SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
ปีการศึกษา 2560
ชื่อโครงงาน รสใหนที่ใช่!
ชื่อผู้ทาโครงงาน
1.นางสาว กนกพร ไชยโย เลขที่ 8 ชั้น ม.6 ห้อง 4
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2
ใบงาน
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์
สมาชิกในกลุ่ม
นางสาวกนกพร ไชยโย เลขที่ 8
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย)
รสใหนที่ใช่!
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ)
THE TASTE IS RIGHT!
ประเภทโครงงาน สารวจ และรวบรวมข้อมูล
ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวกนกพร ไชยโย
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน)
ปัจจุบันประเทศไทยของเรามีนักท่องเที่ยวทั้งเอเชียเอง จนกระแถบเมืองผู้ดี ก็ต่างมีจานวนมาขึ้นเหมือน
ดอกเห็น เวลามีคนไปสาภาษณ์พวกเขาเหล่านั้นว่า เหตุใดที่คุณเลือกที่จะนาเม็ดเงินมาท่องเที่ยวในประเทศไทย
แทนที่จะไปท่องเที่ยวประเทศอื่น ก็มักจะได้คาตอบกลับมาคล้ายๆกันเกือบทุกคนคือ ประเทศไทยเต็มไปด้วย
ประวัติศาสตร์และวัฌธรรมอันทรงคุณค่า เมืองมีแต่คนใจดีชอบช่วยเหลือ เมืองไทยไปใหนมีแต่คนมีความสุข หรือ
เขาต้องการมาท่องเที่ยวเพราะศิลปะการต่อสื่อมวยไทยอันเป็นเอกลักษณืของชาติใครจัรู้อีกว่าพวกเขาเหล่านั้น
มักจะบอกเหตุผลที่เขามาท่องเที่ยวในไทยอีกข้อหนึ่งคือ เขาถูกใจรสชาติของอาหารไทย ชาวต่างชาติส่วนใหญ่
มักจะพูดเป็นเสียงเดียวกันว่าอาหารอร่อย เพราะวิธีการทาที่ละเอียดอ่อนและซับซ้อน หอมเครื่องเทศ อีกยังมีผัก
สมุนไพรนาๆชนิด ยากที่จะมีชาติไดทาเหมือน ดังนั้นอาหารไทยเสมือนเป็นอีกหนึ่งเอกลักษณ์ที่เป็นแรงดึงดูด
ชาวต่างชาติมาท่องเที่ยวที่ไทย บางคนถึงกับติดใจในรสปลายจวักของสาวไทยจน ต้องมาอยู่กินที่เมืองไทยเลยที่
เดียว ด้วยเหตุนี้อาหารของไทยจึงเป็นที่ยอมรับจากคนทั่วไปว่าอร่อยจนและแกงมัสมันของไทยก็ได้รับการจัด
อันดับอาหารที่อร่อยที่สุดในโลก เป็นอันดับหนึ่งอีกด้วย แล้วเราจะพัฒนาอาหารไทยอย่าไรให้อร่อยและถูกปากคน
ต่างชาติมากขึ้นเพื่อที่คนทุกที่ ทุกหนทุกแห่งบนโลกนี้รู้ว่าอาหารไทยอร่อยแค่ใหน
3
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ)
1. เพื่อให้ทราบถึงอาหารที่คนต่างชาตินิยม
2. เพื่อที่จะพัฒนาร้านขายอาหารให้มีลูกค้าเพิ่มมากขึ้น
3. เพื่อเป็นการส่งเสริมการบริโภคอาหารไทย
4. สามารถช่วยให้ร้านปรุงรสอาหารตามที่ลูกค้าต่างชาติชื่นชอบ
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน)
-ชาวต่างชาติทั่วไป
-ร้านอาหาร
หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน)
-ประวัติความเป็นมาของอาหารไทย
สารับอาหารไทย
อาหารไทย เป็นอาหารประจาของชนชาติไทย ที่มีการสั่งสมและถ่ายทอดมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่อดีต จน
เป็นเอกลักษณ์ประจาชาติถือได้ว่าอาหารไทยเป็นวัฒนธรรมประจาชาติที่สาคัญของไทย ขณะที่อาหารพื้นบ้าน
หมายถึง อาหารที่นิยมรับประทานกันเฉพาะท้องถิ่น ซึ่งเป็นอาหารที่ทาขึ้นได้ง่าย โดยอาศัยพืชผักหรือเครื่อง
ประกอบอาหารที่มีอยู่ในท้องถิ่นมีการสืบทอดวิธีปรุงและการรับประทานต่อๆ กันมา จุดกาเนิดอาหารไทย อาหาร
ไทยมีจุดกาเนิดพร้อมกับการตั้งชนชาติไทย และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน เรื่อง
ความเป็นมาของอาหารไทยยุคต่างๆ
++สมัยสุโขทัย++
อาหารไทยในสมัยสุโขทัยได้อาศัยหลักฐานจากศิลาจารึกและวรรณคดี สาคัญคือ ไตรภูมิพระร่วงของ
พญาลิไท ที่ได้กล่าวถึงอาหารไทยในสมัยนี้ว่า มีข้าวเป็นอาหารหลัก โดยกินร่วมกับกับข้าว ที่ส่วนใหญ่ได้มาจาก
ปลา มีเนื้อสัตว์อื่นบ้าง การปรุงอาหารได้ปรากฏคาว่า “แกง” ใน ไตรภูมิพระร่วงที่เป็นที่มาของคาว่า ข้าวหม้อแกง
หม้อ ผักที่กล่าวถึงในศิลาจารึก คือ แฟง แตงและน้าเต้า ส่วนอาหารหวานก็ใช้วัตถุดิบพื้นบ้าน เช่น ข้าวตอกและ
น้าผึ้งส่วนหนึ่งนิยมกินผลไม้แทนอาหารหวาน
++สมัยอยุธยา++
สมัยนี้ถือว่าเป็นยุคทองของไทยได้มีการติดต่อกับชาวต่างประเทศมากขึ้นทั้งชาวตะวันตกและ
ตะวันออกจากบันทึกเอกสารของชาวต่างประเทศ พบว่าคนไทยกินอาหารแบบเรียบง่ายยังคงมีปลาเป็นหลัก มีต้ม
แกงและคาดว่ามีการใช้น้ามันในการประกอบอาหารแต่เป็นน้ามันจากมะพร้าวและกะทิมากกว่าไขมันหรือน้ามัน
จากสัตว์มากขึ้น คนไทยสมัยนี้มีการถนอมอาหาร เช่นการนาไปตากแห้ง หรือทาเป็นปลาเค็ม มีอาหารประเภท
เครื่องจิ้ม เช่นน้าพริกกะปิ นิยมบริโภคสัตว์น้ามากกว่าสัตว์บก โดยเฉพาะสัตว์ใหญ่ไม่นิยมนามาฆ่าเพื่อใช้เป็น
อาหาร ได้มีการกล่าวถึงแกงปลาต่างๆ ที่ใช้เครื่องเทศ เช่น แกงที่ใส่หัวหอม กระเทียม สมุนไพรหวาน และ
เครื่องเทศแรงๆ ที่คาดว่านามาใช้ประกอบอาหารเพื่อดับกลิ่นคาวของเนื้อปลา
หลักฐานจากการบันทึกของบาทหลวงชาวต่างชาติที่แสดงให้เห็นว่าอาหารของชาติ ต่าง ๆ เริ่มเข้ามามากขึ้น
ในสมเด็จพระนารายณ์ เช่น ญี่ปุ่น โปรตุเกส เหล้าองุ่นจากสเปนเปอร์เซีย และฝรั่งเศส สาหรับอิทธิพลของอาหาร
4
จีนนั้นคาดว่าเริ่มมีมากขึ้นในช่วงยุคกรุงศรีอยุธยา ตอนปลายที่ ไทยตัดสัมพันธ์กับชาติตะวันตก ดังนั้นจึงกล่าวได้
ว่าอาหารไทยในสมัยอยุธยา ได้รับเอาวัฒนธรรมจากอาหารต่างชาติ โดยผ่านทางการมีสัมพันธไมตรีทั้งทางการทูต
และทางการค้ากับประเทศต่างๆ และจากหลักฐานที่ปรากฏทางประวัติศาสตร์ว่าอาหารต่างชาติส่วนใหญ่แพร่หลาย
อยู่ในราชสานัก ต่อมาจึงกระจายสู่ประชาชน และกลมกลืนกลายเป็นอาหารไทยไป ในที่สุด
++สมัยธนบุรี++
จากหลักฐานที่ปรากฏในหนังสือแม่ครัวหัวป่าก์ ซึ่งเป็นตาราการทากับข้าวเล่มที่ 2 ของไทย ของท่านผู้หญิง
เปลี่ยน ภาสกรวงษ์ พบความต่อเนื่องของวัฒนธรรมอาหารไทยจากกรุงสุโขทัยมาถึงสมัยอยุธย และสมัยกรุงธนบุรี
และยังเชื่อว่าเส้นทางอาหารไทยคงจะเชื่อมจากกรุงธนบุรีไปยังสมัยรัตนโกสินทร์ โดยผ่านทางหน้าที่ราชการและ
สังคมเครือญาติ และอาหารไทยสมัยกรุงธนบุรีน่าจะคล้ายคลึงกับสมัยอยุธยา แต่ที่พิเศษเพิ่มเติมคือมีอาหารประจา
ชาติจีน [แก้] สมัยรัตนโกสินทร์ การศึกษาความเป็นมาของอาหารไทยในยุครัตนโกสินทร์นี้ได้จาแนกตามยุคสมัยที่
นักประวัติศาสตร์ได้กาหนดไว้คือ ยุคที่ 1 ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 จนถึงรัชกาลที่ 3 และยุคที่ 2 ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4
จนถึงรัชกาลปัจจุบัน ดังนี้
++รัตนโกสินทร์++
สมัยรัตนโกสินทร์ ยุคที่ 1 (พ.ศ. 2325 – พ.ศ. 2394)
อาหารไทยในยุคนี้เป็นลักษณะเดียวกันกับสมัยธนบุรีแต่มีอาหารไทยเพิ่มขึ้นอีก 1 ประเภท คือ นอกจากมี
อาหารคาวอาหารหวานแล้วยังมีอาหารว่างเพิ่มขึ้น ในช่วงนี้อาหารไทยได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอาหารของ
ประเทศจีนมากขึ้น และมีการปรับเปลี่ยนเป็นอาหารไทย ในที่สุด จากจดหมายความทรงจาของกรมหลวงนรินทร
เทวี ที่กล่าวถึงเครื่องตั้งสารับคาวหวานของพระสงฆ์ ในงานสมโภชน์พระพุทธมณีรัตนมหาปฏิมากร (พระแก้ว
มรกต)
ได้แสดงให้เห็นว่ารายการอาหารนอกจากจะมีอาหารไทย เช่น ผัก น้าพริก ปลาแห้ง หน่อไม้ผัด แล้วยังมี
อาหารที่ปรุงด้วยเครื่องเทศแบบอิสลาม และมีอาหารจีนโดยสังเกตจากการใช้หมูเป็นส่วนประกอบ เนื่องจากหมู
เป็นอาหารที่คนไทยไม่นิยม แต่คนจีนนิยม
บทพระราชนิพนธ์กาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวานของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้ทรง
กล่าวถึงอาหารคาวและอาหารหวานหลายชนิด ซึ่งได้สะท้อนภาพของอาหารไทยในราชสานักที่ชัดเจนที่สุด ซึ่ง
แสดงให้เห็นลักษณะของอาหารไทยในราชสานักที่มีการปรุงกลิ่น และรสอย่างประณีต และให้ความสาคัญของ
รสชาติอาหารมากเป็นพิเศษ และถือว่าเป็นยุคสมัยที่มีศิลปะการประกอบอาหารที่ค่อนข้างสมบูรณ์ที่สุด ทั้งรส กลิ่น
สี และการตกแต่งให้สวยงามรวมทั้งมีการพัฒนาอาหารนานาชาติให้เป็นอาหารไทยจากบทพระราชนิพนธ์ทาให้ได้
รายละเอียดที่เกี่ยวกับการแบ่งประเภทของอาหาร คาวหรือกับข้าวและอาหารว่าง
ส่วนทีเป็นอาหารคาวได้แก่ แกงชนิดต่างๆ เครื่องจิ้ม ยาต่างๆ สาหรับอาหารว่างส่วนใหญ่เป็นอาหารว่าง
คาว ได้แก่ หมูแนม ล่าเตียง หรุ่ม รังนก ส่วนอาหารหวานส่วนใหญ่เป็นอาหารที่ทาด้วยแป้ งและไข่เป็นส่วนใหญ่ มี
ขนมที่มีลักษณะอบกรอบ เช่น ขนมผิง ขนมลาเจียก และมีขนมที่มีน้าหวานและกะทิเจืออยู่ด้วย ได้แก่ ซ่าหริ่ม บัว
ลอย เป็นต้น
นอกจากนี้ วรรณคดีไทย เรื่องขุนช้างขุนแผน ซึ่งถือว่าเป็นวรรณคดีที่สะท้อนวิถีชีวิตของคนในยุคนั้นอย่าง
มากรวมทั้ง เรื่องอาหารการกินของชาวบ้าน พบว่ามีความนิยมขนมจีนน้ายา และมีการกินข้าวเป็นอาหารหลัก
5
ร่วมกับกับข้าวประเภทต่างๆ ได้แก่ แกง ต้ม ยา และคั่ว อาหารมี ความหลากหลายมากขึ้นทั้งชนิดของอาหารคาว
และอาหารหวาน
สมัยรัตนโกสินทร์ ยุคที่ 2 (พ.ศ. 2394 – ปัจจุบัน)
ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 ประเทศไทยมีการพัฒนาอย่างมาก และมีการตั้งโรงพิมพ์แห่งแรกในประเทศไทย ดังนั้น
ตารับอาหารการกินของไทยเริ่มมีการบันทึกมากขึ้น โดยเฉพาะในสมัยรัชกาลที่ 5 เช่นในบทพระราชนิพนธ์เรื่อง
ไกลบ้าน จดหมายเหตุ เสด็จประพาสต้น เป็นต้น และยังมีบันทึกต่างๆ โดยผ่านการบอกเล่าสืบทอดทางเครือญาติ
และบันทึกที่เป็นทางการอื่น ๆ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ได้สะท้อนให้เห็นลักษณะของอาหารไทย ที่มีความหลากหลายทั้งที่
เป็น กับข้าวอาหารจานเดียว อาหารว่าง อาหารหวาน และอาหารนานาชาติ
ทั้งที่เป็นวิธีปรุงของราชสานัก และวิธีปรุงแบบชาวบ้านที่สืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน แต่เป็นที่น่าสังเกตว่า
อาหารไทยบางชนิดในปัจจุบันได้มีวิธีการปรุงหรือส่วน ประกอบของอาหารผิดเพี้ยนไปจากของดั้งเดิม จึงทาให้
รสชาติของอาหารไม่ใช่ตารับดั้งเดิม และขาดความประณีตที่น่าจะถือว่าเป็นเอกลักษณ์ที่สาคัญของอาหาร ไทย
-อาหารไทย 4 ภาค
1.ภาคกลาง
พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้าหลายสายไหลผ่าน ข้าวปลาอาหารจึงอุดมสมบูรณ์เกือบตลอดทั้งปี
รวมทั้งมีพืชผัก ผลไม้นานาชนิด ด้วยเหตุนี้อาหารภาคกลางจึงเป็นอาหารที่มีความหลากหลาย ทาให้รสชาติของ
อาหารภาคกลางไม่เน้นไปทางรสใดรสหนึ่งโดยเฉพาะ คือมีทั้งรสเค็ม เผ็ด เปรี้ยว และหวานคลุกเคล้าไปตามชนิด
ต่างๆของอาหาร นอกจากนี้มักมีการใช้เครื่องปรุงแต่งกลิ่นรส เช่น เครื่องเทศ และมักใช้กะทิเป็นส่วนประกอบของ
อาหาร
อาหารภาคกลางเป็นอาหารที่มักจะมีเครื่องเคียงของแนมร่วมรับประทานด้วย เช่น น้าพริกลงเรือ แนมด้วย
หมูหวาน น้าปลาหวานทานกับสะเดา เป็นต้น
จุดเด่นคือ อาหารภาคกลางมักจะมีการประดิษฐ์ สร้างสรรค์อย่างวิจิตรบรรจง ผัก และผลไม้มีการแกะสลักอย่าง
สวยงาม แสดงให้เห็นถึงความเป็นเอกลักษณ์ของอาหารไทยที่มีศิลปะและวัฒนธรรมที่งดงาม
2.ภาคใต้
พื้นที่ติดชายฝั่งทะเล ลักษณะภูมิประเทศเป็นแหลมยื่นลงไปในทะเล ประชากรส่วนใหญ่จึงนิยมทา
ประมง
ด้วยเหตุนี้อาหารหลักของภาคใต้จึงเป็นอาหารทะเลสด และนิยมใช้เครื่องเทศในการปรุงอาหาร รสชาติจะ
เผ็ดร้อน เค็มและเปรี้ยว เช่น แกงไตปลา แกงส้ม และแกงเหลือง เป็นต้น
อาหารภาคใต้นิยมทานควบคู่กับผักเพื่อช่วยลดความเผ็ดร้อนลง ซึ่งเรียกว่า ผักเหนาะ เช่น มะเขือเปราะ
ถั่วฝักยาว ถั่วพู สะตอเป็นต้น
6
3.ภาคเหนือ
เป็นดินแดนที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาแต่อดีต มีขนบธรรมเนียม ประเพณีที่แตกต่างไปจากภาคอื่นๆการ
รับประทานอาหารของทางภาคเหนือจะใช้โก๊ะข้าว หรือที่เรียกว่า ขันโตก แทน โต๊ะอาหาร โดยจะนั่งล้อมวงเพื่อ
รับประทานอาหารร่วมกัน
คนภาคเหนือจะรับประทานข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก โดยอาหารของทางภาคเหนือจะเป็นอาหารที่สุก
มากๆ และเป็นอาหารประเภทที่ผัดกับน้ามันเป็นส่วนใหญ่
4.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
เป็นดินแดนที่ค่อนข้างแห้งแล้ง ทาให้อาหารพื้นเมืองจึงเป็นอาหารพวกแมลงหลายชนิด ซึ่งเป็นแหล่ง
โปรตีนที่หล่อเลี้ยงชีวิตประชากรในภาคนี้
อาหารอีสานส่วนใหญ่จะมีข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก ส่วนพืชผัก และเนื้อสัตว์ที่นามาใช้ประกอบอาหาร
ได้มาจากภายในท้องถิ่นเป็นส่วนใหญ่
อาหารอีสานมักใช้ปลาร้าเป็นเครื่องปรุงรสในอาหารเกือบทุกชนิด แต่ไม่นิยมใส่ในอาหารประเภทผัด
และมักรับประทานคู่กับผักสด
-อาหารไทยที่ชาวต่างชาติชื่นชอบ
เนื่องจากรสชาติที่เป็นเอกลักษณ์และความอร่อยที่ไม่แพ้ชาติใดในโลก
เว็บไซต์ top-10-list.org จึงทาการจัดอันดับ 10 สุดยอดอาหารไทยที่ชาวต่างชาติคลั่งไคล้เป็นพิเศษ
อันดับที่ 10
Por Pia Tord or Fried Spring Roll
หรือ ปอเปี๊ยะทอดสุดอร่อยนั่นเอง
อันดับที่ 9
Gai Pad Met Mamuang or Cashew Nuts In Stir-Fried Chicken
หรือ ไก่ผัดเม็ดมะม่วงหิมพานต์ อาหารระดับตานานอีกจานของเมืองไทย
อันดับที่ 8
Som Tam or Spicy Papaya Salad
หรือ ส้มตา อาหารอีสานคลาสสิกที่ไม่มีใครไม่รู้จัก
อันดับที่ 7
Moo Sa-Te or Grilled Pork Sticks with Turmeric
หรือ หมูสะเต๊ะ อันหอมหวานพอดีลิ้น
อันดับที่ 6
Panaeng or Meat in Spicy Coconut Cream
หรือ พะแนง หวาน ๆ มัน ๆ เผ็ดเล็กน้อย พอปะแล่มลิ้น
อันดับที่ 5
Tom Yam Gai or Chicken Soup (Spicy)
หรือ ต้มยาไก่ อาหารจานเด็ดอีกรายการที่ถูกลิ้นถูกใจคนค่อนโลก
7
อันดับที่ 4
Tom Yam Goong or Spicy Shrimp Soup
หรือ ต้มยากุ้ง สุดยอดอาหารไทยที่รู้จักทั่วโลก ดังขนาดต้องเอาไปตั้งชื่อหนังขายฝรั่ง
อันดับที่ 3
Tom Kha Kai Or Chicken In Coconut Milk Soup
หรือ ต้มข่าไก่ รสชาติและกลิ่นอันหอมหวลที่ใครก็ยากจะปฏิเสธ
อันดับที่ 2
Kang Keaw Wan Kai or Chicken Curry (Green)
หรือ แกงเขียวหวานไก่ อาหารจานเด็ดที่ประยุกต์ให้รับประทานได้กับหลากหลายเมนู
อันดับที่ 1
Pad Thai
หรือ ผัดไทย ของโปรดของใครหลายคนที่ถือเป็นอาหารประจาชาติกันเลยทีเดียว
วิธีดาเนินงาน
แนวทางการดาเนินงาน
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
งบประมาณ
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
___________________________________________________________________
__________________________________________________________________
___________________________________________________________________
8
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน
ลาดับ
ที่
ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17
1 คิดหัวข้อโครงงาน
2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล
3 จัดทาโครงร่างงาน
4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน
5 ปรับปรุงทดสอบ
6 การทาเอกสารรายงาน
7 ประเมินผลงาน
8 นาเสนอโครงงาน
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
สถานที่ดาเนินการ
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
9
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน)
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________
_________________________________________________________________________

More Related Content

What's hot

2559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่22559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่2Gankorn Inpia
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานNareerat Wor
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3KruBeeKa
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1suparada
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์Manatchariyaa Thongmuangsak
 
ป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือJiranun Phahonthammasan
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานApeechanika
 
2562 final project 605 06
2562 final project 605 062562 final project 605 06
2562 final project 605 06KTPH2348
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5Manop Amphonyothin
 
ใบงาน 6
ใบงาน 6ใบงาน 6
ใบงาน 6Folk Sarit
 

What's hot (14)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่22559คอมงานคู่2
2559คอมงานคู่2
 
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงานใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
ใบงานที่ 6 โครงร่างโครงงาน
 
โครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponicโครงงาน Hydroponic
โครงงาน Hydroponic
 
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv303 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
03 แบบ ว-1ด-วณิชชาv3
 
โครงงานคอม1
โครงงานคอม1โครงงานคอม1
โครงงานคอม1
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างงานคอมพิวเตอร์
 
ป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือป่าที่ยังเหลือ
ป่าที่ยังเหลือ
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
2562 final project 605 06
2562 final project 605 062562 final project 605 06
2562 final project 605 06
 
กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5กิจกรรมที่5
กิจกรรมที่5
 
2559 project paradon
2559 project paradon2559 project paradon
2559 project paradon
 
ใบงาน 6
ใบงาน 6ใบงาน 6
ใบงาน 6
 

Similar to โดรงร่างงานคอม

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Supharat Rungsri
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานNicharee Kornkaew
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพpaifahnutya
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project T000 Ter
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5T000 Ter
 
ใบงาน6 โครงร่างรายงาน
ใบงาน6 โครงร่างรายงานใบงาน6 โครงร่างรายงาน
ใบงาน6 โครงร่างรายงานTeerawat Punyadang
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project Swl Sky
 
โครงงานคอม2
โครงงานคอม2โครงงานคอม2
โครงงานคอม2Kaopod Napatsorn
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project wisita42
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานKanokp Swn
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project Swl Sky
 
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์anmor aunttt
 
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียนโครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียนSuwanan Thipphimwong
 

Similar to โดรงร่างงานคอม (20)

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงานโครงร่างโครงงาน
โครงร่างโครงงาน
 
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพกิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
กิจกรรมที่5 อาหารที่มีประโยชน์ต่อสุขภาพ
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5ใบงานที่ 5
ใบงานที่ 5
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
ใบงาน6 โครงร่างรายงาน
ใบงาน6 โครงร่างรายงานใบงาน6 โครงร่างรายงาน
ใบงาน6 โครงร่างรายงาน
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
2557 โครงงาน
2557 โครงงาน2557 โครงงาน
2557 โครงงาน
 
History of the world
History of the worldHistory of the world
History of the world
 
โครงงานคอม2
โครงงานคอม2โครงงานคอม2
โครงงานคอม2
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
2559 project
2559 project 2559 project
2559 project
 
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
กิจกรรมที่ 5 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียนโครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
โครงงาน อาหารประจำชาตฺอาเซียน
 
โรค
โรคโรค
โรค
 
Thanayut10 611
Thanayut10 611Thanayut10 611
Thanayut10 611
 

โดรงร่างงานคอม

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33201-33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2560 ชื่อโครงงาน รสใหนที่ใช่! ชื่อผู้ทาโครงงาน 1.นางสาว กนกพร ไชยโย เลขที่ 8 ชั้น ม.6 ห้อง 4 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม นางสาวกนกพร ไชยโย เลขที่ 8 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) รสใหนที่ใช่! ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) THE TASTE IS RIGHT! ประเภทโครงงาน สารวจ และรวบรวมข้อมูล ชื่อผู้ทาโครงงาน นางสาวกนกพร ไชยโย ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2560 ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ปัจจุบันประเทศไทยของเรามีนักท่องเที่ยวทั้งเอเชียเอง จนกระแถบเมืองผู้ดี ก็ต่างมีจานวนมาขึ้นเหมือน ดอกเห็น เวลามีคนไปสาภาษณ์พวกเขาเหล่านั้นว่า เหตุใดที่คุณเลือกที่จะนาเม็ดเงินมาท่องเที่ยวในประเทศไทย แทนที่จะไปท่องเที่ยวประเทศอื่น ก็มักจะได้คาตอบกลับมาคล้ายๆกันเกือบทุกคนคือ ประเทศไทยเต็มไปด้วย ประวัติศาสตร์และวัฌธรรมอันทรงคุณค่า เมืองมีแต่คนใจดีชอบช่วยเหลือ เมืองไทยไปใหนมีแต่คนมีความสุข หรือ เขาต้องการมาท่องเที่ยวเพราะศิลปะการต่อสื่อมวยไทยอันเป็นเอกลักษณืของชาติใครจัรู้อีกว่าพวกเขาเหล่านั้น มักจะบอกเหตุผลที่เขามาท่องเที่ยวในไทยอีกข้อหนึ่งคือ เขาถูกใจรสชาติของอาหารไทย ชาวต่างชาติส่วนใหญ่ มักจะพูดเป็นเสียงเดียวกันว่าอาหารอร่อย เพราะวิธีการทาที่ละเอียดอ่อนและซับซ้อน หอมเครื่องเทศ อีกยังมีผัก สมุนไพรนาๆชนิด ยากที่จะมีชาติไดทาเหมือน ดังนั้นอาหารไทยเสมือนเป็นอีกหนึ่งเอกลักษณ์ที่เป็นแรงดึงดูด ชาวต่างชาติมาท่องเที่ยวที่ไทย บางคนถึงกับติดใจในรสปลายจวักของสาวไทยจน ต้องมาอยู่กินที่เมืองไทยเลยที่ เดียว ด้วยเหตุนี้อาหารของไทยจึงเป็นที่ยอมรับจากคนทั่วไปว่าอร่อยจนและแกงมัสมันของไทยก็ได้รับการจัด อันดับอาหารที่อร่อยที่สุดในโลก เป็นอันดับหนึ่งอีกด้วย แล้วเราจะพัฒนาอาหารไทยอย่าไรให้อร่อยและถูกปากคน ต่างชาติมากขึ้นเพื่อที่คนทุกที่ ทุกหนทุกแห่งบนโลกนี้รู้ว่าอาหารไทยอร่อยแค่ใหน
  • 3. 3 วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 1. เพื่อให้ทราบถึงอาหารที่คนต่างชาตินิยม 2. เพื่อที่จะพัฒนาร้านขายอาหารให้มีลูกค้าเพิ่มมากขึ้น 3. เพื่อเป็นการส่งเสริมการบริโภคอาหารไทย 4. สามารถช่วยให้ร้านปรุงรสอาหารตามที่ลูกค้าต่างชาติชื่นชอบ ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) -ชาวต่างชาติทั่วไป -ร้านอาหาร หลักการและทฤษฎี(ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) -ประวัติความเป็นมาของอาหารไทย สารับอาหารไทย อาหารไทย เป็นอาหารประจาของชนชาติไทย ที่มีการสั่งสมและถ่ายทอดมาอย่างต่อเนื่องตั้งแต่อดีต จน เป็นเอกลักษณ์ประจาชาติถือได้ว่าอาหารไทยเป็นวัฒนธรรมประจาชาติที่สาคัญของไทย ขณะที่อาหารพื้นบ้าน หมายถึง อาหารที่นิยมรับประทานกันเฉพาะท้องถิ่น ซึ่งเป็นอาหารที่ทาขึ้นได้ง่าย โดยอาศัยพืชผักหรือเครื่อง ประกอบอาหารที่มีอยู่ในท้องถิ่นมีการสืบทอดวิธีปรุงและการรับประทานต่อๆ กันมา จุดกาเนิดอาหารไทย อาหาร ไทยมีจุดกาเนิดพร้อมกับการตั้งชนชาติไทย และมีการพัฒนาอย่างต่อเนื่องมาตั้งแต่สมัยสุโขทัยจนถึงปัจจุบัน เรื่อง ความเป็นมาของอาหารไทยยุคต่างๆ ++สมัยสุโขทัย++ อาหารไทยในสมัยสุโขทัยได้อาศัยหลักฐานจากศิลาจารึกและวรรณคดี สาคัญคือ ไตรภูมิพระร่วงของ พญาลิไท ที่ได้กล่าวถึงอาหารไทยในสมัยนี้ว่า มีข้าวเป็นอาหารหลัก โดยกินร่วมกับกับข้าว ที่ส่วนใหญ่ได้มาจาก ปลา มีเนื้อสัตว์อื่นบ้าง การปรุงอาหารได้ปรากฏคาว่า “แกง” ใน ไตรภูมิพระร่วงที่เป็นที่มาของคาว่า ข้าวหม้อแกง หม้อ ผักที่กล่าวถึงในศิลาจารึก คือ แฟง แตงและน้าเต้า ส่วนอาหารหวานก็ใช้วัตถุดิบพื้นบ้าน เช่น ข้าวตอกและ น้าผึ้งส่วนหนึ่งนิยมกินผลไม้แทนอาหารหวาน ++สมัยอยุธยา++ สมัยนี้ถือว่าเป็นยุคทองของไทยได้มีการติดต่อกับชาวต่างประเทศมากขึ้นทั้งชาวตะวันตกและ ตะวันออกจากบันทึกเอกสารของชาวต่างประเทศ พบว่าคนไทยกินอาหารแบบเรียบง่ายยังคงมีปลาเป็นหลัก มีต้ม แกงและคาดว่ามีการใช้น้ามันในการประกอบอาหารแต่เป็นน้ามันจากมะพร้าวและกะทิมากกว่าไขมันหรือน้ามัน จากสัตว์มากขึ้น คนไทยสมัยนี้มีการถนอมอาหาร เช่นการนาไปตากแห้ง หรือทาเป็นปลาเค็ม มีอาหารประเภท เครื่องจิ้ม เช่นน้าพริกกะปิ นิยมบริโภคสัตว์น้ามากกว่าสัตว์บก โดยเฉพาะสัตว์ใหญ่ไม่นิยมนามาฆ่าเพื่อใช้เป็น อาหาร ได้มีการกล่าวถึงแกงปลาต่างๆ ที่ใช้เครื่องเทศ เช่น แกงที่ใส่หัวหอม กระเทียม สมุนไพรหวาน และ เครื่องเทศแรงๆ ที่คาดว่านามาใช้ประกอบอาหารเพื่อดับกลิ่นคาวของเนื้อปลา หลักฐานจากการบันทึกของบาทหลวงชาวต่างชาติที่แสดงให้เห็นว่าอาหารของชาติ ต่าง ๆ เริ่มเข้ามามากขึ้น ในสมเด็จพระนารายณ์ เช่น ญี่ปุ่น โปรตุเกส เหล้าองุ่นจากสเปนเปอร์เซีย และฝรั่งเศส สาหรับอิทธิพลของอาหาร
  • 4. 4 จีนนั้นคาดว่าเริ่มมีมากขึ้นในช่วงยุคกรุงศรีอยุธยา ตอนปลายที่ ไทยตัดสัมพันธ์กับชาติตะวันตก ดังนั้นจึงกล่าวได้ ว่าอาหารไทยในสมัยอยุธยา ได้รับเอาวัฒนธรรมจากอาหารต่างชาติ โดยผ่านทางการมีสัมพันธไมตรีทั้งทางการทูต และทางการค้ากับประเทศต่างๆ และจากหลักฐานที่ปรากฏทางประวัติศาสตร์ว่าอาหารต่างชาติส่วนใหญ่แพร่หลาย อยู่ในราชสานัก ต่อมาจึงกระจายสู่ประชาชน และกลมกลืนกลายเป็นอาหารไทยไป ในที่สุด ++สมัยธนบุรี++ จากหลักฐานที่ปรากฏในหนังสือแม่ครัวหัวป่าก์ ซึ่งเป็นตาราการทากับข้าวเล่มที่ 2 ของไทย ของท่านผู้หญิง เปลี่ยน ภาสกรวงษ์ พบความต่อเนื่องของวัฒนธรรมอาหารไทยจากกรุงสุโขทัยมาถึงสมัยอยุธย และสมัยกรุงธนบุรี และยังเชื่อว่าเส้นทางอาหารไทยคงจะเชื่อมจากกรุงธนบุรีไปยังสมัยรัตนโกสินทร์ โดยผ่านทางหน้าที่ราชการและ สังคมเครือญาติ และอาหารไทยสมัยกรุงธนบุรีน่าจะคล้ายคลึงกับสมัยอยุธยา แต่ที่พิเศษเพิ่มเติมคือมีอาหารประจา ชาติจีน [แก้] สมัยรัตนโกสินทร์ การศึกษาความเป็นมาของอาหารไทยในยุครัตนโกสินทร์นี้ได้จาแนกตามยุคสมัยที่ นักประวัติศาสตร์ได้กาหนดไว้คือ ยุคที่ 1 ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 1 จนถึงรัชกาลที่ 3 และยุคที่ 2 ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 จนถึงรัชกาลปัจจุบัน ดังนี้ ++รัตนโกสินทร์++ สมัยรัตนโกสินทร์ ยุคที่ 1 (พ.ศ. 2325 – พ.ศ. 2394) อาหารไทยในยุคนี้เป็นลักษณะเดียวกันกับสมัยธนบุรีแต่มีอาหารไทยเพิ่มขึ้นอีก 1 ประเภท คือ นอกจากมี อาหารคาวอาหารหวานแล้วยังมีอาหารว่างเพิ่มขึ้น ในช่วงนี้อาหารไทยได้รับอิทธิพลจากวัฒนธรรมอาหารของ ประเทศจีนมากขึ้น และมีการปรับเปลี่ยนเป็นอาหารไทย ในที่สุด จากจดหมายความทรงจาของกรมหลวงนรินทร เทวี ที่กล่าวถึงเครื่องตั้งสารับคาวหวานของพระสงฆ์ ในงานสมโภชน์พระพุทธมณีรัตนมหาปฏิมากร (พระแก้ว มรกต) ได้แสดงให้เห็นว่ารายการอาหารนอกจากจะมีอาหารไทย เช่น ผัก น้าพริก ปลาแห้ง หน่อไม้ผัด แล้วยังมี อาหารที่ปรุงด้วยเครื่องเทศแบบอิสลาม และมีอาหารจีนโดยสังเกตจากการใช้หมูเป็นส่วนประกอบ เนื่องจากหมู เป็นอาหารที่คนไทยไม่นิยม แต่คนจีนนิยม บทพระราชนิพนธ์กาพย์เห่เรือชมเครื่องคาวหวานของพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัยได้ทรง กล่าวถึงอาหารคาวและอาหารหวานหลายชนิด ซึ่งได้สะท้อนภาพของอาหารไทยในราชสานักที่ชัดเจนที่สุด ซึ่ง แสดงให้เห็นลักษณะของอาหารไทยในราชสานักที่มีการปรุงกลิ่น และรสอย่างประณีต และให้ความสาคัญของ รสชาติอาหารมากเป็นพิเศษ และถือว่าเป็นยุคสมัยที่มีศิลปะการประกอบอาหารที่ค่อนข้างสมบูรณ์ที่สุด ทั้งรส กลิ่น สี และการตกแต่งให้สวยงามรวมทั้งมีการพัฒนาอาหารนานาชาติให้เป็นอาหารไทยจากบทพระราชนิพนธ์ทาให้ได้ รายละเอียดที่เกี่ยวกับการแบ่งประเภทของอาหาร คาวหรือกับข้าวและอาหารว่าง ส่วนทีเป็นอาหารคาวได้แก่ แกงชนิดต่างๆ เครื่องจิ้ม ยาต่างๆ สาหรับอาหารว่างส่วนใหญ่เป็นอาหารว่าง คาว ได้แก่ หมูแนม ล่าเตียง หรุ่ม รังนก ส่วนอาหารหวานส่วนใหญ่เป็นอาหารที่ทาด้วยแป้ งและไข่เป็นส่วนใหญ่ มี ขนมที่มีลักษณะอบกรอบ เช่น ขนมผิง ขนมลาเจียก และมีขนมที่มีน้าหวานและกะทิเจืออยู่ด้วย ได้แก่ ซ่าหริ่ม บัว ลอย เป็นต้น นอกจากนี้ วรรณคดีไทย เรื่องขุนช้างขุนแผน ซึ่งถือว่าเป็นวรรณคดีที่สะท้อนวิถีชีวิตของคนในยุคนั้นอย่าง มากรวมทั้ง เรื่องอาหารการกินของชาวบ้าน พบว่ามีความนิยมขนมจีนน้ายา และมีการกินข้าวเป็นอาหารหลัก
  • 5. 5 ร่วมกับกับข้าวประเภทต่างๆ ได้แก่ แกง ต้ม ยา และคั่ว อาหารมี ความหลากหลายมากขึ้นทั้งชนิดของอาหารคาว และอาหารหวาน สมัยรัตนโกสินทร์ ยุคที่ 2 (พ.ศ. 2394 – ปัจจุบัน) ตั้งแต่สมัยรัชกาลที่ 4 ประเทศไทยมีการพัฒนาอย่างมาก และมีการตั้งโรงพิมพ์แห่งแรกในประเทศไทย ดังนั้น ตารับอาหารการกินของไทยเริ่มมีการบันทึกมากขึ้น โดยเฉพาะในสมัยรัชกาลที่ 5 เช่นในบทพระราชนิพนธ์เรื่อง ไกลบ้าน จดหมายเหตุ เสด็จประพาสต้น เป็นต้น และยังมีบันทึกต่างๆ โดยผ่านการบอกเล่าสืบทอดทางเครือญาติ และบันทึกที่เป็นทางการอื่น ๆ ซึ่งข้อมูลเหล่านี้ได้สะท้อนให้เห็นลักษณะของอาหารไทย ที่มีความหลากหลายทั้งที่ เป็น กับข้าวอาหารจานเดียว อาหารว่าง อาหารหวาน และอาหารนานาชาติ ทั้งที่เป็นวิธีปรุงของราชสานัก และวิธีปรุงแบบชาวบ้านที่สืบทอดมาจนถึงปัจจุบัน แต่เป็นที่น่าสังเกตว่า อาหารไทยบางชนิดในปัจจุบันได้มีวิธีการปรุงหรือส่วน ประกอบของอาหารผิดเพี้ยนไปจากของดั้งเดิม จึงทาให้ รสชาติของอาหารไม่ใช่ตารับดั้งเดิม และขาดความประณีตที่น่าจะถือว่าเป็นเอกลักษณ์ที่สาคัญของอาหาร ไทย -อาหารไทย 4 ภาค 1.ภาคกลาง พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม มีแม่น้าหลายสายไหลผ่าน ข้าวปลาอาหารจึงอุดมสมบูรณ์เกือบตลอดทั้งปี รวมทั้งมีพืชผัก ผลไม้นานาชนิด ด้วยเหตุนี้อาหารภาคกลางจึงเป็นอาหารที่มีความหลากหลาย ทาให้รสชาติของ อาหารภาคกลางไม่เน้นไปทางรสใดรสหนึ่งโดยเฉพาะ คือมีทั้งรสเค็ม เผ็ด เปรี้ยว และหวานคลุกเคล้าไปตามชนิด ต่างๆของอาหาร นอกจากนี้มักมีการใช้เครื่องปรุงแต่งกลิ่นรส เช่น เครื่องเทศ และมักใช้กะทิเป็นส่วนประกอบของ อาหาร อาหารภาคกลางเป็นอาหารที่มักจะมีเครื่องเคียงของแนมร่วมรับประทานด้วย เช่น น้าพริกลงเรือ แนมด้วย หมูหวาน น้าปลาหวานทานกับสะเดา เป็นต้น จุดเด่นคือ อาหารภาคกลางมักจะมีการประดิษฐ์ สร้างสรรค์อย่างวิจิตรบรรจง ผัก และผลไม้มีการแกะสลักอย่าง สวยงาม แสดงให้เห็นถึงความเป็นเอกลักษณ์ของอาหารไทยที่มีศิลปะและวัฒนธรรมที่งดงาม 2.ภาคใต้ พื้นที่ติดชายฝั่งทะเล ลักษณะภูมิประเทศเป็นแหลมยื่นลงไปในทะเล ประชากรส่วนใหญ่จึงนิยมทา ประมง ด้วยเหตุนี้อาหารหลักของภาคใต้จึงเป็นอาหารทะเลสด และนิยมใช้เครื่องเทศในการปรุงอาหาร รสชาติจะ เผ็ดร้อน เค็มและเปรี้ยว เช่น แกงไตปลา แกงส้ม และแกงเหลือง เป็นต้น อาหารภาคใต้นิยมทานควบคู่กับผักเพื่อช่วยลดความเผ็ดร้อนลง ซึ่งเรียกว่า ผักเหนาะ เช่น มะเขือเปราะ ถั่วฝักยาว ถั่วพู สะตอเป็นต้น
  • 6. 6 3.ภาคเหนือ เป็นดินแดนที่มีความเจริญรุ่งเรืองมาแต่อดีต มีขนบธรรมเนียม ประเพณีที่แตกต่างไปจากภาคอื่นๆการ รับประทานอาหารของทางภาคเหนือจะใช้โก๊ะข้าว หรือที่เรียกว่า ขันโตก แทน โต๊ะอาหาร โดยจะนั่งล้อมวงเพื่อ รับประทานอาหารร่วมกัน คนภาคเหนือจะรับประทานข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก โดยอาหารของทางภาคเหนือจะเป็นอาหารที่สุก มากๆ และเป็นอาหารประเภทที่ผัดกับน้ามันเป็นส่วนใหญ่ 4.ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เป็นดินแดนที่ค่อนข้างแห้งแล้ง ทาให้อาหารพื้นเมืองจึงเป็นอาหารพวกแมลงหลายชนิด ซึ่งเป็นแหล่ง โปรตีนที่หล่อเลี้ยงชีวิตประชากรในภาคนี้ อาหารอีสานส่วนใหญ่จะมีข้าวเหนียวเป็นอาหารหลัก ส่วนพืชผัก และเนื้อสัตว์ที่นามาใช้ประกอบอาหาร ได้มาจากภายในท้องถิ่นเป็นส่วนใหญ่ อาหารอีสานมักใช้ปลาร้าเป็นเครื่องปรุงรสในอาหารเกือบทุกชนิด แต่ไม่นิยมใส่ในอาหารประเภทผัด และมักรับประทานคู่กับผักสด -อาหารไทยที่ชาวต่างชาติชื่นชอบ เนื่องจากรสชาติที่เป็นเอกลักษณ์และความอร่อยที่ไม่แพ้ชาติใดในโลก เว็บไซต์ top-10-list.org จึงทาการจัดอันดับ 10 สุดยอดอาหารไทยที่ชาวต่างชาติคลั่งไคล้เป็นพิเศษ อันดับที่ 10 Por Pia Tord or Fried Spring Roll หรือ ปอเปี๊ยะทอดสุดอร่อยนั่นเอง อันดับที่ 9 Gai Pad Met Mamuang or Cashew Nuts In Stir-Fried Chicken หรือ ไก่ผัดเม็ดมะม่วงหิมพานต์ อาหารระดับตานานอีกจานของเมืองไทย อันดับที่ 8 Som Tam or Spicy Papaya Salad หรือ ส้มตา อาหารอีสานคลาสสิกที่ไม่มีใครไม่รู้จัก อันดับที่ 7 Moo Sa-Te or Grilled Pork Sticks with Turmeric หรือ หมูสะเต๊ะ อันหอมหวานพอดีลิ้น อันดับที่ 6 Panaeng or Meat in Spicy Coconut Cream หรือ พะแนง หวาน ๆ มัน ๆ เผ็ดเล็กน้อย พอปะแล่มลิ้น อันดับที่ 5 Tom Yam Gai or Chicken Soup (Spicy) หรือ ต้มยาไก่ อาหารจานเด็ดอีกรายการที่ถูกลิ้นถูกใจคนค่อนโลก
  • 7. 7 อันดับที่ 4 Tom Yam Goong or Spicy Shrimp Soup หรือ ต้มยากุ้ง สุดยอดอาหารไทยที่รู้จักทั่วโลก ดังขนาดต้องเอาไปตั้งชื่อหนังขายฝรั่ง อันดับที่ 3 Tom Kha Kai Or Chicken In Coconut Milk Soup หรือ ต้มข่าไก่ รสชาติและกลิ่นอันหอมหวลที่ใครก็ยากจะปฏิเสธ อันดับที่ 2 Kang Keaw Wan Kai or Chicken Curry (Green) หรือ แกงเขียวหวานไก่ อาหารจานเด็ดที่ประยุกต์ให้รับประทานได้กับหลากหลายเมนู อันดับที่ 1 Pad Thai หรือ ผัดไทย ของโปรดของใครหลายคนที่ถือเป็นอาหารประจาชาติกันเลยทีเดียว วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ งบประมาณ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
  • 8. 8 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดับ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอบ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้าข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้างโครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ สถานที่ดาเนินการ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________
  • 9. 9 _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________