SlideShare a Scribd company logo
1 of 227
Download to read offline
การสอนภาษาไทย
ในฐานะภาษาต่างประเทศ
ของสถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวปฐมมาวดี ทายะ รหัสประจาตัวนิสิต 5681124031
2. นางสาวนิพาพร หนิ้วยะวงศ์ รหัสประจาตัวนิสิต 5681124032
3. นางสาวรัตนา ดาสกุล รหัสประจาตัวนิสิต 5681124035
4. นางสาวพินทุสร นาสินเพิ่ม รหัสประจาตัวนิสิต 5681124037
5. นายฐานันดร จูทิม รหัสประจาตัวนิสิต 5681124040
6.นางสาวพิมพ์ใจ ยังอุ่น รหัสประจาตัวนิสิต 5681124047
7. นางสาวจริญญา ชัยบิน รหัสประจาตัวนิสิต 5681124048
8. นางสาวธณัฐฐา ชินบุตร รหัสประจาตัวนิสิต 5681124065
มหาวิทยาลัยรัฐบาล
1. จ่ฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ผู้เรียน
สาหรับผู้เรียนที่เป็นคนไทยและเป็นคนต่างประเทศ
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะอักษรศาสตร์ หลักสูตรนานาชาติ สาขาไทยศึกษา (M.A. in
Thai Studies) ได้เปิดการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่าง
ประเทศในระดับชั้นปริญญาโทและปริญญาเอก
แหลุงข้อมูล
http://www.arts.chula.ac.th/CTFL/
2. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะมนุษยศาสตร์ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
เพื่อการสื่อสารสาหรับชาวต่างประเทศ (หลักสูตรนานาชาติ) ภาควิชา
ภาษาไทย (Bachelor of Arts Program in Communicative Thai Language for
Foreigners (International Program))
การจัดการเรียนการสอน
การจัดการศึกษา เป็นการศึกษาแบบเต็มเวลา (Full time) ในระบบ
ทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาประกอบด้วย 2 ภาคการศึกษา ได้แก่ ภาคต้น
และภาคปลาย และหลักสูตรสามารถจัดการศึกษาฤดูร้อนเป็นพิเศษ นิสิต
สามารถลงทะเบียนได้ไม่เกิน 22 หน่วยกิตต่อภาคการศึกษา ยกเว้นภาคฤดู
ร้อน ระดับปริญญาตรีใช้ระยะเวลาในการศึกษาจนสาเร็จการศึกษาอย่าง
น้อย 8 ภาคการศึกษา และอย่างมากไม่เกิน 8 ปีการศึกษา จานวนหน่วยกิต
ที่จะศึกษาไม่น้อยกว่า 135 หน่วยกิต
ผู้เรียน
เป็นผู้ที่ไม่มีสัญชาติไทย หรือคนไทยที่ไม่มีสัญชาติไทยและไม่ได้เรียน
ภาษาไทย
เป็นผู้มีความรู้ความสามารถทางภาษาไทยในระดับสื่อสารเบื้องต้นได้
โดยผ่านการทดสอบวัดระดับ ความสามารถทางภาษาไทยที่ภาควิชาจัด
สอบ หรือ ผ่านการพิจารณาของภาควิชา
ผู้ที่ไม่ผ่านการพิจารณา หรือผู้ที่ไม่มีความรู้ภาษาไทยมาก่อนจะต้องเข้า
อบรมในโครงการเตรียมความพร้อมวิชาภาษาไทย เพื่อเข้าศึกษาใน
หลักสูตรฯ
แหลุงข้อมูล
http://www.ku.ac.th/web2012/resources/upload/content/fil
es/announce_forieng_2556.pdf
http://www.ku.ac.th/web2012/resources/upload/content/files/%E0%B8%A0%E0
%B8%B2%E0%B8%A9%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%
A2%E0%B9%80%E0%B8%9E%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0
%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AA%E0%B8%B7%E0%B9%
88%E0%B8%AD%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%AF_51(
1).pdf
3. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
หลักสูตรที่เปิดสอน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
- สาขาวิชาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา (Bachelor of ArtsProgram
in Southeast Asian Studies) ซึ่งพบในรายวิชาภาษาไทยในฐานะภาษาต่าง
ประเทศ แบ่งเป็นระดับต้น ระดับกลางและระดับสูง
- สาขาวิชาภาษาไทย (Bachelor of Arts Program in Thai) พบใน
รายวิชา ท.498 วิธีการสอนภาษาไทยแก่ชาวต่างประเทศ จานวน 3 หน่วย
กิต (TH 498 Methods of Teaching Thai to Foreigners)
การจัดการเรียนการสอน
อศ.296 ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศระดับต้น 1
- โครงสร้างพื้นฐานภาษาไทยระดับต้น ด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน
อศ.297 ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศระดับต้น 2
- วิชาบังคับก่อน : สอบได้ อศ. 296
- โครงสร้างพื้นฐานภาษาไทยระดับต้น เพื่อสร้างพื้นฐานด้านการ
ฟัง พูด อ่าน เขียน ภาษาไทยต่อเนื่องจากระดับต้น 1
สาขาวิชาเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ศึกษา
การจัดการเรียนการสอน (ต่อ)
อศ.396 ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศระดับกลาง 1
- วิชาบังคับก่อน : สอบได้ อศ. 297
ทักษะด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน และโครงสร้างภาษาไทยที่
ซับซ้อนในระดับที่สูงกว่าในระดับต้น
อศ.397 ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศระดับกลาง 2
- วิชาบังคับก่อน : สอบได้ อศ. 396
- ทักษะด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน และโครงสร้างภาษาไทยที่
ซับซ้อนในระดับที่สูงกว่าในระดับกลาง 1
การจัดการเรียนการสอน (ต่อ)
อศ.498 ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศระดับสูง 1
- วิชาบังคับก่อน : สอบได้ อศ. 397
- ทักษะด้านการฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาไทยระดับสูง
อศ.499 ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศระดับสูง 2
- วิชาบังคับก่อน : สอบได้ อศ. 498
- ทักษะด้านการฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาไทยระดับสูงต่อเนื่องจาก
ระดับสูง 1
• รูปแบบ
- หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
• ภาษาที่ใช้
- หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย
• การรับเข้าศึกษา
- รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
รูปแบบของหลักสูตร
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
อาจารย์
นักวิจัย/ นักวิชาการด้านเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
บรรณาธิการ
มัคคุเทศก์
ข้าราชการ และพนักงานของรัฐในกระทรวง องค์การมหาชนที่เกี่ยวข้องกับ
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
นักเขียน/ นักวิจารณ์
นักข่าว ผู้สื่อข่าว และผู้รายงานข่าว
การจัดการเรียนการสอน
ท.498 วิธีการสอนภาษาไทยแก่ชาวต่างประเทศ
(TH498 Methods of Teaching Thai to Foreigners)
วิชาบังคับก่อน : สอบได้ ท.201 หรือได้รับอนุมัติจากภาควิชาภาษาไทย
ทฤษฎีและวิธีการสอนภาษาไทยในด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน
แก่ชาวต่างประเทศ
สาขาวิชาภาษาไทย
• รูปแบบ
- หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
• ภาษาที่ใช้
- หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย
• การรับเข้าศึกษา
- รับเฉพาะนักศึกษาไทย
รูปแบบของหลักสูตร
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
อาจารย์
นักเขียน/นักวิจารณ์
เลขานุการ
บรรณาธิการ
นักประชาสัมพันธ์/นักโฆษณา
นักข่าว
ผู้ประกาศทางโทรทัศน์/วิทยุ
นักวิจัย/นักวิชาการด้านภาษา วรรณกรรม และวัฒนธรรมไทย
แหลุงข้อมูล
https://www.google.co.th/url?sa=t&rct=j&q=&esrc=s&source=w
eb&cd=4&cad=rja&uact=8&ved=0ahUKEwjet92HvMTRAhXBRI8
KHec2BRsQFggwMAM&url=https%3A%2F%2Fweb.reg.tu.ac.t
h%2Fregistrar%2F_link%2F_8_knowledge%2Fcurric_cd%2Fcurr
ic_ba%2F56%2FBA56_EX_06_SE.doc&usg=AFQjCNEsdNJZKZq
5FKzYQ7_LWPpn9ZnVJQ&sig2=MBypENwZvuQBR6Ano6sePQ
&bvm=bv.144224172,d.c2I
4. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชา
ภาษาไทยและภาษาตะวันออก แขนงวิชาการสอนภาษาไทยในฐานะ
ภาษาต่างประเทศ (Teaching Thai as a Foreign Language) ในระดับ
บัณฑิตศึกษา ระดับปริญญาตรี และระดับปริญญาโท
การจัดการเรียนการสอนและผู้เรียน
• ระดับบัณฑิตศึกษา (Postgraduate)
1. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) สาขาภาษาไทย (M.A.
in Thai) แขนงสาขาวิชาการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
2. หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (ศศ.ม.) สาขาการสอน
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (M.A. in Teaching Thai as a Foreign
Language)
การจัดการเรียนการสอนและผู้เรียน (ต่อ)
• ระดับปริญญาตรี
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต (BA. in Thai) สาขาวิชาภาษาไทย (ศศ.บ.
4 ปี) วิชาเอกภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับชาวต่างประเทศ
(Communicative Thai for Foreigners) สาหรับผู้เรียนชาวต่างประเทศที่
ต้องการศึกษาภาษาและวัฒนธรรมไทยให้เข้าใจอย่างถ่องแท้
• รูปแบบ
- หลักสูตรระดับปริญญาตรี 4 ปี
• ภาษาที่ใช้
- หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย
• การรับเข้าศึกษา
- รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติ
รูปแบบของหลักสูตร
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
หลักสูตรนี้สร้างขึ้นเพื่อให้นิสิตที่สาเร็จการศึกษาสามารถประกอบ
อาชีพได้ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน เช่น นักวิชาการ อาจารย์ นักวิจัยทาง
ภาษาไทย นักเขียนนักวิจารณ์ บรรณาธิการ นักสื่อสารมวลชน มัคคุเทศก์
ล่าม ประชาสัมพันธ์ เป็นต้นรวมทั้งการประกอบอาชีพอิสระตามความถนัด
ของตน
การจัดการเรียนการสอนและผู้เรียน (ต่อ)
• ระดับปริญญาโท
หลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต (Master of Arts (Thai)) วิชาเอก/
แขนงวิชา การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (Teaching Thai as a
Foreign Language)
• รูปแบบ
- หลักสูตรระดับปริญญาโท แบบ ก 2
• ภาษาที่ใช้
- จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
• การรับเข้าศึกษา
- รับผู้เข้าศึกษาชาวไทยและชาวต่างประเทศที่สามารถใช้
ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี
รูปแบบของหลักสูตร
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
สามารถประกอบอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการใช้ภาษาไทย วรรณกรรมไทย
คติชนวิทยาและการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ ทั้งในภาครัฐและ
เอกชน
ครู อาจารย์ภาษาไทยทุกระดับ
นักวิชาการและนักวิจัย
ผู้สอนภาษาไทยแก่ชาวต่างประเทศ
ผู้ประกอบอาชีพอิสระ เช่น บรรณาธิการ นักวิจารณ์ ผู้สื่อข่าว เป็นต้น
โครงการเตรียมความพร้อมภาษาไทยแบบเข้มสาหรับนิสิตนานาชาติ
(Preparatory Intensive Thai Language Program for International Students-PTPI)
- สอนภาษาไทยแบบเข้มสาหรับชาวต่างประเทศที่ต้องการจะเข้าศึกษา
ต่อในหลักสูตรปกติของ มศว หรือของมหาวิทยาลัยอื่นๆ ที่ใช้ภาษาไทยในการ
เรียนการสอน เป็นหลักสูตร 9 เดือนรวมเวลาเรียนทั้งสิ้น 900 ชั่วโมง แบ่ง
ออกเป็น 3 ระดับ ๆ ละ 300 ชั่วโมง
- เรียนวันจันทร์ - ศุกร์ เวลา 09.00 - 15.30 น. (วันละ 5 ช.ม. รวม 25
ช.ม./สัปดาห์)
- สาหรับผู้มีพื้นความรู้ภาษาไทยมาก่อนจะทดสอบเพื่อจัดระดับก่อนให้
เข้าเรียน
การจัดอบรมหลักสูตร
แหลุงข้อมูล
http://en.hu.swu.ac.th/Portals/9/files/programs.pdf
5. มหาวิทยาลัยมหิดล
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย (Bachelor of Arts Program in Thai) พบในรายวิชา
- ศศภท ๔๗๒ การสอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศ
- ศศภท ๔๗๓ การสอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศ ๒
การจัดการเรียนการสอน
รายวิชา ศศภท ๔๗๒ การสอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศ
เป็นการจัดการเรียนการสอนที่เป็นแนวคิดเกี่ยวกับการสอนภาษาไทย
ให้ชาวต่างประเทศ ฝึกทักษะการสอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศ วิธีพัฒนา
ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียนภาษาไทยของชาวต่างประเทศ
โดยเน้นคาศัพท์พื้นฐานในชีวิตประจาวัน
รายวิชา ศศภท ๔๗๓ การสอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศ ๒
เป็นการจัดการเรียนการสอนที่เป็นแนวทางการสร้างหลักสูตร ผลิต
ตาราและสื่อการสอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศ ฝึกทักษะการสอนภาษาไทย
ให้ชาวต่างประเทศ วิธีพัฒนาทักษะการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน
ภาษาไทยของชาวต่างประเทศ ให้สามารถสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
• รูปแบบ
- เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี (4 ปี) ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ
เรื่อง มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาวิชาภาษาไทย
• ภาษาที่ใช้
- ใช้ภาษาไทยและภาษาอังกฤษในการจัดการเรียนการสอน
• การรับเข้าศึกษา
1) นักศึกษาไทย
2) นักศึกษาต่างชาติที่มีผลการประเมินว่าสามารถอ่าน เขียนและพูด
ภาษาไทยได้ในระดับดีมาก
รูปแบบของหลักสูตร
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
ครู อาจารย์ นักวิชาการ
งานฝ่ายบุคคล ฝ่ายประชาสัมพันธ์ หรือฝ่ายการตลาดในบริษัท
หน่วยงาน หรือองค์กรภาครัฐและเอกชน
การประกอบอาชีพอิสระ อาทิ นักเขียน นักพูด มัคคุเทศก์
งานในแวดวงสื่อสารมวลชนแขนงต่างๆ อาทิ นักหนังสือพิมพ์
ผู้ประกาศรายการ ผู้ประกาศข่าว
นักจัดรายการวิทยุ และพิธีกร และในสื่ออื่นๆ อาทิ บรรณาธิการ
แหลุงข้อมูล
http://webcache.googleusercontent.com/search?q=
cache:http://www.la.mahidol.ac.th/th/index.php/ad
mission/bachelor-degree/thai/2015-05-29-02-46-
13&gws_rd=cr&ei=Yap7WK2tJczjvATd5oXoBw
6. มหาวิทยาลัยศิลปากร
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะอักษรศาสตร์
ระดับปริญญาตรี
หลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย วิชาเอก-วิชาโท
ภาษาไทย ในรายวิชา 411 228 ภาษาไทยสาหรับการสอนชาวต่างประเทศ
ระดับปริญญาโท
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการพัฒนา
อาชีพ ในรายวิชา 411 465 ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (Thai for
Foreigners)
การจัดการเรียนการสอน
ระดับปริญญาตรี
หลักสูตรอักษรศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย รายวิชา 411 228
ภาษาไทยสาหรับการสอนชาวต่างประเทศ จัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับ
ภาษาไทยและวัฒนธรรมการใช้ภาษาไทย แนวทางการจัดทาแบบเรียน
ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศตลอดจนการจัดกิจกรรมเสริมบทเรียน
โดยคานึงถึงลักษณะทางภาษาและวัฒนธรรมของผู้เรียนชาวต่างประเทศ
การจัดการเรียนการสอน
ระดับปริญญาโท
หลักสูตรอักษรศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการ
พัฒนาอาชีพ ในรายวิชา 411 465 ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (Thai
for Foreigners) จัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับการวิเคราะห์ภาษาไทยตาม
แนวภาษาศาสตร์ และแบบเรียนภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
ผู้เรียน
๑) นักศึกษาไทย
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
ครู อาจารย์ นักวิชาการ
การประกอบอาชีพอิสระ อาทิ นักเขียน นักพูด มัคคุเทศก์
แหลุงข้อมูล
http://www.arts.su.ac.th
7. มหาวิทยาลัยบูรพา
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขา ภาษาไทยเพื่อการ
สื่อสารสาหรับชาวต่างประเทศ จานวนหน่วยกิต รวมตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 120 หน่วยกิต
การจัดการเรียนการสอน
นิสิตต่างชาติที่ไม่ผ่านเกณฑ์การทดสอบความรู้ทางภาษาไทยของ
ภาควิชา ต้องเรียนรายวิชาต่อไปนี้ ก่อนเข้าศึกษาในหลักสูตร
 228113 การสนทนาภาษาไทยในชีวิตประจาวัน (Thai Conversation
for Everyday Life)
 228114 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับภาษาไทย (Introduction to the Thai
Language)
ผู้เรียน
1) นักศึกษาต่างชาติ
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
ครู อาจารย์สอนภาษาไทยให้กับชาวต่างชาติ
การประกอบอาชีพอิสระ อาทิ นักเขียน นักพูด มัคคุเทศก์ ล่าม
แหลุงข้อมูล
http://www.buu.ac.th/2016/course/frontend/courseDetail/MTM1
8. มหาวิทยาลัยแมุโจ้
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะศิลปศาสตร์ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
สาหรับชาวต่างประเทศ (Bachelor of Arts (Thai for Foreigners))
การจัดการเรียนการสอน
เป็นหลักสูตรที่ผลิตบัณฑิตชาวต่างประเทศที่มีความรู้
ความสามารถด้านการสื่อสารด้วยภาษาไทยในศาสตร์ต่าง ๆ อย่าง
หลากหลาย อาทิ ด้านการเกษตร ด้านการท่องเที่ยว ด้านธุรกิจ ด้านการ
สอน ซึ่งสามารถนาไปเป็นเครื่องมือเพื่อการประกอบอาชีพ หรือศึกษาต่อใน
ระดับที่สูงขึ้น
ผู้เรียน
1) นักศึกษาต่างชาติ
2) เป็นบุคคลที่ไม่ได้ใช้ภาษาไทยเป็นภาษาที่หนึ่ง
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษาอาชีพหรือตาแหน่งงาน
ที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
พนักงานภาครัฐ เช่น พนักงาน หรือ เจ้าหน้าที่ ในสถานกงสุลหรือสถานทูต
ครู อาจารย์
พนักงานภาคเอกชน เช่น ครู อาจารย์ มัคคุเทศก์ ประชาสัมพันธ์ ธุรการ
พนักงานต้อนรับ นักธุรกิจ
ผู้ประกอบอาชีพอิสระ เช่น นักเขียน พิธีกร
แหลุงข้อมูล
http://www.libarts.mju.ac.th/Thai_foreigners.php
9. มหาวิทยาลัยเชียงใหมุ
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะศิลปศาสตร์ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
ในฐานะภาษาต่างประเทศ (หลักสูตรนานาชาติ ) จานวนหน่วยกิต รวม
ตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 132 หน่วยกิต
การจัดการเรียนการสอน
มุ่งให้ภาษาไทยเป็นภาษาต่างประเทศเพื่อเป็นเครื่องมือสาหรับ
การศึกษาการประกอบอาชีพและการพัฒนาความสัมพันธ์อันดีด้านการเมือง
เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม ในระดับภูมิภาคและระดับนานาชาติโดยเน้น
ผลิตบัณฑิตให้มีทักษะภาษาไทยและภาษาอังกฤษ สามารถใช้ภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษได้อย่างดีเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ รวมถึงการผลิตบัณฑิต
ให้มีทักษะในการบูรณาการความรู้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษ ทักษะชีวิต และ
ทักษะทางสังคม เพื่อนาไปพัฒนาคน พัฒนางาน และพัฒนาองค์กรได้อย่าง
ดีมีคุณภาพ มีคุณธรรม และจริยธรรม
ผู้เรียน
1) นักศึกษาต่างชาติ
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
ครู อาจารย์สอนภาษาไทยให้กับชาวต่างชาติ
การประกอบอาชีพอิสระ อาทิ นักเขียน นักพูด มัคคุเทศก์ ล่าม
แหลุงข้อมูล
http://human.cmu.ac.th/curriculum.php
10. มหาวิทยาลัยขอนแกุน
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทยในฐานะ
ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยในฐานะ
ภาษาต่างประเทศ
การจัดการเรียนการสอน
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยในฐานะ
ภาษาต่างประเทศ เน้นผลิตบัณฑิตให้มีทักษะการใช้ภาษาไทยในการฟัง พูด
อ่าน เขียน โดยบูรณาการเนื้อหาและการคิดวิเคราะห์ด้านภาษา วรรณกรรม
วิถีวัฒนธรรมไทย ให้เป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพ และพัฒนาองค์
ความรู้ด้านภาษาและวัฒนธรรมไทยอย่างลุ่มลึกด้วยตนเองได้อย่างมี
คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาบรรณตามหลักวิชาการ เสริมสร้าง
ความสัมพันธ์อันดีระหว่างประเทศอย่างเข้าใจถึงความหลากหลายทาง
วัฒนธรรมตามสถานการณ์โลกที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา เพื่อให้
เป็นบัณฑิตที่พึงประสงค์ของสังคม
ผู้เรียน
1) นักศึกษาชาวไทย
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
ครู อาจารย์สอนภาษาไทยให้กับชาวต่างชาติ
การประกอบอาชีพอิสระ อาทิ นักเขียน นักพูด มัคคุเทศก์ ล่าม
แหลุงข้อมูล
https://hs.kku.ac.th/hsthai/?page_id=7
11. มหาวิทยาลัยอ่บลราชธานี
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะศิลปศาสตร์ สาขาวิชาภาษาและวรรณคดีตะวันออกหลักสูตร
ศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยและการสื่อสาร ในรายวิชา 1411
441 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (Teaching Thai as a
foreign Language)
การจัดการเรียนการสอน
มุ่งผลิตบัณฑิตให้มีความรู้ด้านภาษาและวรรณกรรมไทยเป็น
อัตลักษณ์ของความเป็นชาติไทย สรรค์สร้างวัฒนธรรมและมนุษยธรรมใน
ตน สร้างความรอบรู้ ทักษะทางภาษา ความเข้าใจและเจตคติที่ดีทางภาษา
และวรรณกรรมไทยและท้องถิ่น รวมทั้งคุณธรรม จริยธรรมในการดาเนิน
ชีวิตการเรียนรู้ภาษาแม่และภาษาที่สอง ภาษาแม่กับการเรียนรู้ภาษาที่สอง
ภาษาศาสตร์และวัฒนธรรมกับการเรียนการสอนภาษาไทยในฐานะ
ภาษาต่างประเทศ การสร้างบทเรียน การออกแบบ และการผลิตสื่อ การวัด
และการประเมินผลการเรียนการสอน การสาธิต การสอนและการอภิปราย
ผลการสาธิตการสอน
ผู้เรียน
1) นักศึกษาคนไทย
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
ผู้ที่สาเร็จการศึกษาหลักสูตรนี้ สามารถประกอบอาชีพทั้งใน
หน่วยงานภาครัฐและภาคเอกชน ที่เกี่ยวกับการใช้ภาษาไทย นักวิชาการ
นักวิจัย นักการศึกษา ครู อาจารย์ (โดยจะต้องสอบมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ
ครูเพื่อใช้ประกอบการขอใบประกอบวิชาชีพครู) นักข่าว ผู้ประกาศ พิธีกร
นักประชาสัมพันธ์ บรรณาธิการ พิสูจน์อักษร นักเขียน นักประพันธ์ นัก
วิจารณ์ ธุรการ เลขานุการ ฝ่ายพัฒนาบุคคล ฝ่ายฝึกอบรม
แหลุงข้อมูล
https://hs.kku.ac.th/hsthai/?page_id=7http://web.la.ubu.ac.th/laweb/la-modules/course/pdf/thai.pdf
12. มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชา
ภาษาไทยและภาษาตะวันออก หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา
ภาษาไทย (Bachelor of Arts Program in Thai)
ระดับการศึกษาที่เปิดสอน : ระดับปริญญาตรี ภาคปกติและภาคพิเศษ
หลักสูตร : ภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การจัดการเรียนการสอน
หลักสูตรเตรียมความพร้อมภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศนี้
เป็นหลักสูตรระยะสั้นใช้เวลาเรียน ๓ - ๑๒ เดือน โครงสร้างของหลักสูตร
รวม ๑๘ รายวิชา ประกอบด้วย
๑. ภาษาไทยเบื้องต้น ๒ รายวิชา
๒. ภาษาไทยระดับกลาง ๘ รายวิชา
๓. ภาษาไทยระดับสูง ๘ รายวิชา
ผู้เรียน
หลักสูตรเตรียมความพร้อมภาษาไทยนี้ รับผู้เรียนที่เป็นชาว
ต่างประเทศที่ยังไม่มีความรู้พื้นฐานและทักษะฟัง พูด อ่าน เขียนภาษาไทย
มาก่อน หรือมีความรู้บ้างแต่ประสงค์จะเรียนรู้ภาษาไทยเพิ่มขึ้น
แหลุงข้อมูล
https://sites.google.com/site/khnamnusysastrmms/p
hakh-wicha/4-phakh-wicha-phasa-thiy-laea-phasa-
tawan-xxk
13. มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะศิลปศาสตร์ ภาควิชาสารัตถศึกษา หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาและภาษาไทยประยุกต์ (Bachelor of Arts Program in Language
and Applied Thai) ในรายวิชาการสอนภาษาไทยให้ชาวต่างชาติ
896-341 วิชาหลักการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง (Principles of
Teaching Thai as a Second Language)
896-342 วิชาการวัดและประเมินผลการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาที่
สอง (Assessment and Evaluation of Thai Teaching as a Second Language)
การจัดการเรียนการสอน
ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถทางภาษาไทย เพื่อเข้าใจพื้นฐาน
ของความเป็นมนุษย์ และสามารถดารงตนอยู่ในสังคมและวัฒนธรรมไทยผ่าน
ระบบความคิด อีกทั้งนาความรู้ทางภาษาไทยไปประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์
ในเชิงวิชาชีพต่างๆอันจะส่งผลให้เกิดการมีส่วนร่วมในกระบวนการพัฒนา
ประเทศอย่างเหมาะสมต่อไป
• รูปแบบ
- หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
• ภาษาที่ใช้
- หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทยเป็นหลัก และภาษาอังกฤษ
ไม่น้อยกว่าร้อยละ 10
• การรับเข้าศึกษา
- รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่มีคุณสมบัติตามที่
หลักสูตรกาหนดไว้
รูปแบบของหลักสูตร
ผู้เรียน
1) นักศึกษาไทย
2) นักศึกษาต่างชาติ
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
งานสื่อสารมวลชน เช่น ผู้สื่อข่าว ผู้ประกาศ พิธีกร บรรณาธิการ เป็นต้น
งานโฆษณา/ประชาสัมพันธ์
งานวิชาการทางภาษาไทย
งานสอนภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ
งานสารบรรณ/งานเอกสาร ในองค์กรของรัฐและเอกชน
งานบริษัท
งานอาชีพอิสระ เช่น นักเขียน นักจัดรายการ
งานอาชีพอิสระอื่น ๆ ที่ใช้ความสามารถด้านภาษา
แหลุงข้อมูล
http://www.libarts.psu.ac.th/index.php/study-
courses/bachelor/major-thailand
14. มหาวิทยาลัยทักษิณ
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะศึกษาศาสตร์ร่วมกับคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
สาขาวิชาภาษาไทย หลักสูตร การศึกษาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
(Bachelor of Education Program in Thai) พบในรายวิชา 0111474 การสอน
ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (Thai Teaching for the Foreigner)
การจัดการเรียนการสอน
เป็นการศึกษาแนวคิดการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศในด้านแนวทาง
วิธีการและปัจจัยที่เกี่ยวข้องการนาวิธีการทางภาษาศาสตร์มาใช้ในการสอน
ภาษาไทย ศึกษาวิธีการสอนระบบเสียง ระบบไวยากรณ์และวัฒนธรรมการ
ใช้ภาษาไทย แนวการฝึกทักษะทางภาษาไทยทั้งการฟังการพูดการอ่านและ
การเขียนแก่ชาวต่างประเทศและฝึกปฏิบัติ
ผู้เรียน
1) รับนักเรียนไทยและชาวต่างชาติที่มีความรู้พื้นฐานภาษาไทย
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
ครูภาษาไทยและบุคลากรทางการศึกษา
งานเกี่ยวกับสื่อสารมวลชน เช่น ประชาสัมพันธ์ผู้ประกาศ ผู้สื่อข่าว
นักจัดรายการวิทยุและโทรทัศน์ พิธีกร เป็นต้น
งานเกี่ยวกับหนังสือ เช่น นักเขียน บรรณาธิการ งานพิสูจน์อักษร
งานแปล เป็นต้น
งานเกี่ยวกับเอกสาร เช่น เลขานุการ ธุรการ เป็นต้น
แหลุงข้อมูล
http://www2.tsu.ac.th/tsuco/UserFiles/File/files_data
/5_10%20C.pdf
15. มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
หลักสูตรที่เปิดสอน
สานักวิชาศิลปศาสตร์ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาไทย
ศึกษาบูรณาการ (Bachelor of Arts in Integrated Thai Studies) วิชาเอก
ภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ (Thai Language for Foreigners)
นักศึกษาต่างชาติที่มีพื้นฐานความรู้ภาษาไทยเพียงพอ สามารถสอบ
ผ่านเกณฑ์ที่กาหนดการวัดความรู้และทักษะภาษาไทย สามารถเข้าเรียนใน
หลักสูตรฯ ได้ทันที ส่วนนักศึกษาต่างชาติ ที่สอบไม่ผ่านเกณฑ์ที่กาหนด หรือยังมี
พื้นฐานความรู้และทักษะภาษาไทยไม่เพียงพอต้องสมัครเข้าเรียนกลุ่ม่วิชาปรับ
พื้นฐานภาษาไทยสาหรับนักศึกษาต่างชาติ (ระบบ module) และต้องสอบผ่าน
ครบรายวิชาระบบ module ตามเกณฑ์ฯ ที่กาหนดก่อนจึงจะสามารถเข้าเรียนใน
หลักสูตรอย่างเป็ นทางการได้ ทั้งนี้การเรียนรายวิชาในหมวดปรับพื้นฐานความรู้
ภาษาไทยจะไม่นับเป็นหน่วยวิชาในหลักสูตร แต่นักศึกษาจะได้รับวุฒิบัตรของแต่
ละรายวิชาตามระบบ module
ส่วนนักศึกษาต่างชาติที่มีพื้นฐานความรู้และทักษะด้านภาษาไทย
ผ่านเกณฑ์ฯ ที่กาหนดแล้ว สามารถสมัครเข้าเรียนในหลักสูตรแบบปกติ
สาขาภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติได้ทันที และสามารถเทียบวิชาเรียนและ
โอนหน่วยวิชาได้ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
• รูปแบบ
- หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
• ภาษาที่ใช้
- ภาษาไทย โดยใช้เอกสารกับตาราบางรายวิชาของหลักสูตรเป็น
ภาษาอังกฤษ และใช้ทวิภาษา (ภาษาไทย-ภาษาอังกฤษ) ในการสอนสาขาวิชาเอก
ภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ รวมทั้งรายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
การรับเข้าศึกษา
- สาขาภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติรับเฉพาะนักศึกษาต่างชาติ
รูปแบบของหลักสูตร
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
อาชีพด้านวิชาการและการศึกษาวิจัย เช่น ครู อาจารย์ นักวิจัย นักบริหาร
โครงการวิจัย นักแปล ล่าม
อาชีพด้านสื่อสารมวลชนทุกรูปแบบ เช่น ผู้สื่อข่าว ผู้เขียนข่าว บรรณาธิการ
นักเขียนสารคดี เขียนบทละครโทรทัศน์ บรรณาธิการกิจและพิสูจน์อักษร
ผู้สร้างสรรค์งานด้านสื่อมวลชน ฯลฯ
อาชีพในองค์การราชการ ทั้งในสถาบันการศึกษาระดับต่าง ๆ หน่วยงาน
องค์การของรัฐที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยว การพัฒนาชุมชน องค์การการ
ปกครองส่วนท้องถิ่น เช่น องค์การบริหารส่วนตาบล องค์การบริหารส่วน
จังหวัดและเทศบาล กระทรวงวัฒนธรรม การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ฯลฯ
อาชีพในวงการธุรกิจที่ใช้ประโยชน์จากไทยศึกษาเชิงบูรณาการ เช่น
อุตสาหกรรมการบริการและการท่องเที่ยวโรงแรม ล่ามภาษา มัคคุเทศก์
งานประชาสัมพันธ์ เลขานุการ ฯลฯ
อาชีพในองค์การระหว่างประเทศ เช่น เจ้าหน้าที่ในสังกดองค์การ
สหประชาชาติ องค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรมแห่ง
สหประชาชาติ อาเซียน องค์การพัฒนาเอกชนต่าง ๆ (NGOs) มูลนิธิ
เอเซีย
อาชีพสร้างสรรค์งานศิลปะรูปแบบต่าง ๆ ที่ใช้ภาษาไทยเป็นสื่อ เช่น
นักเขียน กวี นักแปล นักศิลปะ การละคร นักเขียนบทภาพยนตร์ ฯลฯ
แหลุงข้อมูล
http://ces.wu.ac.th/registrar/form/program/fac11-
thai.pdf
มหาวิทยาลัยเปิด
16. มหาวิทยาลัยรามคาแหง
หลักสูตรที่เปิดสอน
เป็นการจัดอบรมภาษาต่างประเทศ โดยสถาบันภาษามหาวิทยาลัย
รามคาแหง เป็นการจัดอบรมฟรี และมีวุฒิบัตรรับรองเมื่อเข้าร่มการอบรม
ครบตามเวลากาหนดของหลักสูตร
การจัดการเรียนการสอน
หลักสูตรภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ (Thai for foreigners) เป็น
การฝึกอบรมเกี่ยวกับระดับการเขียนและการอ่านภาษาไทย ในเรื่องของ
วรรณยุกต์ สระ พยัญชนะ สระผสม ตัวสะกด พยัญชนะควบกล้า ศึกษาบท
สนทนาใน ชีวิตประจาวัน เช่น การต้อนรับ การ ทักทาย การรับประทาน
อาหารไทย การซื้อของ การโดยสาร ยานพาหนะชนิดต่างๆ การบอกเวลา
การใช้บริการตามสถานที่พักต่างๆ
ระยะเวลาอบรม : 20 ชั่วโมง
การจัดการเรียนการสอน (ต่อ)
หลักสูตรภาษาไทยแบบเร่งรัด (Thai for foreigners) เป็นการฝึก
อบรมเกี่ยวกับระดับการเขียนและการอ่านภาษาไทย ในเรื่องของวรรณยุกต์
สระ พยัญชนะ สระผสม ตัวสะกด พยัญชนะควบกล้า ศึกษาบทสนทนาใน
ชีวิตประจาวัน เช่น การต้อนรับ การ ทักทาย การรับประทานอาหารไทย
การซื้อของ การโดยสาร ยานพาหนะชนิดต่างๆ การบอกเวลา การใช้บริการ
ตามสถานที่พักต่างๆ
แบ่งหลักสูตรออกเป็น 3 ระดับ คือ ระดับต้น ระดับกลาง ระดับสูง
ผู้เรียน
1) สาหรับนักศึกษา มหาวิทยาลัยรามคาแหงทุกชั้นปี
2) บุคลากรของมหาวิทยาลัย
แหลุงข้อมูล
http://www.ril.ru.ac.th/viewcourse_6.php
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
17. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหมุ
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา
ภาษาไทย (Bachelor of Education Program in Thai)
ระดับปริญญาตรี
ในรายวิชา THAI 4702 การสอนภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (Thai
Teaching for Foreigners)
THAI 4703 การสอนภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง (Teaching
Thai as a Second Language)
THAI 4702 การสอนภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (Thai
Teaching for Foreigners) จานวน 3 หน่วยกิต จัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับ
ทฤษฎีการเรียนรู้ภาษาที่สอง การนาวิธีการทางภาษาศาสตร์มาใช้ในการ
สอน ภาษาไทยแก่ชาวต่างประเทศ วิธีการสอนระบบเสียง ระบบไวยากรณ์
และวัฒนธรรมการใช้ ภาษาไทย การวิเคราะห์และสร้างหลักสูตรตลอดจน
สื่อการเรียนการสอนภาษาไทยสาหรับ ชาวต่างประเทศ การฝึกปฏิบัติการ
สอนในชั้นเรียน
THAI 4703 การสอนภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง (Teaching Thai as a
Second Language) จานวน 3 หน่วยกิต จัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับทฤษฎี
และกระบวนการเรียนรู้ภาษาที่สอง การประยุกต์ทฤษฎีทางภาษาศาสตร์
จิตวิทยา สังคมวิทยาเพื่อประโยชน์ด้านการเรียนการสอนภาษาไทยแก่
ผู้เรียนที่ใช้ภาษาไทยเป็น ภาษาที่สอง วิธีสอนและเทคนิคการสอนภาษาไทย
เพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาไทยแก่ผู้เรียนที่ใช้ ภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง
การฝึกปฏิบัติการสอนในชั้นเรียน
• รูปแบบ
- หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 5 ปี
• ภาษาที่ใช้
- ภาษาไทย
การรับเข้าศึกษา
- นักเรียนไทย
รูปแบบของหลักสูตร
คณะมนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์ ภาควิชามนุษยศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย
- ระดับปริญญาตรี
ในรายวิชา THAI 3701 ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
THAI 4702 การสอนภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ
- ระดับปริญญาโท
ในรายวิชา THAI 5801 การพัฒนาหลักสูตรเพื่อถ่ายทอดภาษา
และวัฒนธรรมไทยให้แก่ชาวต่างประเทศ (Curriculum Development for
Teaching Thai Language and Culture to Foreigners)
ผู้เรียน
1) นักศึกษาคนไทย
2) นักศึกษาต่างชาติที่สามารถใช้ภาษาไทยอยู่ในระดับดี
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
ครู อาจารย์ในสถานศึกษาระดับต่าง ๆ
บุคลากรทางการศึกษา
นักวิชาการศึกษา
แหลุงข้อมูล
http://www.edu.cmru.ac.th/
http://www.thai.cmru.ac.th/p3_Instruction.php
18. มหาวิทยาลัยราชภัฏลาปาง
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะครุศาสตร์ หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย พบใน
รายวิชา 1544502 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาที่สอง (Teaching Thai as a
Second Language)
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับชาวต่างประเทศ (Bachelor of Arts
Program in Communicative Thai Language for Foreigners) เป็นหลักสูตร
ปรับปรุงจากหลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทยและการสื่อสารทาง
ธุรกิจ เริ่มใช้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2550
การจัดการเรียนการสอน
หลักสูตรจัดการศึกษาคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย และคณะ
มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารสาหรับ
ชาวต่างประเทศ หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย
• รูปแบบ
- หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 5 ปี
• ภาษาที่ใช้
- หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย
• การรับเข้าศึกษา
- นักเรียนไทย
รูปแบบของหลักสูตรคณะครุศาสตร์
• รูปแบบ
- หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
• ภาษาที่ใช้
- หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย
• การรับเข้าศึกษา
- รับเฉพาะนักศึกษาต่างชาติ
รูปแบบของหลักสูตรมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ผู้เรียนสาหรับคณะครุศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทย
- นักศึกษาที่เป็นคนไทย เพื่อไปประกอบอาชีพเป็นครู อาจารย์ และ
นักวิชาการการศึกษา ฯลฯ
ผู้เรียนสาหรับ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
- เฉพาะนักศึกษาชาวต่างชาติ อาชีพที่สามารถประกอบได้หลัง
สาเร็จการศึกษา เลขานุการ นักประชาสัมพันธ์ มัคคุเทศก์ นักเขียน นักแปล
เจ้าหน้าที่ประจาสถานทูต นักวิชาการศึกษา ฯลฯ
แหลุงข้อมูล
http://www.thai.edulpru.com/doc/majorthai.pdf
http://www.thai.cmru.ac.th/p3_Instruction.phphttp://www.ctlf.lpru.ac.th/index_main_html.ph
p?name=course_th&file=course_th
19. มหาวิทยาลัยราชภัฏอ่ตรดิตถ์
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาภาษาตะวันออก
หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (Bachelor of Arts Program
in Thai) พบในรายวิชา 1544104 ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (Thai for
Foreigners)
• รูปแบบ
- หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
• ภาษาที่ใช้
- จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
• การรับเข้าศึกษา
- รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่สามารถพูด อ่านและ
เขียนภาษาไทยได้เป็นอย่างดี
รูปแบบของหลักสูตร
ผู้เรียน
1) นักศึกษาคนไทย
2) นักศึกษาต่างชาติที่สามารถใช้ภาษาไทยอยู่ในระดับดี
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
ครู อาจารย์ในสถานศึกษาระดับต่าง ๆ
นักวิชาการศึกษา
นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ นักพิสูจน์อักษร นักประชาสัมพันธ์
เลขานุการ
ผู้ช่วยนักวิจัย
แหลุงข้อมูล
http://academic.uru.ac.th/DB_course/doc_course/030.PDF
20. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (Bachelor of Arts Thai
Language for Foreigners) มีจานวนหน่วยกิต ทั้งหมด 131 หน่วยกิต
การจัดการเรียนการสอน
มุ่งผลิตบัณฑิตทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ให้ความรู้คู่
คุณธรรม ชี้นาสังคมด้านหลักภาษาและวรรณคดีไทย ทุกปีการศึกษาได้จัด
กิจกรรมเสริมหลักสูตรตามพันธกิจ 5 ด้าน คือ
1. ส่งเสริมด้านวิชาการ
2. ส่งเสริมด้านทานุบารุงศิลปะและวัฒนธรรม
3. ส่งเสริมด้านอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
4. ส่งเสริมด้านกีฬาและนันทนาการ
5. ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
ผู้เรียน
1) นักศึกษาคนไทย
2) นักศึกษาต่างประเทศที่สามารถพูด อ่าน และเขียนภาษาไทยได้
เป็นอย่างดี
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
ครู อาจารย์ในสถานศึกษาระดับต่าง ๆ
นักวิชาการศึกษา
นักเขียน นักหนังสือพิมพ์ นักพิสูจน์อักษร นักประชาสัมพันธ์ ล่าม
แหลุงข้อมูล
http://hs.nsru.ac.th/
21. มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย (Bachelor of Arts Program in Thai) พบในรายวิชา
มส.ภท. 256 ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (THAI 256 Thai for
Foreigners)
การจัดการเรียนการสอน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย (Bachelor of Arts Program in Thai) ในรายวิชา
มส.ภท.256 ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (THAI 256 Thai for
Foreigners)
เงื่อนไขรายวิชา : ต้องสอบผ่านวิชา มส.ภท.152 ภาษาศาสตร์
ภาษาไทย มาก่อน ซึ่งในรายวิชานี้เป็นการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับการ
ประยุกต์ใช้ความรู้ทางภาษาศาสตร์เพื่อสอนภาษาไทยให้ชาวต่างประเทศ
ศึกษา วิธีการสอนระบบเสียง ระบบไวยากรณ์และวัฒนธรรมการใช้
ภาษาไทย
• รูปแบบ
- หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
• ภาษาที่ใช้
- หลักสูตรจัดการศึกษาเป็นภาษาไทย
การรับเข้าศึกษา
- รับเฉพาะนักศึกษาไทย
รูปแบบของหลักสูตร
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
งานธุรการ งานเลขานุการ
นักจัดรายการวิทยุ พิธีกร
นักวิชาการ
งานโฆษณาและประชาสัมพันธ์
นักเขียน นักวรรณศิลป์
นักข่าว งานประจากองบรรณาธิการ
ผู้สอนภาษาไทยให้กับชาวต่างชาติ
มัคคุเทศก์
อาชีพอิสระและอาชีพอื่นๆ ที่ใช้ความรู้ความสามารถทางภาษาไทย
แหลุงข้อมูล
http://huso.psru.ac.th/2015/pdf/laksoot/thai.pdf
22. มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (Bachelor of Arts Program in
Communicative Thai Language) พบในรายวิชา 31544102 ภาษาไทยสาหรับ
ชาวต่างประเทศ (Thai Language for Foreigners) ซึ่งเป็นรายวิชาเปิดใหม่ใน
สาขาภาษาไทย
การจัดการเรียนการสอน
นักศึกษาที่เรียนสาขานี้จะได้ศึกษาภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารงาน
ธุรกิจ งานสื่อมวลชน รวมถึงลีลาการใช้ภาษาไทยในแง่มุมต่าง ๆ ทาให้มี
ความเชี่ยวชาญในการใช้ภาษาไทยเป็นอย่างดีสามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน
โอกาสต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพต่อไป
ผู้เรียน
1) นักศึกษาคนไทย
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
บัณฑิตสาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสารมีความรู้ความสามารถใน
การใช้ภาษาไทยด้านต่าง ๆ เป็นอย่างดี จึงสามารถประกอบอาชีพได้หลาย
ประเภท เช่น นักเขียน นักวิชาการ พิธีกร นักจัดรายการวิทยุ โทรทัศน์
นักการตลาด นักประชาสัมพันธ์ พนักงานบริษัท และเลขานุการ เป็นต้น
แหลุงข้อมูล
http://hms.snru.ac.th/
23. มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (Bachelor of Arts Program in
Communicative Thai Language) แขนงภาษาไทยเพื่อชาวต่างประเทศ
การจัดการเรียนการสอน
เน้นการพัฒนาผู้เรียนสู่งานสื่อสารองค์กร สื่อสารสื่อใหม่
สื่อสารมวลชน สื่อสารธุรกิจ เลขานุการ การประชาสัมพันธ์ Online Content
Editor งานประชุม งานฝึกอบรม/Training/ Human resource โดยมีนักศึกษา
จากประเทศจีน ประเทศเวียดนาม มาเรียนจานวนมาก
ผู้เรียน
1) นักศึกษาต่างชาติ
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
 สามารถเป็นอาจารย์ผู้สอนภาษาไทยให้กับชาวต่างชาติ
 สื่อสารองค์กร สื่อสารสื่อใหม่ สื่อสารมวลชน สื่อสารธุรกิจ เลขานุการ
การประชาสัมพันธ์
แหลุงข้อมูล
http://regis.rmu.ac.th/
24. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะครุศาสตร์ร่วมกับคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
โปรแกรมวิชาภาษาไทย หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
(Bachelor of Education Program in Thai) พบในรายวิชา
206312 แนวคิดเรื่องการศึกษาภาษาไทยของชาวต่างประเทศ
(Concept of Thai Language Study for Foreigners)
การจัดการเรียนการสอน
รายวิชา 206312 แนวคิดเรื่องการศึกษาภาษาไทยของชาว
ต่างประเทศ (Concept of Thai Language Study for Foreigners) เป็นการ
จัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับ การวิเคราะห์ปัญหาของโครงสร้างภาษาไทย
ที่มีผลต่อความเข้าใจของชาวต่างประเทศ ในเรื่อง การออกเสียง การใช้คา
การใช้ประโยค การสื่อความหมาย และแนวทางการแก้ปัญหาการสื่อสารใน
บริบทของสังคมไทย
• รูปแบบ
- หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 5 ปี
• ภาษาที่ใช้
- จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
การรับเข้าศึกษา
- รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างประเทศที่สามารถใช้ภาษาไทย
ได้เป็นอย่างดี
รูปแบบของหลักสูตร
ผู้เรียน
1) นักศึกษาไทย
2) นักศึกษาต่างประเทศที่สามารถใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี
อาชีพที่สามารถประกอบอาชีพได้หลังสาเร็จการศึกษา
ครู นักวิชาการศึกษา นักหนังสือพิมพ์ ผู้ดาเนินรายการวิทยุและ
โทรทัศน์ นักประชาสัมพันธ์ นักพูด นักพิสูจน์อักษร เลขานุการ นักเขียน
พิธีกร นักแปล ผู้ประกาศข่าว นักวิจัย อาชีพอิสระ และอื่น ๆ
แหลุงข้อมูล
http://human.nrru.ac.th/
25. มหาวิทยาลัยราชภัฏอ่บลราชธานี
หลักสูตรที่เปิดสอน
สถาบันการศึกษานานาชาติ เปิดหลักสูตรระยะสั้น ภาษาไทย
สาหรับนักศึกษาชาวต่างชาติ ซึ่งหลักสูตรระยะสั้นด้านภาษา 13 หลักสูตร
ได้แก่ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน ภาษาเวียดนาม ภาษาญี่ปุ่นและภาษาไทย
สาหรับชาวต่างชาติ เพื่อเสริมทักษะการอ่าน การสื่อสาร สาหรับผู้ปกครอง
และนักเรียน
ผู้เรียน
1) ผู้ศึกษาที่เป็นคนไทย
2) ผู้ศึกษาที่เป็นชาวต่างชาติ
อาชีพที่สามารถประกอบอาชีพได้หลังสาเร็จการศึกษา
 ครู นักวิชาการ
 นักเขียน นักแปล
 พิธีกร ผู้ประกาศข่าว
 อาชีพอิสระ และอื่น ๆ
แหลุงข้อมูล
http://www.iei.ubru.ac.th/shortcourse.php
26. มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาวิชาภาษาไทยสาหรับชาว
ต่างประเทศ ซึ่งเป็นหลักสูตรที่กาลังดาเนินการพัฒนาใหม่ ในการจัดการ
เรียนการสอนเพื่อรองรับการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน
ผู้เรียน
1) นักศึกษาที่เป็นชาวต่างชาติ
อาชีพที่สามารถประกอบอาชีพได้หลังสาเร็จการศึกษา
 ครู นักวิชาการ
 นักเขียน นักแปล
 พิธีกร ผู้ประกาศข่าว
 อาชีพอิสระ และอื่น ๆ
แหลุงข้อมูล
http://human.rru.ac.th/?page_id=122
27. มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะครุศาสตร์
- หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (Bachelor of Education
Program in Thai) พบในรายวิชา 2101401 ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (Thai
for Foreigners)
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
- หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย (Bachelor of Arts
Program in Thai) พบในรายวิชา 2101401 ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (Thai
for Foreigner)
การจัดการเรียนการสอนคณะครุศาสตร์
รายวิชา 2101401 ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (Thai for
Foreigners) เป็นการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับการศึกษาวิเคราะห์ปัญหา
ของโครงสร้างภาษาไทยที่มีผลต่อความเข้าใจของชาวต่างประเทศในเรื่อง
การออกเสียง การใช้คา การใช้ประโยค การสื่อความหมายและแนว
ทางการแก้ปัญหาการสื่อสารในบริบทของสังคมไทย
การจัดการเรียนการสอนคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
รายวิชา 2101401 ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (Thai for
Foreigner) เป็นการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับการศึกษาวิธีการและ
เทคนิคการเรียนภาษาที่สอง องค์ประกอบทางภาษาและองค์ประกอบอื่นๆ
ที่เกี่ยวข้องกับการเรียนภาษา ศึกษาและวิเคราะห์ปัญหาของโครงสร้าง
ภาษาไทยที่มีผลต่อความเข้าใจของชาวต่างประเทศในเรื่องการออกเสียง
การใช้คา ประโยคในการสื่อความหมาย แนวทางการแก้ปัญหา การสื่อสาร
ในบริบทของสังคมไทย
ผู้เรียน
1) นักศึกษาคนไทย
สามารถประกอบอาชีพได้หลังสาเร็จการศึกษา
 หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต : ผลิตบัณฑิตเพื่อที่จะไปเป็นครูวิชาชีพ
 หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต : ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจ
หลักการใช้ภาษาไทยเพื่อสื่อสาร สามารถปฏิบัติงานในสานักงาน ใน
องค์กรสื่อสาร หรือองค์กรอิสระได้อย่างมีประสิทธิภาพ
แหลุงข้อมูล
http://human.tru.ac.th/course_thai_k/c_thai_k.pdf
http://human.tru.ac.th/course_thai_s/c_thai_s.pdf
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะครุศาสตร์ หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
(Bachelor of Education Program in Thai) พบในรายวิชา 1542221 การสอน
ภาษาไทยสาหรับชาวต่างชาติ (Teaching Thai as a Foreign Language)
28. มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์
ในพระบรมราชูปถัมภ์
• รูปแบบ
- หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 5 ปี
• ภาษาที่ใช้
- จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
การรับเข้าศึกษา
- รับเฉพาะนักศึกษาไทย
รูปแบบของหลักสูตร
ผู้เรียน
1) นักศึกษาคนไทย
สามารถประกอบอาชีพได้หลังสาเร็จการศึกษา
 ผลิตบัณฑิตเพื่อที่จะไปเป็นครูวิชาชีพ
แหลุงข้อมูล
http://edu.vru.ac.th
29. มหาวิทยาลัยราชภัฏราไพพรรณี
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ภาควิชาภาษาไทย สาขาวิชา
ภาษาไทย พบในรายวิชา 2014101 ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (Thai
for Foreigners)
• รูปแบบ
- หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
• ภาษาที่ใช้
- จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
การรับเข้าศึกษา
- รับเฉพาะนักศึกษาไทย
รูปแบบของหลักสูตร
ผู้เรียน
1) นักศึกษาคนไทย
สามารถประกอบอาชีพได้หลังสาเร็จการศึกษา
 ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักการใช้ภาษาไทยเพื่อสื่อสาร
สามารถปฏิบัติงานในสานักงาน ในองค์กรสื่อสาร หรือองค์กรอิสระได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
 ครูสอนภาษาไทยชาวต่างชาติ
แหลุงข้อมูล
http://reg.rbru.ac.th
30. มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบ่รี
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ หลักสูตรใหม่ พ.ศ. 2551
(Bachelor of Arts Program in Thai for Foreigners)
• รูปแบบ
- หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
• ภาษาที่ใช้
- จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
การรับเข้าศึกษา
- รับนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่มีสามารถอ่าน เขียนและ
พูดภาษาไทยได้ในระดับดี
รูปแบบของหลักสูตร
ผู้เรียน
1) นักศึกษาไทย
2) นักศึกษาชาวต่างชาติ
สามารถประกอบอาชีพได้หลังสาเร็จการศึกษา
 ผลิตบัณฑิตที่มีความรู้ความเข้าใจหลักการใช้ภาษาไทยเพื่อสื่อสาร สามารถ
ปฏิบัติงานในสานักงาน ในองค์กรสื่อสาร หรือองค์กรอิสระได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
 ครูสอนภาษาไทยชาวต่างชาติ
แหลุงข้อมูล
http://www.kru.ac.th/th/major/hum_thai_for_foreigners.pdf
31. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หลักสูตร ครุศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย (Bachelor of Education Program in Thai) พบในรายวิชา
1544302 ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (Thai Language for Foreigners)
การจัดการเรียนการสอน
รายวิชา 1544302 ภาษาไทยสาหรับชาวต่างประเทศ (Thai
Language for Foreigners) ซึ่งเป็นการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับ
โครงสร้างของภาษาไทยที่มีผลต่อความเข้าใจของชาวต่างประเทศ วิเคราะห์
เปรียบเทียบโครงสร้างภาษาไทยกับภาษาอื่น แนวทางการสอนภาษาเพื่อ
การสื่อสารสาหรับชาวต่างประเทศ
• รูปแบบ
- หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 5 ปี
• ภาษาที่ใช้
- จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
การรับเข้าศึกษา
- รับนักศึกษาไทย และนักศึกษาต่างประเทศที่มีความสามารถใน
การใช้ภาษาไทย
รูปแบบของหลักสูตร
ผู้เรียน
1) นักศึกษาไทย
2) นักศึกษาต่างประเทศที่สามารถใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังจบการศึกษา
ครู อาจารย์
นักวิชาการการศึกษา
นักเขียน
นักวิจัยด้านภาษาไทยและด้านการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับภาษาไทย
แหลุงข้อมูล
http://ac.npru.ac.th/curriculum_file/Bachelor%20of%
20Education(Thai).pdf
32. มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบ่รี
หลักสูตรที่เปิดสอน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (Bachelor of Art Program
in Thai as A Foreign Language)
• รูปแบบ
- หลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี
• ภาษาที่ใช้
- จัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทย
การรับเข้าศึกษา
- เป็นนักศึกษาต่างชาติ ที่รักและสนใจในภาษาไทย หรือ เป็นผู้ที่
สามารถใช้ความรู้ในภาษาไทยเป็นเครื่องมือในการสื่อสารได้ มีความรู้และ
ทักษะทางด้านภาษาไทยเป็นอย่างดี
รูปแบบของหลักสูตร
ผู้เรียน
1) นักศึกษาต่างประเทศที่สามารถใช้ภาษาไทยได้เป็นอย่างดี
อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังจบการศึกษา
ล่าม มัคคุเทศก์ด้านภาษาไทย
ครูสอนวิชาภาษาไทยให้กับนักศึกษาต่างชาติ หรือนักศึกษาในสถาบันที่
สอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
ประกอบอาชีพอิสระที่ต้องใช้ภาษาไทย
แหลุงข้อมูล
http://hs.pbru.ac.th
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย

More Related Content

What's hot

Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Ocean'Funny Haha
 
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
G ''Pamiiz Porpam
 
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศบทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
เจริญขวัญ นาคประดิษฐ์
 
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นวัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
apiromrut
 

What's hot (18)

Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
Is 2 เรื่องร้านค้าสหกรณ์
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติการเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
 
หลักสูตรไทย และต่างประเทศ
หลักสูตรไทย และต่างประเทศหลักสูตรไทย และต่างประเทศ
หลักสูตรไทย และต่างประเทศ
 
นำเสนอ อ.-ฤดี1-5
นำเสนอ อ.-ฤดี1-5นำเสนอ อ.-ฤดี1-5
นำเสนอ อ.-ฤดี1-5
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ1
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
 
งานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีงานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดี
 
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติรวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
รวมมหาวิทยาลัยสอนภาษาไทยในชาวต่างชาติ
 
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศบทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๒ แรงจูงใจของผู้เรียนในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
หลักสูตรสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (ในต่างประเทศ)
 
ทำเนียบสภานักเรียนไทยปี2558
ทำเนียบสภานักเรียนไทยปี2558ทำเนียบสภานักเรียนไทยปี2558
ทำเนียบสภานักเรียนไทยปี2558
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศ
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศสื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศ
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศบทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
บทที่ ๔ สื่อการสอนและห้องเรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่นวัฒนธรรมญี่ปุ่น
วัฒนธรรมญี่ปุ่น
 

Viewers also liked

Viewers also liked (7)

คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
 
ปฏิทินรายเดือน
ปฏิทินรายเดือนปฏิทินรายเดือน
ปฏิทินรายเดือน
 
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
Week 3 of TTFL
Week 3 of TTFLWeek 3 of TTFL
Week 3 of TTFL
 
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
2015 Upload Campaigns Calendar - SlideShare
 
What to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShareWhat to Upload to SlideShare
What to Upload to SlideShare
 
Getting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShareGetting Started With SlideShare
Getting Started With SlideShare
 

Similar to การสอนภาษาไทย

แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
Bai'mon Chankaew
 
สารัดถะความเป็นครู
สารัดถะความเป็นครูสารัดถะความเป็นครู
สารัดถะความเป็นครู
narueporn
 
Toeic, test of english for international communication, 2013
Toeic, test of english for international communication, 2013Toeic, test of english for international communication, 2013
Toeic, test of english for international communication, 2013
Thai Cooperate in Academic
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)
Turdsak Najumpa
 
การสอนพิเศษ
การสอนพิเศษการสอนพิเศษ
การสอนพิเศษ
tee155268
 
งานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีงานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดี
Sutat Inpa
 
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้าแฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
Muaymie Cld
 
มคอ.3 historical tourism
มคอ.3  historical tourismมคอ.3  historical tourism
มคอ.3 historical tourism
chickyshare
 

Similar to การสอนภาษาไทย (20)

D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศD๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
สารัดถะความเป็นครู
สารัดถะความเป็นครูสารัดถะความเป็นครู
สารัดถะความเป็นครู
 
Toeic, test of english for international communication, 2013
Toeic, test of english for international communication, 2013Toeic, test of english for international communication, 2013
Toeic, test of english for international communication, 2013
 
Tqa panisara
Tqa panisaraTqa panisara
Tqa panisara
 
งานคอมแฟ้มสะสมผลงาน
งานคอมแฟ้มสะสมผลงานงานคอมแฟ้มสะสมผลงาน
งานคอมแฟ้มสะสมผลงาน
 
Week 1 of TTFL
Week 1 of TTFLWeek 1 of TTFL
Week 1 of TTFL
 
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)
บทที่ 4 สื่อการเรียนรู้(pdf)
 
Focus 5-55
Focus 5-55Focus 5-55
Focus 5-55
 
งานชิ้นที่๑
งานชิ้นที่๑งานชิ้นที่๑
งานชิ้นที่๑
 
Family Busines Succession-การสืบทอดธุรกิจครอบครัว
Family Busines Succession-การสืบทอดธุรกิจครอบครัวFamily Busines Succession-การสืบทอดธุรกิจครอบครัว
Family Busines Succession-การสืบทอดธุรกิจครอบครัว
 
การสอนพิเศษ
การสอนพิเศษการสอนพิเศษ
การสอนพิเศษ
 
แฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน(ล่าสุด)
แฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน(ล่าสุด)แฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน(ล่าสุด)
แฟ้มสะสมผลงานสำหรับสอนนักเรียน(ล่าสุด)
 
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญาแบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
แบบรายงานการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โสภิญญา
 
รายงานผลจุดเน้นที่ 6
รายงานผลจุดเน้นที่ 6รายงานผลจุดเน้นที่ 6
รายงานผลจุดเน้นที่ 6
 
งานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีงานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดี
 
งานคอมแฟ้มสะสมผลงาน
งานคอมแฟ้มสะสมผลงานงานคอมแฟ้มสะสมผลงาน
งานคอมแฟ้มสะสมผลงาน
 
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้าแฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
แฟ้มสะสมผลงานแก้แล้วพร้อมส่งจ้า
 
มคอ.3 historical tourism
มคอ.3  historical tourismมคอ.3  historical tourism
มคอ.3 historical tourism
 

การสอนภาษาไทย