SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
1 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ 
รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 
ปีการศึกษา 2557 
ชื่อโครงงาน ลายผ้าไหมไทย 
ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 น.ส. ธมนวรรณ เพ็ญไชยา เลขที่ 1 ชั้น 6 ห้อง 14 
2 น.ส. ปภัชญา จักรชัยสิน เลขที่ 9 ชั้น 6 ห้อง 14 
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ 
ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557 
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ 
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
2 
ใบงาน 
การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ 
สมาชิกในกลุ่ม 
1 น.ส. ธมนวรรณ เพ็ญไชยา เลขที่ 1 ชั้น 6 ห้อง 14 
2 น.ส. ปภัชญา จักรชัยสิน เลขที่ 9 ชั้น 6 ห้อง 14 
คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ 
ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) 
ลายผ้าไหมของไทย 
ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Thailand of Silk 
ประเภทโครงงาน เพื่อการเรียนรู้ 
ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส. ธมนวรรณ เพ็ญไชยา และ น.ส.ปภัชญา จักรชัยสิน 
ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ 
ชื่อที่ปรึกษาร่วม - 
ระยะเวลาดาเนินงาน 3 เดือน 
ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) 
ผ้าไหมไทยได้รับการยอมรับว่าเป็นราชินีของเส้นใยทั้งหมดที่มีอยู่ในโลกปัจจุบัน ผ้าไหมหรือ ผลิตภัณฑ์จากไหมนั้นบอบบาง จึงต้องปฏิบัติรักษาอย่างพิถีพิถันอย่างน้อยทุกคนก็ทราบดีอยู่แล้วว่า คุณสมบัติต่าง ๆ ที่จะต้องปฏิบัติรักษา เคลื่อนย้ายอย่างระมัดระวัง ความสุข ความเบาสบาย ความภูมิใจ จะไม่เกิดขึ้นเลย ถ้าเราจะไม่ทาการรักษาคุณภาพอันดีเลิศของผลิตภัณฑ์ จากไหมทุกชนิดให้อยู่ใน สภาพที่น่าหยิบ น่าเป็นเจ้าของและน่าสวมใส่ 
ผ้าไหมไทย... คุณค่าสู่สากล
3 
เนื่องจากปัจจุบันคนในประเทศไทยไม่ค่อยรู้จักลายของผ้าไหมไทยอย่างลึกซึ้งและไม่ได้ให้ ความสาคัญกับรายละเอียดต่างๆของผ้าไหมไทย จึงมีแนวคิดที่จะรวบรวมข้อมูลรายละเอียดของลายผ้า ไหมไทยมานาเสนอและอธิบายในรูปแบบของโครงงาน เพื่อให้คนหันมาสนใจและให้ความสาคัญกับ ผ้าไหมและอนุรักษ์พร้อมทั้งสืบต่อไปยังคนรุ่นหลังต่อไป 
วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) 
เพื่อให้คนหันมาสนใจและให้ความสาคัญกับผ้าไหมและอนุรักษ์พร้อมทั้งสืบต่อไปยังคนรุ่น หลังต่อไป 
ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) 
ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลรู้และเข้าใจเรื่องลายผ้าไหมไทยเพื่อนามาศึกษาและทาโครงงาน เผยแพร่ 
หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) 
ผ้าไหมไทยเป็นที่สนใจไปทั่วโลกแต่คนไทยยังไม่รู้จักดีนักโดยเฉพาะลายของผ้าไหมไทยซึ่งมี มากมายจึงสนใจที่จะนาลายของผ้าไหมไทยมาทาเป็นโครงงานเพื่อให้ผู้คนได้รู้จัก 
1.1 ผ้าไหมไทย คือ 
เป็นผ้าไหมซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวแตกต่างจากผ้าไหมทั่วไป กล่าวคือ มีแสงแวววาวเป็นมันเลื่อม เนื้อผ้าฟูไม่เรียบ อ่อนนุ่ม มีน้าหนัก บางชนิดเป็นปุ่มปมอันเนื่องมาจากระดับคุณภาพซึ่งเกิดใน กระบวนการผลิตแต่ก็ทาให้ได้รับความนิยมของคนบางกลุ่มเพราะดูแล้วมีความแปลกตา
4 
1.2 ประวัติของผ้าไหมไทย ผ้าไหมมีถิ่นกาเนิดในประเทศจีนและประเทศอินเดีย การทอผ้าไหมมีขึ้นราว 2,640 ปี ก่อน คริสตกาล พ่อค้าชาวจีนได้เผยแพร่ผ้าไหมสู่พื้นที่อื่นในแถบเอเชีย สาหรับประเทศไทยนักโบราณคดี พบหลักฐานที่แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงซึ่งบ่งชี้ว่ามีการใช้ผ้าไหมเมื่อ 3,000 ปีก่อน การทอผ้าไหมในประเทศไทยในอดีตมีการทากันในครัวเรือนเพื่อใช้เอง หรือทาขึ้นเพื่อใช้ใน งานพิธี เช่น งานบุญ งานแต่งงาน ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้ส่งเสริมให้ใช้ผ้าไหม ส่วนการปลูกหม่อนเพื่อเลี้ยงไหมได้รับการสนับสนุน จากประเทศญี่ปุ่น แต่การดาเนินงานของโครงการก็ทาได้เพียงระยะหนึ่งมีอันต้องหยุดไป เนื่องจาก เกษตรกรไทยยังคงทาในลักษณะแบบเดิมเพราะความเคยชิน ไม่ตอบรับต่อการเปลี่ยนแปลงไปสู่แบบ ใหม่ที่ได้รับการพัฒนาขึ้นจากความช่วยเหลือของญี่ปุ่น หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญของผ้าไหมไทยขึ้น โดย เจมส์ แฮร์ริสัน วิสสัน ทอมป์สัน ชาวสหรัฐอเมริกาหรือที่คนไทยรู้จักในนามว่า จิม ทอมป์สัน ซึ่งเป็นผู้ที่ให้ ความสนใจผลงานด้านศิลปะ ในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย รวมทั้งลาว และเขมร จิม ทอมป์สัน ได้ซื้อผ้าไหมไทยลวดลายต่างๆ เก็บสะสมไว้ และทาการศึกษาลวดลายผ้าไหมในหมู่บ้านที่ เป็นแหล่งการผลิตผ้าไหม พร้อมกับเสาะแสวงหาช่างทอผ้าไหมฝีมือดี ในที่สุดได้พบช่างมีฝีมือถูกใจที่ กรุงเทพมหานคร บริเวณชุมชนบ้านครัว (หลังโรงแรมเอเชีย เขตราชเทวีในปัจจุบัน) ชุมชนแห่งนี้เดิมเป็นชาวมุสลิมเชื้อสายเขมร อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ตั้งแต่ตอนต้นกรุง รัตนโกสินทร์ มีความชานาญในการทอผ้าไหม ซึ่ง จิม ทอมป์สัน ได้เข้ามาสนับสนุนให้ชาวบ้านใน ชุมชนทอผ้าไหม สามารถสร้างรายให้ชาวบ้านมากขึ้น หลังจากนั้นได้มีการปรับปรุงผ้าไหมไทยโดย ใช้หลักการตลาด การผลิต เพื่อขยายตลาด และทาการบุกเบิกผ้าไหมของไทยไปสู่ตลาดต่างประเทศ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา และแพร่เข้าสู่วงการภาพยนตร์ของชาติตะวันตก และ ละครบรอดเวย์ ในปี พ.ศ. 2502 นักออกแบบชาวฝรั่งเศสได้ใช้ผ้าไหมไทยทาการออกแบบและตัดเย็บฉลอง พระองค์ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ครั้งเสด็จเยือนประเทศสหรัฐอเมริกาอย่าง เป็นทางการ ถือได้ว่าเป็นการเปิดโอกาสผ้าไหมของไทยสู่ตลาดต่างประเทศ 1.3 ระดับคุณภาพ ในปัจจุบันมีการนาเข้าวัตถุดิบเส้นไหม และเส้นใยสังเคราะห์จากต่างประเทศ ทั้งมีการนาเข้าถูก กฎหมายและลักลอบนาเข้าแบบผิดกฎหมาย ทาให้วัตถุเส้นไหมจึงมีทั้งคุณภาพได้มาตรฐานและ คุณภาพต่ากว่ามาตรฐานทาให้ผ้าไหมไทยมีคุณภาพต่าลง กระนั้นผู้ผลิตก็ยังคงใช้ตราสัญลักษณ์ว่า "ผ้า
5 
ไหมไทย" หรือ "Thai Silk" เพื่อการค้า ยังผลให้ผู้ซื้อทั้งของประเทศไทยและตลาดต่างประเทศไม่ มั่นใจในคุณภาพของผ้าไหมไทย จากปัญหาดังกล่าวสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ จึง ทรงมีกระแสพระราชดารัสให้หน่วยงานที่รับผิดชอบไปดาเนินการวิเคราะห์หาสาเหตุและแนว ทางการแก้ไข ปี พ.ศ. 2545 หน่วยงานซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับผ้าไหมไทย เช่น กรมวิชาการเกษตร กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ (หน่วยงานเดิมของกรมหม่อนไหม) คณะศิลปกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ และมูลนิธิส่งเสริมศิลปา ชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถร่วมกันจัดสัมมนาหาแนวทางแก้ไขจนได้ข้อสรุป เป็นมาตรการคุ้มครองไหมไทยและออกข้อบังคับในการผลิตผ้าไหมไทยโดยออกตราสัญลักษณ์ รับรองคุณภาพผ้าไหมไทยไว้เป็นระดับต่างๆ และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานสัญลักษณ์นกยูงไทย ให้เป็นเครื่องหมายรับรองคุณภาพสาหรับ ผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทยไว้ 4 ชนิด  นกยูงสีทอง (Royal Thai Silk) เป็นผ้าไหมซึ่งผลิตจากวัตถุดิบ เส้นไหม กระบวนการผลิต แบบภูมิปัญญาพื้นบ้านดั้งเดิมของไทยอย่างแท้จริงและใช้เส้นไหมพันธุ์ไทยพื้นบ้านเป็นทั้งเส้นพุ่ง และเส้นยืน เส้นไหมจะต้องสาวเส้นด้วยมือผ่านพวงสาวลงภาชนะ การทอด้วยกี่ทอมือแบบ พื้นบ้านชนิดพุ่งกระสวยด้วยมือ ย้อมด้วยสีธรรมชาติ หรือสีเคมีที่ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม และต้อง ผลิตในประเทศไทย  นกยูงสีเงิน (Classic Thai Silk) เป็นผ้าไหมซึ่งผลิตขึ้นแบบภูมิปัญญาพื้นบ้านผสมผสานกับการ ประยุกต์ใช้เครื่องมือและกระบวนการผลิตในบางขั้นตอน ใช้เส้นไหมพันธุ์ไทยพื้นบ้านหรือที่ ได้รับการปรับปรุงจากพันธุ์ไทยเป็นเส้นพุ่งหรือเส้นยืน เส้นไหมต้องผ่านการสาวด้วยมือ หรือ อุปกรณ์ที่ใช้มอเตอร์ขับเคลื่อนขนาดไม่เกิน 5 แรงม้า การทอต้องทอด้วยกี่ทอมือชนิดพุ่ง กระสวยด้วยมือหรือกี่กระตุก และต้องทาการผลิตในประเทศไทย  นกยูงสีน้าเงิน (Thai Silk) เป็นผ้าไหมซึ่งผลิตด้วยภูมิปัญญาของไทยโดยการประยุกต์ เทคโนโลยีการผลิตให้เข้ากับสมัยนิยมและทางธุรกิจธุรกิจ ใช้เส้นไหมแท้เป็นเส้นพุ่งและเส้น ยืน ย้อมสีด้วยสีธรรมชาติ หรือสีเคมีที่ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม ทอด้วยกี่แบบใดก็ได้ และต้องผลิต ในประเทศไทย  นกยูงสีเขียว (Thai Silk Blend) เป็นผ้าไหมซึ่งผ่านกระบวนการผลิตและเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ ผสมผสานกับภูมิปัญญาไทย เช่น ลวดลาย สีสัน ใช้เส้นใยไหมแท้กับเส้นใยอื่นที่มาจากวัสดุ ธรรมชาติ หรือเส้นใยสังเคราะห์ต่างๆ ตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน หรือตามความต้องการ
6 
ของผู้บริโภค เส้นไหมแท้เป็นองค์ประกอบหลัก มีเส้นใยอื่นเป็นส่วนประกอบรอง สัดส่วนการ ใช้เส้นใยชนิดอื่นประกอบต้องระบุให้ชัดเจน ทอด้วยกี่ชนิดใดก็ได้ ย้อมสีด้วยสีธรรมชาติ หรือ สีเคมีที่ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม และต้องผลิตในประเทศไทย 
วิธีดาเนินงาน 
แนวทางการดาเนินงาน 
ขั้นตอนที่ 1 -การเลี้ยงไหม วงจรชีวิตของไหมหรือหนอนไหมใช้เวลาประมาณ 45 - 52 วัน หนอนไหมจะกินใบหม่อนหลังจาก ฟักออกจากไข่ประมาณวันที่ 10 จากนั้นจะหยุดกินอาหารและลอกคราบ ระยะนี้เรียกว่า “ ไหมนอน ” ต่อจากนั้นจะกินนอนและลอกคราบประมาณ 4ครั้งเรียกว่า “ ไหมตื่น ” ลาตัวจะมีสีขาวเหลืองใสหด สั้น และหยุดกินอาหาร ระยะนี้เรียกว่า “ หนอนสุก ” ช่วงนี้ผู้เลี้ยงไหมต้องรีบแยกหนอนไหมสุกออก จากกองใบหม่อน และเตรียม “ จ่อ ” คืออุปกรณ์ที่จะให้ตัวไหมเกาะเพื่อชักใยห่อหุ้มตัวหนอนจะเริ่ม พ่นใยได้ประมาณ 6-7 วัน ก็จะสามารถเก็บรังไหมออกจากจ่อได้ เส้นใยของหนอนเกิดจากการขับ ของเหลวชนิดหนึ่ง มีสารโปร่งแสงเป็นองค์ประกอบ ใยไหมที่เห็นแต่ละเส้นจะประกอบด้วยเส้นใย เล็กๆ สองเส้นรวมกัน สามารถฉีกแยกออกจากกันได้ ทั้งนี้รังไหมแต่ละรังจะให้สายไหมที่มีขนาด แตกต่างกัน ชั้นนอกสุดของรังจะมีความละเอียดพอสมควร ชั้นกลางจะเป็นเส้นหยาบและชั้นในสุดจะ เป็นเส้นไหมที่ละเอียดที่สุด ซึ่งหนอนไหมแต่ละตัวจะชักใยยาวไม่เท่ากัน อาจสาว ได้ยาวตั้งแต่ 350 - 1,200 หนอนไหมจะเจาะรังออกมาเป็นผีเสื้อเมื่ออยู่ในรังครบ 10 วัน ซึ่งผู้เลี้ยงจะคัด ไหมที่สมบูรณ์ไว้ทาพันธุ์ ส่วนที่เหลือนาไปสาวไหมก่อนที่ผีเสื้อจะเจาะรังออกมา ซึ่งเส้นจะขาดและ ทาเส้นไหม ขั้นตอนที่ 2 เมื่อได้รับไหมสดจะต้องนาไปอบให้แห้ง จากนั้นนาไหม ที่อบแห้งไปต้มในน้าที่สะอาดที่มีคุณสมบัติเป็นกลาง รัง ไหมจะเริ่มพองตัวออก ใช้ปลายไม้เกี่ยวเส้นใยออกมา รวมกันหลายๆ เส้น การสาวต้องเริ่มต้นจากขุยรอบนอก
7 
และเส้นใยภายในรวมกัน เรียกว่า“ ไหมสาว ” หรือ “ ไหมเปลือก ” ครั้นสาวถึงเส้นใย ภายในแล้ว เอารังไหมที่มีเส้นภายในแยกไปสาวต่างหากเรียกว่า “ เส้นไหมน้อย ”หรือ “ ไหมหนึ่ง ” ผู้ สาวไหมต้องมีความชานาญและทักษะจึงจะได้เส้นไหมที่มีคุณภาพดี เมื่อเติมรังไหมลงไปอีก รังไหม ใหม่สามารถรวมเส้นกับรังไหมเก่าได้ โดยไม่ทาให้เส้นไหมขาด ขั้นตอนที่ 3 -การตีเกลียว การตีเกลียวไหมจะช่วยทาให้ผ้าที่จะทอมีความหนา หลังจากเอาไหมสองไหมสามออก ใช้ไม้คีบ ลักษณะคล้ายไม้พาย มีร่องกลางสาหรับคีบ เกลี่ยรังไหมกดให้เส้นไหมตีเกลียวแน่นดูเล็ก ต้อง ระมัดระวังและต้องอาศัยความชานาญ และมีเทคนิคในการทาให้รังที่ต้มเกาะกันเป็นเส้นตามขนาดที่ ต้องการ ทาให้เส้นไหมพันหรือไขว้กันหลายๆ รอบ แล้วพักไว้ในกระบุงต่อจากนั้นจะนามากรอเข้า “กง” แล้วนาไปหมุนเข้า “อัก” เพื่อตรวจหาปุ่มปม หรือตัดแต่งเส้นไหมที่ไม่เท่ากันออก จึงเอาเข้า เครื่องปั่นเพื่อให้เส้นไหมแน่นขึ้น ก่อนที่จะหมุนเข้ากงอีกครั้ง เพื่อรวมเป็นไจ ซึ่งหนึ่งไจจะต้องหมุน กง 80 รอบ เรียกว่า “ไหมดิบ”เส้นไหมดิบที่ได้จะต้องทาการชุบให้อ่อนตัว โดยนาไปชุบน้าสบู่อ่อนๆ ประมาณ 15-20 นาที แล้วนาไปสลัดและผึ่งลมให้แห้ง โดยหมั่นกระตุกให้เส้นไหมแยกตัวเพื่อนาไป เข้าระวิงได้ จากนั้นก็กรอเส้นไหมเข้าหลอดๆ ละเส้น แล้วดึงปลายไหมแต่ละหลอดเข้าไปรวมกัน ม้วนเข้าหลอดควบตามขนาดที่ต้องการ จากนั้นก็นาไปตีเกลียวประมาณ 330 รอบ ต่อความยาว 1 เมตร จากนั้นก็นาไหมไปนึ่งหรือลวก เพื่อป้องกันมิให้เกลียวเส้นไหมหมุนกลับ หลังจากนั้นก็จะชุบน้าเย็น แล้วกรอเข้าระวิง เรียกว่า “ทาเข็ด” ซึ่งจะทาให้เกลียวอยู่ตัว ขั้นตอนสุดท้าย -การทอผ้า ขั้นตอนสุดท้ายก่อนที่จะออกมาเป็นผ้าผืนงาม การทอผ้าไหมจะประกอบไปด้วยเส้นด้าย 2 ชุด คือ “ เส้นด้ายยืน ” จะขึงไปตามความยาวผ้าอยู่ติดในเครื่องทอ หรือแกนม้วนด้านยืน อีกชนิดหนึ่งคือ “ เส้นด้ายพุ่ง ” จะถูกกรอเข้ากระสวย เพื่อให้กระสวยเป็นตัวนาเส้นด้ายพุ่งสอดขัดเส้นด้ายยืนเป็นมุม ฉาก ทอสลับกันไปตลอดความยาวของผืนผ้า การสอดด้ายพุ่งแต่ละเส้นต้องสอดให้สุดถึงริมแต่ละด้าน แล้วจึงวกกลับมา จะทาให้เกิดริมผ้าเป็นเส้นตรงทั้งสองด้าน ส่วนลวดลายของผ้านั้น ขึ้นอยู่กับการวาง ลายผ้าของแต่ละท้องถิ่น
8 
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 
1.วัตถุดิบ วัตถุดิบที่ใช้ในการทอ ได้แก่ เส้นใยไหมพื้นเมือง หรือ ไหมพันธุ์ สีเคมี หรือ สีวิทยาศาสตร์ และน้า 2.อุปกรณ์ในการย้อมสีไหม ได้แก่ หม้อฟอกไหม หม้อย้อมสี ไม้พาย เครื่องชั่งและเตา 3.เครื่องมือในการเตรียมเส้นไหม คือ หลอด ฟืม ใน หลา อัก กระสวย เล็ง ไม้สอด และตะกอลายขิด 4.วัสดุ อุปกรณ์ในการทอ ได้แก่ กี่พื้นเมือง หรือ กี่มือ ฟืม เขาหูก ไม้ ม้วนผ้า ไม้สาหรับนั่งเวลาทอ คาน เหยียบ คานแขวน กระสวย หลอดไหมพุ่ง เล็ง ไม้ลาย ไม้เก็บขิด อักหลา ไม้ตีขิด ตะกอเก็บลาย และตัว อย่างลายขิดที่ต้องการจะเก็บลาย *วัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ์ และเครื่องมือดังกล่าวนั้นหลายอย่าง ชาวบ้านจะทาเอง บางอย่างจะซื้อมาจากหมู่บ้านข้างเคียง เช่น เส้นไหมยืน โดยเฉพาะสีเคมี หรือ สี สังเคราะห์ที่ชาวบ้านทาเองไม่ได้ 
งบประมาณ 
___-________________________________________________________________ 
___________________________________________________________________ 
___________________________________________________________________ 
__________________________________________________________________ 
___________________________________________________________________
9 
ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน 
ลาดั บ 
ที่ 
ขั้นตอน 
สัปดาห์ที่ 
ผู้รับผิดชอ บ 
1 
2 
3 
4 
5 
6 
7 
8 
9 
10 
11 
12 
13 
14 
15 
16 
17 
1 
คิดหัวข้อโครงงาน 
2 
ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล 
3 
จัดทาโครงร่างงาน 
4 
ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน 
5 
ปรับปรุงทดสอบ 
6 
การทาเอกสารรายงาน 
7 
ประเมินผลงาน 
8 
นาเสนอโครงงาน 
ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) 
จะทาให้ผู้ที่ไม่รู้รายละเอียดหรือข้อมูลเกี่ยวกับลายผ้าไหมไทยของเราได้รับรู้ถึงวัฒนธรรมของไทยใน สมัยโบราณว่ามีวิธีการทาหรือออกแบบลายผ้าไหมไทยอย่างไร 
สถานที่ดาเนินการ ____-_____________________________________________________________________ _________________________________________________________________________
10 
_________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ 
กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 
1.วิชาการออกแบบและเทคโนโลยี เกี่ยวข้องในเรื่องของการออกแบบรูปทรงของผ้าไหมไทย 
2.วิชาศิลปะ เกี่ยวข้องในเรื่องของการออกแบบลวดลายของผ้าไหมไทยในแต่ละแบบ 
แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) 
ความรู้เกี่ยวกับวัสดุและอุปกรณ์ในการทอผ้าไหม 
1. http://phathai.tripod.com/html/Phathai2_2_1.html 
ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาหาข้อมูลของผ้าไหมไทย 
2.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9C%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8% AB%E0%B8%A1%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2 
รูปภาพของลายผ้าไหมไทย 
3.https://www.google.co.th/search?hl=th&site=imghp&tbm=isch&source=hp&biw=1366&bih=667&q=%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%9C%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0% B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2&oq=%E0%B8% A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%9C%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2&gs_l=img.3..0.1757.7250.0.7637.13.6.0.7.7.0.285.1439.0j1j5.6.0.msedrc...0...1ac.1.58.img..0.13.1444.tNi7W6_2DJ8#facrc=_&imgdii=_&imgrc=S0FpUAUTYGBGYM%253A%3Bx_jfrWhbJJVVmM%3Bhttp%253A%252F%252F3. bp.blogspot.com%252F- xFFpSZ1TqZc%252FUphQx9zg8yI%252FAAAAAAAAACA%252FhoSEquuU8dg%252Fs1600% 252F02.jpg%3Bhttp%253A%252F%252Fpamail56.blogspot.com%252F%3B1600%3B1200

More Related Content

What's hot

2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31Sarocha Somboon
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Kiattipong Sriwichai
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”กอฟ กอฟ
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31Sarocha Somboon
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกพัน พัน
 
Asssssssssssssssssss
AsssssssssssssssssssAsssssssssssssssssss
Assssssssssssssssssssunsumm
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korTheyok Tanya
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้KuNg Pw
 
โครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยโครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยKanokwan Makepothi
 

What's hot (20)

2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
กล้วย
กล้วยกล้วย
กล้วย
 
Banananaaaa
BanananaaaaBanananaaaa
Banananaaaa
 
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
เอกสารประกอบการเรียน เรื่อง “การสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์ผ้าบาติก”
 
2562 final project 26,31
2562 final project 26,312562 final project 26,31
2562 final project 26,31
 
Work 1 kopthuay
Work 1 kopthuayWork 1 kopthuay
Work 1 kopthuay
 
File
FileFile
File
 
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติกโครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
โครงงานกระถางต้นไม้จากขวดพลาสติก
 
2561 project 03
2561 project  032561 project  03
2561 project 03
 
2560 project -1-1
2560 project -1-12560 project -1-1
2560 project -1-1
 
Asssssssssssssssssss
AsssssssssssssssssssAsssssssssssssssssss
Asssssssssssssssssss
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
Projectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 korProjectm6 2-2554 kor
Projectm6 2-2554 kor
 
at1
at1at1
at1
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
โครงงาน สุดยอดว่านหางจระเข้
 
งานไนท์
งานไนท์งานไนท์
งานไนท์
 
โครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทยโครงร่างโครงงานขนมไทย
โครงร่างโครงงานขนมไทย
 
2560 project
2560 project2560 project
2560 project
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์

2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำBengelo
 
โครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยโครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยPapatchaya Jakchaisin
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์thitichaya24
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์thitichaya24
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ Warittha Nokmeerod
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Sk'b Methasith
 
1309240992911393 1309300110829
1309240992911393 13093001108291309240992911393 1309300110829
1309240992911393 1309300110829rovTV
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Permtrakul Khammoon
 
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลก
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลกไส้เดือนเพื่อนกู้โลก
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลกkuanjai saelee
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Bliss_09
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้citylong117
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้ง2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้งarisanoodee
 

Similar to โครงงานคอมพิวเตอร์ (20)

Corn Snake
Corn SnakeCorn Snake
Corn Snake
 
2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ2557 โครงงานน้ำ
2557 โครงงานน้ำ
 
โครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทยโครงงานลายผ้าไหมไทย
โครงงานลายผ้าไหมไทย
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Taxonomy
TaxonomyTaxonomy
Taxonomy
 
เค้าโครงร่าง
เค้าโครงร่างเค้าโครงร่าง
เค้าโครงร่าง
 
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
1309240992911393 1309300110829
1309240992911393 13093001108291309240992911393 1309300110829
1309240992911393 1309300110829
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลก
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลกไส้เดือนเพื่อนกู้โลก
ไส้เดือนเพื่อนกู้โลก
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แบบวัฏจักรการเรียนรู้
 
Pre o-net job3
Pre o-net job3Pre o-net job3
Pre o-net job3
 
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีรูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
รูปเล่มโครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
fgfggghj
fgfggghjfgfggghj
fgfggghj
 
2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้ง2559 project ผ้าปักม้ง
2559 project ผ้าปักม้ง
 

โครงงานคอมพิวเตอร์

  • 1. 1 แบบเสนอโครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์ รหัสวิชา ง33202 ชื่อวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6 ปีการศึกษา 2557 ชื่อโครงงาน ลายผ้าไหมไทย ชื่อผู้ทาโครงงาน 1 น.ส. ธมนวรรณ เพ็ญไชยา เลขที่ 1 ชั้น 6 ห้อง 14 2 น.ส. ปภัชญา จักรชัยสิน เลขที่ 9 ชั้น 6 ห้อง 14 ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษาโครงงาน ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ระยะเวลาดาเนินงาน ภาคเรียนที่ 1-2 ปีการศึกษา 2557 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย จังหวัดเชียงใหม่ สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 34
  • 2. 2 ใบงาน การจัดทาข้อเสนอโครงงานคอมพิวเตอร์ สมาชิกในกลุ่ม 1 น.ส. ธมนวรรณ เพ็ญไชยา เลขที่ 1 ชั้น 6 ห้อง 14 2 น.ส. ปภัชญา จักรชัยสิน เลขที่ 9 ชั้น 6 ห้อง 14 คาชี้แจง ให้ผู้เรียนแต่ละกลุ่มเขียนข้อเสนอโครงงานตามหัวข้อต่อไปนี้ ชื่อโครงงาน (ภาษาไทย) ลายผ้าไหมของไทย ชื่อโครงงาน (ภาษาอังกฤษ) Thailand of Silk ประเภทโครงงาน เพื่อการเรียนรู้ ชื่อผู้ทาโครงงาน น.ส. ธมนวรรณ เพ็ญไชยา และ น.ส.ปภัชญา จักรชัยสิน ชื่อที่ปรึกษา ครูเขื่อนทอง มูลวรรณ์ ชื่อที่ปรึกษาร่วม - ระยะเวลาดาเนินงาน 3 เดือน ที่มาและความสาคัญของโครงงาน (อธิบายถึงที่มา แนวคิด และเหตุผล ของการทาโครงงาน) ผ้าไหมไทยได้รับการยอมรับว่าเป็นราชินีของเส้นใยทั้งหมดที่มีอยู่ในโลกปัจจุบัน ผ้าไหมหรือ ผลิตภัณฑ์จากไหมนั้นบอบบาง จึงต้องปฏิบัติรักษาอย่างพิถีพิถันอย่างน้อยทุกคนก็ทราบดีอยู่แล้วว่า คุณสมบัติต่าง ๆ ที่จะต้องปฏิบัติรักษา เคลื่อนย้ายอย่างระมัดระวัง ความสุข ความเบาสบาย ความภูมิใจ จะไม่เกิดขึ้นเลย ถ้าเราจะไม่ทาการรักษาคุณภาพอันดีเลิศของผลิตภัณฑ์ จากไหมทุกชนิดให้อยู่ใน สภาพที่น่าหยิบ น่าเป็นเจ้าของและน่าสวมใส่ ผ้าไหมไทย... คุณค่าสู่สากล
  • 3. 3 เนื่องจากปัจจุบันคนในประเทศไทยไม่ค่อยรู้จักลายของผ้าไหมไทยอย่างลึกซึ้งและไม่ได้ให้ ความสาคัญกับรายละเอียดต่างๆของผ้าไหมไทย จึงมีแนวคิดที่จะรวบรวมข้อมูลรายละเอียดของลายผ้า ไหมไทยมานาเสนอและอธิบายในรูปแบบของโครงงาน เพื่อให้คนหันมาสนใจและให้ความสาคัญกับ ผ้าไหมและอนุรักษ์พร้อมทั้งสืบต่อไปยังคนรุ่นหลังต่อไป วัตถุประสงค์ (สิ่งที่ต้องการในการทาโครงงาน ระบุเป็นข้อ) เพื่อให้คนหันมาสนใจและให้ความสาคัญกับผ้าไหมและอนุรักษ์พร้อมทั้งสืบต่อไปยังคนรุ่น หลังต่อไป ขอบเขตโครงงาน (คุณลักษณะ ขอบเขต เงื่อนไขและข้อจากัดของการทาโครงงาน) ศึกษาและค้นคว้าข้อมูลรู้และเข้าใจเรื่องลายผ้าไหมไทยเพื่อนามาศึกษาและทาโครงงาน เผยแพร่ หลักการและทฤษฎี (ความรู้ หลักการ หรือทฤษฎีที่สนับสนุนการทาโครงงาน) ผ้าไหมไทยเป็นที่สนใจไปทั่วโลกแต่คนไทยยังไม่รู้จักดีนักโดยเฉพาะลายของผ้าไหมไทยซึ่งมี มากมายจึงสนใจที่จะนาลายของผ้าไหมไทยมาทาเป็นโครงงานเพื่อให้ผู้คนได้รู้จัก 1.1 ผ้าไหมไทย คือ เป็นผ้าไหมซึ่งมีเอกลักษณ์เฉพาะตัวแตกต่างจากผ้าไหมทั่วไป กล่าวคือ มีแสงแวววาวเป็นมันเลื่อม เนื้อผ้าฟูไม่เรียบ อ่อนนุ่ม มีน้าหนัก บางชนิดเป็นปุ่มปมอันเนื่องมาจากระดับคุณภาพซึ่งเกิดใน กระบวนการผลิตแต่ก็ทาให้ได้รับความนิยมของคนบางกลุ่มเพราะดูแล้วมีความแปลกตา
  • 4. 4 1.2 ประวัติของผ้าไหมไทย ผ้าไหมมีถิ่นกาเนิดในประเทศจีนและประเทศอินเดีย การทอผ้าไหมมีขึ้นราว 2,640 ปี ก่อน คริสตกาล พ่อค้าชาวจีนได้เผยแพร่ผ้าไหมสู่พื้นที่อื่นในแถบเอเชีย สาหรับประเทศไทยนักโบราณคดี พบหลักฐานที่แหล่งโบราณคดีบ้านเชียงซึ่งบ่งชี้ว่ามีการใช้ผ้าไหมเมื่อ 3,000 ปีก่อน การทอผ้าไหมในประเทศไทยในอดีตมีการทากันในครัวเรือนเพื่อใช้เอง หรือทาขึ้นเพื่อใช้ใน งานพิธี เช่น งานบุญ งานแต่งงาน ต่อมาในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า เจ้าอยู่หัว (รัชกาลที่ 5) ได้ส่งเสริมให้ใช้ผ้าไหม ส่วนการปลูกหม่อนเพื่อเลี้ยงไหมได้รับการสนับสนุน จากประเทศญี่ปุ่น แต่การดาเนินงานของโครงการก็ทาได้เพียงระยะหนึ่งมีอันต้องหยุดไป เนื่องจาก เกษตรกรไทยยังคงทาในลักษณะแบบเดิมเพราะความเคยชิน ไม่ตอบรับต่อการเปลี่ยนแปลงไปสู่แบบ ใหม่ที่ได้รับการพัฒนาขึ้นจากความช่วยเหลือของญี่ปุ่น หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ได้เกิดการเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญของผ้าไหมไทยขึ้น โดย เจมส์ แฮร์ริสัน วิสสัน ทอมป์สัน ชาวสหรัฐอเมริกาหรือที่คนไทยรู้จักในนามว่า จิม ทอมป์สัน ซึ่งเป็นผู้ที่ให้ ความสนใจผลงานด้านศิลปะ ในแถบภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย รวมทั้งลาว และเขมร จิม ทอมป์สัน ได้ซื้อผ้าไหมไทยลวดลายต่างๆ เก็บสะสมไว้ และทาการศึกษาลวดลายผ้าไหมในหมู่บ้านที่ เป็นแหล่งการผลิตผ้าไหม พร้อมกับเสาะแสวงหาช่างทอผ้าไหมฝีมือดี ในที่สุดได้พบช่างมีฝีมือถูกใจที่ กรุงเทพมหานคร บริเวณชุมชนบ้านครัว (หลังโรงแรมเอเชีย เขตราชเทวีในปัจจุบัน) ชุมชนแห่งนี้เดิมเป็นชาวมุสลิมเชื้อสายเขมร อพยพเข้ามาอาศัยอยู่ตั้งแต่ตอนต้นกรุง รัตนโกสินทร์ มีความชานาญในการทอผ้าไหม ซึ่ง จิม ทอมป์สัน ได้เข้ามาสนับสนุนให้ชาวบ้านใน ชุมชนทอผ้าไหม สามารถสร้างรายให้ชาวบ้านมากขึ้น หลังจากนั้นได้มีการปรับปรุงผ้าไหมไทยโดย ใช้หลักการตลาด การผลิต เพื่อขยายตลาด และทาการบุกเบิกผ้าไหมของไทยไปสู่ตลาดต่างประเทศ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา และแพร่เข้าสู่วงการภาพยนตร์ของชาติตะวันตก และ ละครบรอดเวย์ ในปี พ.ศ. 2502 นักออกแบบชาวฝรั่งเศสได้ใช้ผ้าไหมไทยทาการออกแบบและตัดเย็บฉลอง พระองค์ของสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ ครั้งเสด็จเยือนประเทศสหรัฐอเมริกาอย่าง เป็นทางการ ถือได้ว่าเป็นการเปิดโอกาสผ้าไหมของไทยสู่ตลาดต่างประเทศ 1.3 ระดับคุณภาพ ในปัจจุบันมีการนาเข้าวัตถุดิบเส้นไหม และเส้นใยสังเคราะห์จากต่างประเทศ ทั้งมีการนาเข้าถูก กฎหมายและลักลอบนาเข้าแบบผิดกฎหมาย ทาให้วัตถุเส้นไหมจึงมีทั้งคุณภาพได้มาตรฐานและ คุณภาพต่ากว่ามาตรฐานทาให้ผ้าไหมไทยมีคุณภาพต่าลง กระนั้นผู้ผลิตก็ยังคงใช้ตราสัญลักษณ์ว่า "ผ้า
  • 5. 5 ไหมไทย" หรือ "Thai Silk" เพื่อการค้า ยังผลให้ผู้ซื้อทั้งของประเทศไทยและตลาดต่างประเทศไม่ มั่นใจในคุณภาพของผ้าไหมไทย จากปัญหาดังกล่าวสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถ จึง ทรงมีกระแสพระราชดารัสให้หน่วยงานที่รับผิดชอบไปดาเนินการวิเคราะห์หาสาเหตุและแนว ทางการแก้ไข ปี พ.ศ. 2545 หน่วยงานซึ่งมีส่วนเกี่ยวข้องกับผ้าไหมไทย เช่น กรมวิชาการเกษตร กระทรวง เกษตรและสหกรณ์ (หน่วยงานเดิมของกรมหม่อนไหม) คณะศิลปกรรม ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ กรมทรัพย์สินทางปัญญา กระทรวงพาณิชย์ และมูลนิธิส่งเสริมศิลปา ชีพในสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ พระบรมราชินีนาถร่วมกันจัดสัมมนาหาแนวทางแก้ไขจนได้ข้อสรุป เป็นมาตรการคุ้มครองไหมไทยและออกข้อบังคับในการผลิตผ้าไหมไทยโดยออกตราสัญลักษณ์ รับรองคุณภาพผ้าไหมไทยไว้เป็นระดับต่างๆ และสมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงพระ กรุณาโปรดเกล้าฯ พระราชทานสัญลักษณ์นกยูงไทย ให้เป็นเครื่องหมายรับรองคุณภาพสาหรับ ผลิตภัณฑ์ผ้าไหมไทยไว้ 4 ชนิด  นกยูงสีทอง (Royal Thai Silk) เป็นผ้าไหมซึ่งผลิตจากวัตถุดิบ เส้นไหม กระบวนการผลิต แบบภูมิปัญญาพื้นบ้านดั้งเดิมของไทยอย่างแท้จริงและใช้เส้นไหมพันธุ์ไทยพื้นบ้านเป็นทั้งเส้นพุ่ง และเส้นยืน เส้นไหมจะต้องสาวเส้นด้วยมือผ่านพวงสาวลงภาชนะ การทอด้วยกี่ทอมือแบบ พื้นบ้านชนิดพุ่งกระสวยด้วยมือ ย้อมด้วยสีธรรมชาติ หรือสีเคมีที่ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม และต้อง ผลิตในประเทศไทย  นกยูงสีเงิน (Classic Thai Silk) เป็นผ้าไหมซึ่งผลิตขึ้นแบบภูมิปัญญาพื้นบ้านผสมผสานกับการ ประยุกต์ใช้เครื่องมือและกระบวนการผลิตในบางขั้นตอน ใช้เส้นไหมพันธุ์ไทยพื้นบ้านหรือที่ ได้รับการปรับปรุงจากพันธุ์ไทยเป็นเส้นพุ่งหรือเส้นยืน เส้นไหมต้องผ่านการสาวด้วยมือ หรือ อุปกรณ์ที่ใช้มอเตอร์ขับเคลื่อนขนาดไม่เกิน 5 แรงม้า การทอต้องทอด้วยกี่ทอมือชนิดพุ่ง กระสวยด้วยมือหรือกี่กระตุก และต้องทาการผลิตในประเทศไทย  นกยูงสีน้าเงิน (Thai Silk) เป็นผ้าไหมซึ่งผลิตด้วยภูมิปัญญาของไทยโดยการประยุกต์ เทคโนโลยีการผลิตให้เข้ากับสมัยนิยมและทางธุรกิจธุรกิจ ใช้เส้นไหมแท้เป็นเส้นพุ่งและเส้น ยืน ย้อมสีด้วยสีธรรมชาติ หรือสีเคมีที่ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม ทอด้วยกี่แบบใดก็ได้ และต้องผลิต ในประเทศไทย  นกยูงสีเขียว (Thai Silk Blend) เป็นผ้าไหมซึ่งผ่านกระบวนการผลิตและเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่ ผสมผสานกับภูมิปัญญาไทย เช่น ลวดลาย สีสัน ใช้เส้นใยไหมแท้กับเส้นใยอื่นที่มาจากวัสดุ ธรรมชาติ หรือเส้นใยสังเคราะห์ต่างๆ ตามวัตถุประสงค์ของการใช้งาน หรือตามความต้องการ
  • 6. 6 ของผู้บริโภค เส้นไหมแท้เป็นองค์ประกอบหลัก มีเส้นใยอื่นเป็นส่วนประกอบรอง สัดส่วนการ ใช้เส้นใยชนิดอื่นประกอบต้องระบุให้ชัดเจน ทอด้วยกี่ชนิดใดก็ได้ ย้อมสีด้วยสีธรรมชาติ หรือ สีเคมีที่ไม่ทาลายสิ่งแวดล้อม และต้องผลิตในประเทศไทย วิธีดาเนินงาน แนวทางการดาเนินงาน ขั้นตอนที่ 1 -การเลี้ยงไหม วงจรชีวิตของไหมหรือหนอนไหมใช้เวลาประมาณ 45 - 52 วัน หนอนไหมจะกินใบหม่อนหลังจาก ฟักออกจากไข่ประมาณวันที่ 10 จากนั้นจะหยุดกินอาหารและลอกคราบ ระยะนี้เรียกว่า “ ไหมนอน ” ต่อจากนั้นจะกินนอนและลอกคราบประมาณ 4ครั้งเรียกว่า “ ไหมตื่น ” ลาตัวจะมีสีขาวเหลืองใสหด สั้น และหยุดกินอาหาร ระยะนี้เรียกว่า “ หนอนสุก ” ช่วงนี้ผู้เลี้ยงไหมต้องรีบแยกหนอนไหมสุกออก จากกองใบหม่อน และเตรียม “ จ่อ ” คืออุปกรณ์ที่จะให้ตัวไหมเกาะเพื่อชักใยห่อหุ้มตัวหนอนจะเริ่ม พ่นใยได้ประมาณ 6-7 วัน ก็จะสามารถเก็บรังไหมออกจากจ่อได้ เส้นใยของหนอนเกิดจากการขับ ของเหลวชนิดหนึ่ง มีสารโปร่งแสงเป็นองค์ประกอบ ใยไหมที่เห็นแต่ละเส้นจะประกอบด้วยเส้นใย เล็กๆ สองเส้นรวมกัน สามารถฉีกแยกออกจากกันได้ ทั้งนี้รังไหมแต่ละรังจะให้สายไหมที่มีขนาด แตกต่างกัน ชั้นนอกสุดของรังจะมีความละเอียดพอสมควร ชั้นกลางจะเป็นเส้นหยาบและชั้นในสุดจะ เป็นเส้นไหมที่ละเอียดที่สุด ซึ่งหนอนไหมแต่ละตัวจะชักใยยาวไม่เท่ากัน อาจสาว ได้ยาวตั้งแต่ 350 - 1,200 หนอนไหมจะเจาะรังออกมาเป็นผีเสื้อเมื่ออยู่ในรังครบ 10 วัน ซึ่งผู้เลี้ยงจะคัด ไหมที่สมบูรณ์ไว้ทาพันธุ์ ส่วนที่เหลือนาไปสาวไหมก่อนที่ผีเสื้อจะเจาะรังออกมา ซึ่งเส้นจะขาดและ ทาเส้นไหม ขั้นตอนที่ 2 เมื่อได้รับไหมสดจะต้องนาไปอบให้แห้ง จากนั้นนาไหม ที่อบแห้งไปต้มในน้าที่สะอาดที่มีคุณสมบัติเป็นกลาง รัง ไหมจะเริ่มพองตัวออก ใช้ปลายไม้เกี่ยวเส้นใยออกมา รวมกันหลายๆ เส้น การสาวต้องเริ่มต้นจากขุยรอบนอก
  • 7. 7 และเส้นใยภายในรวมกัน เรียกว่า“ ไหมสาว ” หรือ “ ไหมเปลือก ” ครั้นสาวถึงเส้นใย ภายในแล้ว เอารังไหมที่มีเส้นภายในแยกไปสาวต่างหากเรียกว่า “ เส้นไหมน้อย ”หรือ “ ไหมหนึ่ง ” ผู้ สาวไหมต้องมีความชานาญและทักษะจึงจะได้เส้นไหมที่มีคุณภาพดี เมื่อเติมรังไหมลงไปอีก รังไหม ใหม่สามารถรวมเส้นกับรังไหมเก่าได้ โดยไม่ทาให้เส้นไหมขาด ขั้นตอนที่ 3 -การตีเกลียว การตีเกลียวไหมจะช่วยทาให้ผ้าที่จะทอมีความหนา หลังจากเอาไหมสองไหมสามออก ใช้ไม้คีบ ลักษณะคล้ายไม้พาย มีร่องกลางสาหรับคีบ เกลี่ยรังไหมกดให้เส้นไหมตีเกลียวแน่นดูเล็ก ต้อง ระมัดระวังและต้องอาศัยความชานาญ และมีเทคนิคในการทาให้รังที่ต้มเกาะกันเป็นเส้นตามขนาดที่ ต้องการ ทาให้เส้นไหมพันหรือไขว้กันหลายๆ รอบ แล้วพักไว้ในกระบุงต่อจากนั้นจะนามากรอเข้า “กง” แล้วนาไปหมุนเข้า “อัก” เพื่อตรวจหาปุ่มปม หรือตัดแต่งเส้นไหมที่ไม่เท่ากันออก จึงเอาเข้า เครื่องปั่นเพื่อให้เส้นไหมแน่นขึ้น ก่อนที่จะหมุนเข้ากงอีกครั้ง เพื่อรวมเป็นไจ ซึ่งหนึ่งไจจะต้องหมุน กง 80 รอบ เรียกว่า “ไหมดิบ”เส้นไหมดิบที่ได้จะต้องทาการชุบให้อ่อนตัว โดยนาไปชุบน้าสบู่อ่อนๆ ประมาณ 15-20 นาที แล้วนาไปสลัดและผึ่งลมให้แห้ง โดยหมั่นกระตุกให้เส้นไหมแยกตัวเพื่อนาไป เข้าระวิงได้ จากนั้นก็กรอเส้นไหมเข้าหลอดๆ ละเส้น แล้วดึงปลายไหมแต่ละหลอดเข้าไปรวมกัน ม้วนเข้าหลอดควบตามขนาดที่ต้องการ จากนั้นก็นาไปตีเกลียวประมาณ 330 รอบ ต่อความยาว 1 เมตร จากนั้นก็นาไหมไปนึ่งหรือลวก เพื่อป้องกันมิให้เกลียวเส้นไหมหมุนกลับ หลังจากนั้นก็จะชุบน้าเย็น แล้วกรอเข้าระวิง เรียกว่า “ทาเข็ด” ซึ่งจะทาให้เกลียวอยู่ตัว ขั้นตอนสุดท้าย -การทอผ้า ขั้นตอนสุดท้ายก่อนที่จะออกมาเป็นผ้าผืนงาม การทอผ้าไหมจะประกอบไปด้วยเส้นด้าย 2 ชุด คือ “ เส้นด้ายยืน ” จะขึงไปตามความยาวผ้าอยู่ติดในเครื่องทอ หรือแกนม้วนด้านยืน อีกชนิดหนึ่งคือ “ เส้นด้ายพุ่ง ” จะถูกกรอเข้ากระสวย เพื่อให้กระสวยเป็นตัวนาเส้นด้ายพุ่งสอดขัดเส้นด้ายยืนเป็นมุม ฉาก ทอสลับกันไปตลอดความยาวของผืนผ้า การสอดด้ายพุ่งแต่ละเส้นต้องสอดให้สุดถึงริมแต่ละด้าน แล้วจึงวกกลับมา จะทาให้เกิดริมผ้าเป็นเส้นตรงทั้งสองด้าน ส่วนลวดลายของผ้านั้น ขึ้นอยู่กับการวาง ลายผ้าของแต่ละท้องถิ่น
  • 8. 8 เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้ 1.วัตถุดิบ วัตถุดิบที่ใช้ในการทอ ได้แก่ เส้นใยไหมพื้นเมือง หรือ ไหมพันธุ์ สีเคมี หรือ สีวิทยาศาสตร์ และน้า 2.อุปกรณ์ในการย้อมสีไหม ได้แก่ หม้อฟอกไหม หม้อย้อมสี ไม้พาย เครื่องชั่งและเตา 3.เครื่องมือในการเตรียมเส้นไหม คือ หลอด ฟืม ใน หลา อัก กระสวย เล็ง ไม้สอด และตะกอลายขิด 4.วัสดุ อุปกรณ์ในการทอ ได้แก่ กี่พื้นเมือง หรือ กี่มือ ฟืม เขาหูก ไม้ ม้วนผ้า ไม้สาหรับนั่งเวลาทอ คาน เหยียบ คานแขวน กระสวย หลอดไหมพุ่ง เล็ง ไม้ลาย ไม้เก็บขิด อักหลา ไม้ตีขิด ตะกอเก็บลาย และตัว อย่างลายขิดที่ต้องการจะเก็บลาย *วัตถุดิบ วัสดุอุปกรณ์ และเครื่องมือดังกล่าวนั้นหลายอย่าง ชาวบ้านจะทาเอง บางอย่างจะซื้อมาจากหมู่บ้านข้างเคียง เช่น เส้นไหมยืน โดยเฉพาะสีเคมี หรือ สี สังเคราะห์ที่ชาวบ้านทาเองไม่ได้ งบประมาณ ___-________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ ___________________________________________________________________ __________________________________________________________________ ___________________________________________________________________
  • 9. 9 ขั้นตอนและแผนดาเนินงาน ลาดั บ ที่ ขั้นตอน สัปดาห์ที่ ผู้รับผิดชอ บ 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 11 12 13 14 15 16 17 1 คิดหัวข้อโครงงาน 2 ศึกษาและค้นคว้า ข้อมูล 3 จัดทาโครงร่างงาน 4 ปฏิบัติการสร้าง โครงงาน 5 ปรับปรุงทดสอบ 6 การทาเอกสารรายงาน 7 ประเมินผลงาน 8 นาเสนอโครงงาน ผลที่คาดว่าจะได้รับ (ผลลัพธ์ที่ต้องการให้เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุดการทาโครงงาน) จะทาให้ผู้ที่ไม่รู้รายละเอียดหรือข้อมูลเกี่ยวกับลายผ้าไหมไทยของเราได้รับรู้ถึงวัฒนธรรมของไทยใน สมัยโบราณว่ามีวิธีการทาหรือออกแบบลายผ้าไหมไทยอย่างไร สถานที่ดาเนินการ ____-_____________________________________________________________________ _________________________________________________________________________
  • 10. 10 _________________________________________________________________________ _________________________________________________________________________ กลุ่มสาระการเรียนรู้ที่เกี่ยวข้อง 1.วิชาการออกแบบและเทคโนโลยี เกี่ยวข้องในเรื่องของการออกแบบรูปทรงของผ้าไหมไทย 2.วิชาศิลปะ เกี่ยวข้องในเรื่องของการออกแบบลวดลายของผ้าไหมไทยในแต่ละแบบ แหล่งอ้างอิง (เอกสาร หรือแหล่งข้อมูลต่าง ๆ ที่นามาใช้การทาโครงงาน) ความรู้เกี่ยวกับวัสดุและอุปกรณ์ในการทอผ้าไหม 1. http://phathai.tripod.com/html/Phathai2_2_1.html ความรู้เกี่ยวกับการศึกษาหาข้อมูลของผ้าไหมไทย 2.http://th.wikipedia.org/wiki/%E0%B8%9C%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8% AB%E0%B8%A1%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2 รูปภาพของลายผ้าไหมไทย 3.https://www.google.co.th/search?hl=th&site=imghp&tbm=isch&source=hp&biw=1366&bih=667&q=%E0%B8%A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%9C%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0% B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2&oq=%E0%B8% A3%E0%B8%B9%E0%B8%9B%E0%B8%9C%E0%B9%89%E0%B8%B2%E0%B9%84%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2&gs_l=img.3..0.1757.7250.0.7637.13.6.0.7.7.0.285.1439.0j1j5.6.0.msedrc...0...1ac.1.58.img..0.13.1444.tNi7W6_2DJ8#facrc=_&imgdii=_&imgrc=S0FpUAUTYGBGYM%253A%3Bx_jfrWhbJJVVmM%3Bhttp%253A%252F%252F3. bp.blogspot.com%252F- xFFpSZ1TqZc%252FUphQx9zg8yI%252FAAAAAAAAACA%252FhoSEquuU8dg%252Fs1600% 252F02.jpg%3Bhttp%253A%252F%252Fpamail56.blogspot.com%252F%3B1600%3B1200