SlideShare a Scribd company logo
1 of 28
Download to read offline
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
ในฐานะภาษาต่างประเทศ
สมาชิกในกลุ่ม
1. นางสาวปฐมมาวดี ทายะ รหัสประจาตัวนิสิต 5681124031
2. นางสาวนิพาพร หนิ้วยะวงศ์ รหัสประจาตัวนิสิต 5681124032
3. นางสาวรัตนา ดาสกุล รหัสประจาตัวนิสิต 5681124035
4. นางสาวพินทุสร นาสินเพิ่ม รหัสประจาตัวนิสิต 5681124037
5. นายฐานันดร จูทิม รหัสประจาตัวนิสิต 5681124040
6.นางสาวพิมพ์ใจ ยังอุ่น รหัสประจาตัวนิสิต 5681124047
7. นางสาวจริญญา ชัยบิน รหัสประจาตัวนิสิต 5681124048
ในยุค 2000 ยุคสหัสวรรษใหม่ ยุคข้อมูลข่าวสารและยุค
โลกาภิวัฒน์ ภาษาไทยถูกจัดอยู่ในสารบบของภาษาโลกแต่ถูกขนาน
นามรวม ๆ กับภาษาอื่น ๆ ที่สอนกันอย่างไม่แพร่หลาย เรียกว่า
“ภาษาที่มีการสอนน้อย” (Less commonly taught Languages)
ความนิยมและความต้องการเรียนภาษาไทยเริ่มขึ้น ในบาง
ประเทศของโลกและสอนกันเพียงจานวนสิบ ยี่สิบคนก่อน เช่น ในประเทศ
จีน เกาหลี ญี่ปุ่น อเมริกา ออสเตรเลีย เป็นต้น
เหตุผลที่มหาวิทยาลัยต่าง ๆ เปิดสอนนั้นเพราะมีนโยบายในการ
ผลิตบุคลากรที่ต้องเกี่ยวข้องกับประเทศไทยและคนไทยในด้านต่าง ๆ
ปัจจุบันสถาบันอุดมศึกษาต่าง ๆ ทั่วโลกได้เปิดสอนหลักสูตร
ภาษาไทยและไทยศึกษาเพิ่มมากขึ้นเรื่อย ๆ จากการสารวจของ
กระทรวงการต่างประเทศมีสถานอุดมศึกษาทั่วโลกเปิดสอนหลักสูตร
ภาษาไทยหรือหลักสูตรที่เกี่ยวข้องกับประเทศไทย รวมประมาณ 114
สถาบัน
เชื่อว่าจานวนสถาบันที่เปิดสอนภาษาไทยจะเพิ่มสูงขึ้น ทั้งนี้ยัง
ไม่รวมศูนย์สอนภาษาและโรงเรียนสอนภาษาที่จัดสอนในเชิงธุรกิจ ซึ่ง
นับว่ามีการเติบโตพอสมควร ทั้งนี้น่าจะมีสาเหตุมาจากความเป็นไทยที่
น่าสนใจ
มหาวิทยาลัยปักกิ่ง
ในปีค.ศ. 1996 มหาวิทยาลัยปักกิ่งได้ก่อตั้งสถาบันไทยศึกษาขึ้น
เปิดสอนภาษาต่างประเทศภาษาต่าง ๆ ทั้งหมด 27 ภาษา เช่น
ภาษาอังกฤษ ภาษาฝรั่งเศส ภาษาเกาหลี ภาษาพม่า ภาษาฟิลิปปินส์
ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาบาลี ภาษาพม่า ภาษาฟิลิปปินส์ ภาษา
อินโดนีเซีย ภาษาบาลี สันสกฤต เป็นต้น
รัฐบาลจีนให้ความสาคัญกับการเรียนการสอนภาษาต่างประเทศ
จึงได้จัดตั้งศูนย์อบรมผลิตบุคลากรภาษาต่างประเทศ เพื่อช่วยพัฒนา
ภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
ในเกาหลี มหาวิทยาลัยฮันกุ๊ก
ได้เปิดสอนวิชาภาษาไทยเป็นวิชาเอก ในปี ค.ศ. 1966
หรือ พ.ศ. 2509
มีการติดต่อขอความร่วมมือและแลกเปลี่ยนทางวิชาการกับ
สถาบันอุดมศึกษาในประเทศไทย ได้แก่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ในมาเลเซีย
วิชาภาษาไทยมีสอนที่มหาวิทยาลัยมลายามานานกว่า 20 ปี วิชา
ภาษาไทยเป็นวิชาเลือกสาหรับนักศึกษาของคณะภาษาศาสตร์และคณะอื่นๆ
ในมหาวิทยาลัยมลายา ซึ่งหลักสูตรในการเรียนจะเรียนทุกทักษะคือ ฟัง พูด
อ่าน และเขียน
นักศึกษาที่มาเรียนส่วนใหญ่เป็นคนในท้องถิ่นที่ไม่มีพื้นฐาน
ภาษาไทยมาก่อนแต่จะเป็นนักศึกษาที่เป็นบุตรเกิดในหมู่บ้านคนไทย
นักศึกษากลุ่มนี้จะสามารถพูดได้แต่การออกเสียงวรรณยุกต์อาจจะเพี้ยน
ไปบ้างและอาจจะสะกดไม่ถูกต้อง
ในออสเตรเลีย
การจัดการเรียนการสอนภาษาไทยอย่างเป็นระบบในออสเตรเลีย
เริ่มขึ้นที่สถาบันภาษาพอยต์คุก (Point Cook) ในรัฐวิคตอเรีย โดยมี
วัตถุประสงค์เพื่อนาไปใช้ประโยชน์ทางการทหารเป็นสาคัญ
การจัดการเรียนการสอนจึงเป็นไปตามหลักสูตรที่
กระทรวงกลาโหมของออสเตรเลียกาหนดขึ้นเพื่อฝึกอบรมของกระทรวง ฯ
ให้มีความรู้และความเชี่ยวชาญในด้านการภาษาไทยอย่างถูกต้องและชัดเจน
ต่อมาในปี 2518 จึงมีการเปิดสอนภาษาไทยระดับปริญญาขึ้นเป็น
ครั้งแรกที่คณะเอเชียศึกษามหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลีย การเปิด
สอนภาษาไทยในครั้งนี้ได้มีการเชิญอาจารย์ผู้สอนภาษาไทย
ที่มหาวิทยาลัยแห่งศรีนครินวิโรฒประสานมิตร มาเป็นผู้สอนภาษาไทย
ที่มหาวิทยาลัยแห่งชาติออสเตรเลียเป็นเวลา 4 ปี
การเปิดสอนในครั้งนี้ถึงแม้ว่าจะมีผู้เรียนไม่มากนัก แต่ก็ถือได้ว่า
ผู้สอนประสบความสาเร็จในการจัดการเรียนการสอน และเมื่อปฏิบัติ
ภารกิจเสร็จสิ้นผู้สอนจาเป็นเดินทางกลับประเทศไทย แต่ทาง
มหาวิทยาลัยก็ยังคงมีการจัดการเรียนการสอนภาษาไทยต่อไป
จากบทความที่เสนอในการสัมมนาข้างต้น ภาพการเรียนการสอน
ภาษาไทยได้ขยายวงกว้างออกสู่มหาวิทยาลัยและสถาบันเอกชนเพิ่มมากขึ้น
โดยเฉพาะในประเทศญี่ปุ่น อังกฤษ อเมริกา และเป็นโอกาสให้ผู้เรียนที่
สนใจมีโอกาสได้เรียนภาษาไทย
ผลการสารวจความสนใจและแรงจูงในในการเรียนภาษาไทย
ซึ่งผู้เขียนได้ทาไว้ในปี 2538 และปี 2543 มีข้อสรุปดังนี้
ความคิดเห็นของนักศึกษาเกาหลี
ต่อการสอนภาษาไทยให้นักศึกษาเกาหลี
การศึกษาการเรียนภาษาไทยของนักศึกษาเกาหลีครั้งนี้ ศึกษาโดย
ใช้แบบสอบถามและการสัมภาษณ์นักศึกษาจากมหาวิทยาลัยปูซาน ประเทศ
เกาหลี ซึ่งเป็นนักศึกษาวิชาเอกภาษาไทย ชั้นปีที่ 2 และ 3 จานวน 20 คน ที่
ได้มาเรียนภาษาไทยแบบเข้ม ณ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
เป็นเวลา 2 เดือน
วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาเหตุผลในการเลือกเรียนภาษาไทย จุดมุ่งหมาย
ในอนาคตด้านการศึกษาต่อและด้านอาชีพตลอดจนความสนใจเกี่ยวกับ
ไทยศึกษา
2. เพื่อทราบความคิดเห็นของนักศึกษาชาวเกาหลีในฐานะผู้เรียน
ภาษาไทย ด้านปัจจัยที่จะเอื้อประโยชน์ต่อการเรียนภาษาไทย ความยาก
หรือปัญหาในการเรียนภาษาไทย ข้อเสนอแนะด้านการสอนของอาจารย์
และการเรียนนอกห้องเรียนของผู้เรียน
เหตุผลที่เลือกเรียนภาษาไทย
เหตุผลสาคัญอันดับหนึ่ง คือ เพื่อจะได้รู้จักประเทศไทย ความ
เป็นอยู่ของคนไทย ตลอดจนเศรษฐกิจและวัฒนธรรมไทย
เหตุผลอันดับสอง คือ ต้องการมาทางานกับบริษัทเกาหลีใน
ประเทศไทยเช่น ทางานเป็นนักธุรกิจ มัคคุเทศก์ ผู้สื่อข่าว ผู้จัดรายการวิทยุ
โทรทัศน์ หรือทางานกับสถานทูตหรือสายการบิน
เหตุผลอันดับสาม คือ ความต้องการพูดภาษาไทยและการศึกษาต่อ
ในประเทศไทย
เหตุผลอันดับสี่ คือ ความต้องการท่องเที่ยวในประเทศไทย
ความสนใจไทยศึกษา
1. สนใจเรียนภาษาไทยและวัฒนธรรมไทยเป็น อันดับหนึ่ง
2. สนใจเรียนสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง เป็น
อันดับสอง
3. สนใจวรรณคดีไทย ประวัติศาสตร์ ศาสนาพุทธเป็น
อันดับสาม
ทัศนคติต่อภาษาไทยและหลักสูตรภาษาไทยที่เคยเรียนมา
1. อาจารย์สอนภาษาไทยขั้นเริ่มควรเป็นคนเกาหลี
2. อาจารย์สอนภาษาไทยขั้นกลางและขั้นสูงควรเป็นคนไทย
3. ผู้สอนต้องสอนให้ง่ายและสนุกโดยผ่านวิธีสอนที่หลากหลาย
มีกิจกรรมประกอบ เช่น เต้นรา ดนตรี เพลง นิทาน
4. ด้านเนื้อหา ผู้สอนควรสอดแทรกให้เข้าใจ สังคม การเมือง
วรรณคดี
ทัศนคติต่อภาษาไทยและหลักสูตรภาษาไทยที่เคยเรียนมา (ต่อ)
5. มีการสอนโดยการฝึกทักษะมากขึ้นและให้ได้มีโอกาสสนทนา
กับคนไทย
6. ผู้เรียนควรสนใจและพยายามฝึกฝนการแต่งประโยคและการพูด
7. ผู้เรียนควรมีวิธีฝึกฝนเรียนรู้นอกชั้นเรียนโดยหาโอกาสอ่าน
หนังสือพิมพ์ภาษาไทย พูดกับคนไทย ท่องจาคาศัพท์และมาท่องเที่ยว
ประเทศไทย
สิ่งที่ยากในการเรียนภาษาไทย
1. เรื่องการออกเสียงเป็นเรื่องยากที่สุด โดยเฉพาะเสียงวรรณยุกต์
และเสียงควบกล้า
2. นักศึกษามีปัญหามากด้านการเรียงคาในการแต่งประโยค
ภาษาไทย
3. นักศึกษามีปัญหาในการฟังคนไทยพูด โดยจะเข้าใจได้ยากมาก
เพราะไม่มีโอกาส ได้ฝึกการฟังเท่าใดนัก
ประโยชน์ของการศึกษา
การศึกษาครั้งนี้เป็นประโยชน์ในการจัดทาโปรแกรมการสอน
ภาษาไทย การจัดทาแบบฝึกทักษะ และการเรียบเรียงบทอ่านเสริมทักษะ
ภาษาไทยของศูนย์ไทยศึกษา คณะศึกษาศาสตร์
ความคิดเห็นของชาวต่างประเทศต่อกรณีการสอน
ภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง
 ความยาก - ง่าย ของภาษาไทย เมื่อเทียบกับภาษาอังกฤษ
(ภาษาไทยไม่ยากเท่า)
ครูภาษาไทยระดับต้นควรรู้ภาษาแม่ของผู้เรียน
(ไม่จาเป็นเสมอไป)
อาจารย์สอนภาษาไทยชั้นกลางและชั้นสูงควรเป็นคนไทย
(เห็นด้วย)
ความพึงพอใจของผู้เรียนที่ได้เรียนภาษาไทย
(อยู่ในระดับดี)
ความคิดเห็นของชาวต่างประเทศต่อกรณีการสอน
ภาษาไทยเป็นภาษาที่สอง (ต่อ)
 ความพึงพอใจต่อหลักสูตรภาษาไทยที่เคยเรียน
(อยู่ในระดับดี)
 เรียนภาษาไทยในประเทศไทยมีประโยชน์มาก
(เห็นด้วยอย่างยิ่ง)
 เรียนภาษาไทยให้ได้ผลดีต้องฝึกปฏิบัติด้านการพูด การฟัง การอ่าน
และการเขียน
(เป็นข้อเสนอแนะที่เห็นด้วยอย่างยิ่ง)
ชาวต่างประเทศที่เรียนภาษาไทยแบ่งได้ 2 ลักษณะ คือ ผู้ที่เรียนใน
ประเทศของตน กับผู้ที่เข้ามาเรียนในไทย การเรียนในประเทศของตนยัง
แบ่งเป็นการเรียนในสถาบันการศึกษาในฐานะเป็นกระบวนวิชาที่นับ
หน่วยกิต และเรียนเพื่อเป็นพื้นฐานในการเรียนรู้ประเทศไทย หรือเข้ามา
ศึกษา ท่องเที่ยวในประเทศไทย ส่วนการเรียนภาษาไทยในประเทศไทยนั้น
ค่อนข้างมีจุดประสงค์หลากหลายและต่างระดับเป้าหมายในการเรียนรวมถึง
แรงจูงใจก็มีความแตกต่างกัน
แรงจูงใจในการเรียน หรือ Motivation ของผู้เรียน ย่อมมีความ
แตกต่างกัน เช่น คุณแดนที่เรียน ณ โรงเรียนภาษาแห่งหนึ่งในเชียงใหม่เป็น
เวลา 15 ชั่วโมง ย่อมเป็นคนละระดับกับคุณเคอิซุเกะที่เรียน ณ ศูนย์ไทย
ศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ที่คนหลังมีเวลาเรียนถึง 1 ปี เมื่อจบแล้วจะทางาน
ให้กับบริษัทลูกที่เมืองไทยได้
ดังนั้นถ้าเราสอบถามชาวต่างประเทศโดยเอาจานวนเป็นหลัก เราก็
จะได้กลุ่มตัวอย่างที่เป็นประเภทแรก คือ เรียนภาษาไทยเพื่อความสนุก
ประการแรก : เกิดจากการได้เข้ามาท่องเที่ยวในประเทศไทย เข้ามา
ศึกษาวัฒนธรรม สภาพภูมิอากาศประเทศไทย
ประการที่สอง : เกิดจากลักษณะทางกายภาพของคนไทย เช่น ชาย
ชาวต่างชาติคนหนึ่งบอกว่าเมืองไทยเหมาะกับเขา เขาเป็นคนเรียบร้อย
เมืองไทยนิยมผู้ชายผมสั้น แต่งตัวเรียบร้อย แต่มีอย่างหนึ่งที่แตกต่าง
จากชายไทย คือ เขาไม่เจ้าชู้
ประการที่สาม : การเข้ามาลงทุนในประเทศไทย ตั้งบริษัทจนประสบ
ความสาเร็จเป็นฐานขยายไปสู่ประเทศเพื่อนบ้านของไทย ทาให้เขาต้อง
ใช้ภาษาไทยในการสื่อสารทาให้พูดได้มาก อ่านได้บ้าง จนมีเวลา และ
ปลีกตัวจากงานมาเรียนภาษาไทยอย่างเป็นทางการ
คนที่มาเรียนภาษาไทยอย่างไม่มีเป้าหมายก็มีเหมือนกัน เขามีเพียง
เป้าหมายกว้าง ๆ เท่านั้น จะเป็นเนื้อหา การฟัง พูด อ่าน เขียน และเรียน
เนื้อหาอะไรก็ได้ ส่วนมากจะมีอายุน้อย เพิ่งเรียนจบชั้นมัธยมศึกษา พ่อแม่ก็
ส่งมาเรียน หรือทางานเก็บเงินแล้วเข้ามาอยู่ในประเทศไทย เรียนอะไรสัก
อย่างที่เหมาะ นั่นก็คือ ภาษาไทย แต่ในที่สุดเขาอาจเป็นผู้เชี่ยวชาญ
ภาษาไทยและประเทศไทยได้ ถ้าเขาอายุ 50 ปี เพราะเขามีประสบการณ์
มาก เป้าหมายของเขาจะชัดเจนขึ้นจนเลือกสิ่งที่สนใจให้กับตัวเองได้
สวัสดีค่ะ 

More Related Content

What's hot

การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdf
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdfการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdf
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdfssuserca71fb
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจDuangnapa Inyayot
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการProud N. Boonrak
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับdevilp Nnop
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1Sokoy_jj
 
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldPa'rig Prig
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1CC Nakhon Pathom Rajabhat University
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7chunkidtid
 
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newเฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newjuckit009
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาwattanaka
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษKritsadin Khemtong
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1suchinmam
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11Benjarat Meechalat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสNoopatty Sweet
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศSupaporn Khiewwan
 

What's hot (20)

การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdf
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdfการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdf
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdf
 
แบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจแบบสอบถามความพึงพอใจ
แบบสอบถามความพึงพอใจ
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 
ใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับใบความรู้แผ่นพับ
ใบความรู้แผ่นพับ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาประวัติศาสตร์ ม.1 หน่วยที่ 1
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ldการจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
การจัดการเรียนการสอนสำหรับเด็ก ld
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน 1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
 
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 newเฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
เฉลยแบบฝึกหัดงานเกษตร ม.1 new
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
 
วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1วิทย์ ป.1
วิทย์ ป.1
 
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
 
เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11เด็กปัญญาเลิศ....11
เด็กปัญญาเลิศ....11
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศเฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารสนเทศ
 

Viewers also liked

การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทยการสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทยJarinya Chaiyabin
 
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์Watcharapol Wiboolyasarin
 
ปฏิทินรายเดือน
ปฏิทินรายเดือนปฏิทินรายเดือน
ปฏิทินรายเดือนJarinya Chaiyabin
 
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติJarinya Chaiyabin
 
Інвестування в системі міжнародного бізнесу
Інвестування в системі міжнародного бізнесуІнвестування в системі міжнародного бізнесу
Інвестування в системі міжнародного бізнесуOllie Flawless
 
Het rode potlood - Pecha Kucha Night Veenendaal 15 februari 2017
Het rode potlood - Pecha Kucha Night Veenendaal 15 februari 2017Het rode potlood - Pecha Kucha Night Veenendaal 15 februari 2017
Het rode potlood - Pecha Kucha Night Veenendaal 15 februari 2017Swen-Peter Ekkebus
 
Міжнародні інвестиції та іжнародна підприемницька діяльність
Міжнародні інвестиції та іжнародна підприемницька діяльністьМіжнародні інвестиції та іжнародна підприемницька діяльність
Міжнародні інвестиції та іжнародна підприемницька діяльністьOllie Flawless
 
new resume - ed_updated
new resume - ed_updatednew resume - ed_updated
new resume - ed_updatededward viernes
 

Viewers also liked (13)

การสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทยการสอนภาษาไทย
การสอนภาษาไทย
 
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
คู่มือนักศึกษาคณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
 
ปฏิทินรายเดือน
ปฏิทินรายเดือนปฏิทินรายเดือน
ปฏิทินรายเดือน
 
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติหนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
หนังสือเรียนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
Week 3 of TTFL
Week 3 of TTFLWeek 3 of TTFL
Week 3 of TTFL
 
Інвестування в системі міжнародного бізнесу
Інвестування в системі міжнародного бізнесуІнвестування в системі міжнародного бізнесу
Інвестування в системі міжнародного бізнесу
 
Het rode potlood - Pecha Kucha Night Veenendaal 15 februari 2017
Het rode potlood - Pecha Kucha Night Veenendaal 15 februari 2017Het rode potlood - Pecha Kucha Night Veenendaal 15 februari 2017
Het rode potlood - Pecha Kucha Night Veenendaal 15 februari 2017
 
Informativo insp 37
Informativo insp   37Informativo insp   37
Informativo insp 37
 
Masonic central podcast
Masonic central podcastMasonic central podcast
Masonic central podcast
 
Міжнародні інвестиції та іжнародна підприемницька діяльність
Міжнародні інвестиції та іжнародна підприемницька діяльністьМіжнародні інвестиції та іжнародна підприемницька діяльність
Міжнародні інвестиції та іжнародна підприемницька діяльність
 
Raza Resume
Raza ResumeRaza Resume
Raza Resume
 
new resume - ed_updated
new resume - ed_updatednew resume - ed_updated
new resume - ed_updated
 
AB Berkshire_West_Post_Feasibility_Study_v02
AB Berkshire_West_Post_Feasibility_Study_v02AB Berkshire_West_Post_Feasibility_Study_v02
AB Berkshire_West_Post_Feasibility_Study_v02
 

Similar to แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย

งานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีงานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีSutat Inpa
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศKanthika Sriman
 
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)Aorsuwanee
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศณชารีญา ศรีหะรัญ
 
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศบทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศjutamat tawebunyasap
 
รายงานวิชาการ
รายงานวิชาการรายงานวิชาการ
รายงานวิชาการGik Trio
 
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศD๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศAorsuwanee
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยNamTarn Sasima
 
แรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทย
แรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทยแรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทย
แรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทยnokporn phetwiset
 
งานชิ้นที่1 แนะนำตัว
งานชิ้นที่1 แนะนำตัวงานชิ้นที่1 แนะนำตัว
งานชิ้นที่1 แนะนำตัวThanandon Tutee Juthim
 
งานชิ้นที่1 แนะนำตนเอง
งานชิ้นที่1 แนะนำตนเองงานชิ้นที่1 แนะนำตนเอง
งานชิ้นที่1 แนะนำตนเองThanandon Tutee Juthim
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศจีระภา ตราโชว์
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศPuck Songpon
 
แผนที่ 5 mlabri hilltribe
แผนที่ 5 mlabri hilltribeแผนที่ 5 mlabri hilltribe
แผนที่ 5 mlabri hilltribeTeacher Sophonnawit
 
สารัดถะความเป็นครู
สารัดถะความเป็นครูสารัดถะความเป็นครู
สารัดถะความเป็นครูnarueporn
 
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศ
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศสื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศ
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศlinda kriluck
 
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)Darunpob Srisombut
 

Similar to แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย (20)

งานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีงานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดี
 
งานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดีงานอาจารย์ฤดี
งานอาจารย์ฤดี
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
D2 งานชิ้นที่2 การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ (มหาวิทยาลัยคอร์เนล)
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศบทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
บทที่ ๔ ภาษาไทยสำหรับชาวต่างประเทศ
 
รายงานวิชาการ
รายงานวิชาการรายงานวิชาการ
รายงานวิชาการ
 
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศD๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
D๒ งานชิ้นที่๑ การสอนภาษาไทยต่างประเทศ
 
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทยแรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย
 
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติการเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
การเปิดสอนภาษาไทยสำหรับชาวต่างชาติ
 
แรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทย
แรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทยแรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทย
แรงจูงใจในการเรียนวิชาภาษาไทย
 
งานชิ้นที่1 แนะนำตัว
งานชิ้นที่1 แนะนำตัวงานชิ้นที่1 แนะนำตัว
งานชิ้นที่1 แนะนำตัว
 
งานชิ้นที่1 แนะนำตนเอง
งานชิ้นที่1 แนะนำตนเองงานชิ้นที่1 แนะนำตนเอง
งานชิ้นที่1 แนะนำตนเอง
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศการสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
แผนที่ 5 mlabri hilltribe
แผนที่ 5 mlabri hilltribeแผนที่ 5 mlabri hilltribe
แผนที่ 5 mlabri hilltribe
 
สารัดถะความเป็นครู
สารัดถะความเป็นครูสารัดถะความเป็นครู
สารัดถะความเป็นครู
 
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศ
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศสื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศ
สื่อการสอนและห้องเรียน ในฐานะภาษาต่างประเทศ
 
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
รายงาน เรื่อง ทรงผม(ของ)นักเรียน | ดรัณภพ ศรีสมบัติ (2019)
 
Edu system
Edu systemEdu system
Edu system
 

แรงจูงใจของผู้เรียนภาษาไทย