ปริมำณที่แนะนำคือ เด็กควรดื่มวันละ 1-2 แก้ว ผู้ใหญ่และผู้สูงอำยุควรดื่มวันละ 1 แก้ว 2.6. กินอาหารที่มีไขมันแต่พอควร ถึงแม้ไขมันจะเกี่ยวข้องกับปัญหำโภชนำกำร เช่น โรคอ้วน ภำวะไขมันในเลือดสูงที่นำไปสู่โรคหัวใจขำดเลือดได้ แต่ ร่ำงกำยต้องกำรไขมันเพื่อสุขภำพด้วยเช่นกัน เพียงแต่จะต้องควบคุมปริมำณและชนิดของไขมันที่จะบริโภคให้เหมำะสม ลด อำหำรที่มีไขมันมำก เช่น หมูสำมชั้น ขำหมูพะโล้และอำหำรที่ใช้น้ำมันหรือกะทิจำนวนมำกในกำรประกอบอำหำร 2.7. หลีกเลี่ยงการกินอาหารรสหวานจัดและเค็มจัด ส่วนประกอบสำคัญของอำหำรรสหวำนจัดและเค็มจัด ได้แก่ น้ำตำล และเกลือแกง ซึ่งส่วนประกอบทั้ง 2 ชนิดเมื่อ บริโภคมำกเกินไป พบว่ำเป็นสำเหตุสำคัญของกำรเกิดโรคอ้วน และโรคควำมดันโลหิตสูง วิธีปฏิบัตินอกจำกกำรหลีกเลี่ยงอำหำรที่มีรสหวำนจัดและเค็มจัดแล้ว ผู้บริโภคควรพยำยำมรับประทำนอำหำรที่มีรส ธรรมดำ ไม่ควรที่จะต้องเติมน้ำตำลหรือเกลือเพิ่มเติมในอำหำรที่ปรุงแล้ว หรือหันมำกินอำหำรแบบไทยเดิม ที่มีกับข้ำวหลำยชนิด เพื่อให้เกิดรสชำติที่หลำกหลำย 2.8. กินอาหารที่สะอาดปราศจากการปนเปื้อน กำรกินอำหำรที่สะอำดนับเป็นเรื่องสำคัญ เพรำะจะช่วยลดอันตรำยจำกสิ่งปนเปื้อนต่ำงๆ ซึ่งอำจเป็นเชื้อโรค พยำธิ สำรพิษ สิ่งแปลกปลอมต่ำงๆ ผู้บริโภคควรเลือกซื้ออำหำรจำกแหล่งผลิตที่เชื่อถือได้มีกำรผลิตที่ถูกต้อง มีกำรเก็บรักษำที่เหมำะสม อำหำร สำเร็จรูปควรบรรจุในภำชนะที่เหมำะสม สะอำด มีฉลำกที่ถูกต้อง บอกวันหมดอำยุส่วนประกอบ ชื่ออำหำร สถำนที่ผลิต นอกจำกนี้ผู้บริโภคควรมีสุขนิสัยที่ดีในกำรรับประทำนอำหำร เช่น กำรล้ำงมือก่อนรับประทำนอำหำร กำรใช้ช้อนกลำง หรือใช้อุปกรณ์หยิบจับอำหำรมำกกว่ำกำรใช้มือ 2.9. งดหรือลดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ เมื่อดื่มมำก จะมีผลทำให้กำรทำงำนของระบบสมองและประสำทช้ำลง ทำให้เกิดกำรขำดสติได้ง่ำย ที่จะนำไปสู่กำรเกิด อุบัติเหตุ เสียทรัพย์เสียสุขภำพ ก่อให้เกิดโรคตับแข็งและกำรขำดสำรอำหำรที่สำคัญหลำยชนิด ดังนั้นควรลดกำรดื่มเครื่องดื่ม แอลกอฮอล์หรือควรหลีกเลี่ยงให้มำกที่สุด ข้อแนะนาการบริโภคอาหารสาหรับคนไทยทั้ง 9 ข้อดังกล่าวข้างต้น เป็นประโยชน์สาหรับผู้บริโภคชาวไทยทุกคน เป็น การให้คาแนะนาในทางปฏิบัติได้ชัดเจนขึ้น และมีความยืดหยุ่นในตัว ที่แต่ละคนสามารถปรับให้เหมาะสมกับตนเองได้ เพื่อ สุขภาพที่ดี ที่มา : คณะพยำบำลศำสตร์ มหำวิทยำลัยเชียงใหม่
  • 5. 5 วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน 1. คิดหัวข้อโครงงาน 2. หาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อขั้อมูลที่สนใจ เช่น สูตรอาหารเพื่อสุขภาพ 3. จัดทาโครงงานกับสมาชิกในกลุ่มเสนอครูที่ปรึกษา 4. จัดทาโครงงานตามแบบร่างที่เสนอ 5. นาเสนอรายงานความก้าวหน้าให้ครูที่ปรึกษาโครงงานได้ตรวจสอบและนาคาแนะนามาแก้ไขให้สมบูรณ์ 6. จัดทาเอกสารรายงานโครงงาน 7. ประเมินผลโดยให้ครูที่ปรึกษาและผู้ที่สนใจร่วมประเมินผลงาน เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1. คอมพิวเตอร์ 2. มือถือ 3. หนังสือ งบประมาณ - ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
  • 6. 6 ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 1. ได้รู้เกี่ยวกับอาหารเพื่อสุขภาพและนาไปใช้ 2. สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการกินอาหาร สถานที่ดาเนินการ โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง การงานอาชีพ สุขศึกษา คอมพิวเตอร์ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 1. มื้อว่างอาหารคลีน โดย กัญญา เทพทวีพิทักษ์ 2. อาหารดีเพื่อ สุขภาพ โดย เปรมแสงแก้ว 3. อาหารสุขภาพ โดย พญ. ลลิตา ธีระสิริ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน