SlideShare a Scribd company logo
1 of 8
Download to read offline
Key Words: Behavior, Boleophthalmus boddarti
* Corresponding author; e-mail address: v.thanapoom@hotmail.com
1*
ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 ถ.พหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900
Department of Marine Science, Faculty of Fisheries, Kasetsart University, 50 Pahol Yothin Road, Chatuchak, Bangkok 10900.
พฤติกรรมการดารงชีวิตของปลาตีนจุดฟ้ า (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770)
บริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม
Life Behaviors of the Mudskippers (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770)
in the Mangrove Nature Education Center, Samutsongkhram Province
ธนภูมิ วิชัยดิษฐ1*
จรวย สุขแสงจันทร์1
และ เยาวลักษณ์ มั่นธรรม1
Thanapoom Vichaidist1*
Charuay Sukhsangchan1
and Yaowaluk Munthum1
บทคัดย่อ
การศึกษาพฤติกรรมการดารงชีวิตของปลาตีนจุดฟ้ า (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770)
บริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม สังเกตพฤติกรรมของปลาตีนจุดฟ้ าทั้งหมด 5
รูปแบบ โดยแบ่งตามช่วงเวลากลางวันและกลางคืน ดังนี้ช่วงเวลากลางวัน พบว่าปลาตีนจุดฟ้ าแสดงพฤติกรรม
5 รูปแบบ ได้แก่ 1.พฤติกรรมการกินอาหาร ปลาตีนจุดฟ้ าจะใช้ขากรรไกรล่างในการขูดหาอาหารตามพื้นเลนโดย
ส่ายหัวไปมาหรืออาจกระโดดกินแมลงที่บินผ่าน 2.พฤติกรรมการเคลื่อนที่สามารถแบ่งย่อยออกได้เป็น 6 แบบ
ได้แก่ ยกตัว คืบคลาน พลิกตัว ไถลตัว กระโดดและว่ายน้า 3.พฤติกรรมการสร้างที่อยู่อาศัยปลาตีนจุดฟ้ าจะใช้
ครีบอกขุดดินและใช้ปากอมดินจากในรูขึ้นมาวางบนปากรูและใช้เวลาในการสร้างรูประมาณ 5 - 10 นาที
4.พฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีและผสมพันธุ์ เพศผู้จะมีสีที่เข้มขึ้นและจะแสดงท่าทางต่างๆ เช่น กางครีบ หรือ
คลานตามเพศเมีย เพื่อดึงดูดความสนใจเมื่อเพศเมียสนใจจะนาเพศเมียลงรูเพื่อผสมพันธุ์ 5.พฤติกรรมการ
ป้ องกันอาณาเขตและป้ องกันตัว เมื่อมีผู้บุกรุกปลาตีนจะพุ่งเข้าหา พร้อมกางครีบและอ้าปากกว้าง ส่วนในช่วง
เวลากลางคืน พบเพียง 4 รูปแบบ โดยจะไม่พบพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีและผสมพันธุ์ในเวลากลางคืน
ABSTRACT
Life behavior of mudskippers (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770) was studied in the
Mangrove Nature Education Center, Samutsongkhram Province. Life behaviors of the mudskipper
were observed during day and night time. Five behaviors were observed during the day such as
1.feeding behavior: the mudskippers used the mandibles to scrape along the bottom substrate or
sometime the mudskippers were found jumping in the air to eat the flying insect. 2.Locomotion
behavior can separated into 6 patterns namely, crutching, rowing, reversing, skating, jumping and
swimming. 3.Burrow construction behavior lasted 5 - 10 minute with the mudskippers using their
mouths and pectoral fins to dig the substrate. 4.Courtship and reproductive behavior commenced
when the male will changed their skin color to dark, spreading their fins and crawling behind or
beside the females for attractions. Finally the males would lead females to the burrow to mate.
5.Territorial and defense behaviors was recorded when the mudskippers protected their territories it
from intruders by spreading their fins, with opened mouths. Sometime the mudskippers also fought
with their enemies. Only 4 behaviors, were recorded at night omitting the courtship and reproductive
behavior, the latter behavior was observed only during the day.
คานา
ปลาตีน (Mudskipper) เป็นสัตว์ที่เป็นเอกลักษณ์ประจาป่าชายเลน พฤติกรรมการดารงชีวิตส่วนใหญ่
จะอาศัยอยู่บนพื้นเลน มักออกมาทากิจกรรมต่างๆ ในช่วงน้าลง เช่น การหาอาหาร การผสมพันธุ์ การสร้างที่อยู่
อาศัย การต่อสู้ เป็นต้น ปลาตีนเป็นสัตว์น้าที่มีพัฒนาการที่แตกต่างจากสัตว์น้าชนิดอื่น เช่น สามารถทนต่อ
ความเค็มที่มีช่วงกว้างได้ (Eury haline) ปลาตีนมีการปรับตัวและปรับโครงสร้างของร่างกายเพื่อให้สามารถดารง
ชีวิตบนเลนได้ เช่น ครีบที่พัฒนามีความแข็งแรงเปรียบเสมือนเป็นขาหน้าของสัตว์ สามารถใช้ในการขุดรูยึดเกาะ
ปีนป่ายต้นไม้และไถลตัวไปบนพื้นเลนได้เป็นอย่างดี ดวงตามีขนาดใหญ่ทาให้มองเห็นได้ชัดเจนและมี ถุงใต้ตา
ซึ่งสามารถขับน้ามาหล่อเลี้ยง ทาให้ดวงตาเกิดความชุ่มชื้นเมื่อขึ้นมาอยู่บนบกเป็นเวลานานได้ Nelson (1994)
อธิบายว่า ตาของปลาตีนที่อยู่ส่วนบนของหัว มีก้านตาที่สามารถยืดหรือหดให้สั้นยาวได้ ซึ่งเป็นกลไก การปรับตัว
เพื่อให้สามารถมองเห็นในอากาศได้ดี
สุภาพร (2542) กล่าวว่า ปลาตีนมีการดารงชีวิตส่วนใหญ่อยู่บนเลนหรือบนบก จึงมีกลไกในการหายใจ
ที่พิเศษกว่าปลาชนิดอื่น โดยมีกระพุ้งแก้มที่โป่งพองใช้ในการเก็บกักน้าทาให้เหงือก มีความชื้นสามารถที่จะดึง
ออกซิเจนไปใช้ได้เช่นเดียวกับการแลกเปลี่ยนออกซิเจนในน้า อีกทั้งผิวหนังของปลาตีนยังสามารถดูดซับ
ออกซิเจนจากอากาศได้อีกด้วย
ปลาตีนมีบทบาทที่สาคัญในการหมุนเวียนสารอาหาร ช่วยควบคุมสมดุลในห่วงโซ่อาหารและถ่ายทอด
พลังงานในระบบนิเวศป่าชายเลน อีกทั้งพฤติกรรมการขุดรูเพื่อสร้างที่อยู่อาศัย ยังมีประโยชน์ในการช่วยการเติม
อากาศเข้าไปในดินเลนเสมือนเป็นการพรวนดินให้กับต้นไม้ในป่าชายเลนอีกด้วย นอกจากนี้ปลาตีนยังมีความ
สาคัญและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น นามาเลี้ยงเป็นสัตว์สวยงาม นามาบริโภคเป็นอาหาร
และส่งออกไปขายยังต่างประเทศได้
ดังนั้นการศึกษาพฤติกรรมของปลาตีนในครั้งนี้เพื่อให้ทราบถึง การดารงชีวิตและบทบาทที่สาคัญ
ในระบบนิเวศป่าชายเลน และนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการจัดการทรัพยากรปลาตีนต่อไป
อุปกรณ์และวิธีการ
การศึกษาพฤติกรรมของปลาตีนจุดฟ้ า ประมาณ 120 ตัว โดยทาการติดตั้งกล้องวงจรปิดในพื้นที่ศึกษา
พร้อมทั้งบันทึกพฤติกรรมที่พบทั้งในช่วงเวลากลางวันและกลางคืน โดยในช่วงกลางวัน จะติดตั้งกล้องในช่วงที่น้า
ลง และ ไม่ติดตั้งกล้องให้ต่าเกินไป เพื่อป้ องกันกล้องเปียกน้าในขณะมีคลื่นลมหรือน้าขึ้น และทาการสังเกต
พฤติกรรมจากจอมอนิเตอร์ โดยสังเกตลักษณะท่าทาง รูปร่างที่เปลี่ยนแปลงไป มีการใช้อุปกรณ์เพิ่มเติมใน
การศึกษาพฤติกรรมการสร้างที่อยู่อาศัยคือ การเรซิ่นเทเพื่อรอดูโครงสร้างของรูปลาตีน และทาการบันทึกข้อมูลที่
เปลี่ยนไปในรอบวัน อาทิเช่น ช่วงเวลาที่เกิดน้าขึ้นน้าลง สภาพดินฟ้ าอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป ต่อการดารงชีวิต
ของปลาตีนจุดฟ้ า สาหรับการสังเกตพฤติกรรมในช่วงเวลากลางคืน โดยทาการถ่ายวิดีโอในแบบถ่ายภาพ
กลางคืน และใช้กล้องกล้องวงจรปิดที่มีแสงอินฟาเรดสาหรับถ่ายและบันทึกในเวลากลางคืน เพื่อไม่เป็นการ
รบกวนสิ่งมีชีวิตให้มากที่สุด สังเกตพฤติกรรมทุกๆ 4 เดือน เป็นเวลา 1 ปี
ผลการทดลอง
การศึกษาพฤติกรรม
จากการศึกษาพฤติกรรมการดารงชีวิตของปลาตีนจุดฟ้ าที่พบบริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน
จังหวัดสมุทรสงคราม โดยแบ่งเวลาสังเกตพฤติกรรมออกเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงเวลากลางวันและกลางคืน และจาก
การสังเกตในแต่ละฤดูกาล พบว่าการแสดงพฤติกรรมไม่แตกต่างกัน และพฤติกรรมที่พบทั้งหมดมี 5 แบบโดย
แบ่งเป็น ช่วงเวลากลางวันพบ 5 แบบ ได้แก่ การกินอาหาร การเคลื่อนที่ การสร้างที่อยู่อาศัย การเกี้ยวพาราสี
และผสมพันธุ์ และการป้ องกันอาณาเขตและป้ องกันตัว และในช่วงเวลากลางคืน สามารถสังเกตพฤติกรรมได้
ทั้งหมด 4 แบบ เช่นเดียวกับเวลากลางวันแต่ไม่พบพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีและผสมพันธุ์
1. พฤติกรรมการกินอาหาร (Feeding Behavior) ปลาตีนจะขึ้นมาจากรูเพื่อหาอาหารในช่วงน้าลง บาง
ตัวก็จะอยู่บริเวณปากหลุม แต่เมื่อออกจากรูแล้วจะออกไปหาอาหารโดยไม่ไกลจากรูมากนัก ซึ่งระยะทางและ
เวลาในการออกหาอาหารนั้นไม่แน่นอนทั้งกลางวันและกลางคืน ทั้งนี้พบว่า ในเวลากลางวันปลาตีนจะออกหา
กินไกลจากรูมากกว่าในเวลากลางคืน อาหารของปลาตีน ได้แก่ สาหร่าย ไดอะตอม สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่อาศัย
บริเวณพื้นเลนและแมลง พฤติกรรมการกินอาหารของปลาตีนจุดฟ้ าจะมีการส่ายหัวไปมา พร้อมกับกินอาหารที่
อยู่ตามพื้น (Figure 1) บางครั้งอาจพบว่าปลาตีนจุดฟ้ าสามารถกระโดดเพื่อจับเอาแมลงที่บินผ่านกินเป็นอาหาร
Figure 1. Feeding Behavior in mudskippers (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770).
2. พฤติกรรมการเคลื่อนที่ (Locomotion Behavior) ปลาตีนจะใช้ครีบอก ช่วยในการเคลื่อนที่ คืบคลาน
บนพื้นเลน ปีนป่ายต้นไม้ พยุงตัว นอกจากนี้ปลาตีนจุดฟ้ าจะใช้ครีบท้องยึดเกาะกับพื้นผิวหรือวัสดุ เช่น ก้อนหิน
รากไม้ ปลาตีนจุดฟ้ าจะใช้กล้ามเนื้อตรงบริเวณคอดหางเป็นส่วนสาคัญที่ช่วยในการเคลื่อนที่ เช่น ส่ายลาตัว ช่วย
ให้ลาตัวส่ายไปมาเพื่อไถลตัวไปบนพื้นเลนได้หรือมีส่วนช่วยในการกระโดด นอกจากนี้สามารถแบ่งรูปแบบการ
เคลื่อนที่ของปลาตีนจุดฟ้ า ออกได้เป็น 6 แบบ ดังนี้
2.1 การยกตัว (Crutching) ปลาตีนที่ขึ้นมาอยู่บนผิวเลนจะมีการยกตัวขึ้น โดยจะใช้ครีบอก
ดันตัวให้สูงขึ้น (Figure 2) การยกตัวของปลาตีนสามารถสังเกตได้ในพื้นที่ที่มีเลนค่อนข้างแข็ง ทั้งนี้ปลาตีนจุดฟ้ า
แสดงพฤติกรรมการยกตัว เพื่อให้สามารถมองไปทางด้านหน้าได้ไกลยิ่งขึ้น เพื่อประโยชน์ในการป้ องกันตัวและ
หาอาหาร
Figure 2. Crutching position in mudskippers (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770).
2.2 การคืบคลาน (Rowing) ปลาตีนจุดฟ้ าจะใช้ครีบอกทั้ง 2 ข้าง ดึงหรือลากตัวเองไปข้างหน้า
ขณะที่ตัวยังแนบติดกับพื้นเลนอยู่ บางครั้งอาจ ส่ายลาตัวช่วยด้วย จากการสังเกตจะเห็นว่า ขณะปลาตีนจุดฟ้ า
คืบคลาน ครีบหลังอันแรกจะยกตั้งขึ้นด้วยเสมอและเมื่อหยุดเคลื่อนที่ครีบหลังก็จะหุบลง การยกครีบหลังขึ้น
เพื่อให้ร่างกายมีความสมดุลขณะเคลื่อนที่ ทั้งนี้การคืบคลาน พบว่ามีการเคลื่อนที่แล้วหยุดเป็นระยะๆ
2.3 การพลิกตัว (Reversing) จากการสังเกตปลาตีนมีพฤติกรรมการพลิกตัวค่อนข้างเร็ว เวลา
พลิกตัวปลาตีนจะเก็บครีบอกแนบติดกับลาตัวและใช้กล้ามเนื้อส่วนท้องช่วยให้ตัวพลิกไปมา การพลิกตัวมักจะ
เกิดในบริเวณที่มีน้าหรือชื้นแฉะ เพื่อให้การพลิกตัวเป็นไปได้ง่าย (Figure 3) การพลิกตัวของปลาตีนเพื่อต้องการ
ให้ตัวเองได้รับความชุ่มชื้นอยู่ตลอดและเป็นการทาความสะอาดลาตัวสิ่งที่มาเกาะ เช่น ปรสิต เป็นต้น
Figure 3. Reversing position in mudskippers (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770) in order to wet
themselves or to clean themselves from parasites.
2.4 การไถลตัว พุ่งตัว (Skating) เป็นการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าหรือข้างหลัง โดยปลาตีนจะงอ
บริเวณส่วนหาง แล้วทาการดีดตัวหรือพุ่งตัวไปข้างหน้า การพุ่งตัวหรือไถลตัวไปข้างหน้าบางครั้งอาจมีการพลิก
ตัวกลับหรือหันกลับมาทางเดิม ซึ่งการพลิกตัวกลับนี้คล้ายกับการกระโดดแต่ไม่สูง พฤติกรรมการไถลตัวมักพบ
เมื่อต้องการขับไล่ผู้บุกรุก หนีผู้บุกรุก หรือต้องการกลับเข้ารู เป็นต้น
2.5 การกระโดด (Jumping) จากการสังเกตการกระโดดของปลาตีน จะมีลักษณะคล้ายกับการ
ไถลตัวหรือพุ่งตัวไปข้างหน้า แต่จะแตกต่างตรงที่การกระโดดไม่ได้พุ่งไปข้างหน้า แต่จะกระโดดขึ้นไปด้านบน
(Figure 4) การกระโดดอาจใช้เพื่อการหลบหลีกศัตรู หรือใช้เพื่อเกี้ยวพาราสีหรือล่อตัวเมีย ในช่วงฤดูผสมพันธุ์
Figure 4. Jumping position in mudskippers (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770) in order to avoid
predators or to attract females during courtship.
2.6 การว่ายน้า (Swimming) ปลาตีนจะว่ายน้าโดยการโผล่เฉพาะส่วนหัวขึ้นมาบนผิวน้า โดย
ครีบอกจะแผ่กว้างออก ขนานกับผิวน้าช่วยในการพยุงให้ตัวเองลอยขึ้นมา และใช้ส่วนหางและครีบหางในการพัด
โบก เพื่อเคลื่อนที่ไปในทิศทางที่ต้องการ (Figure 5) บางครั้งจะมีการพุ่งตัวไปบนผิวน้าโดยการสะบัดส่วนหาง
อย่างรวดเร็ว เพื่อหนีจากสถานการณ์กดดันต่างๆ อาทิเช่น การหนีหลังจากต่อสู้เสร็จ หรือขับไล่ผู้บุกรุก เป็นต้น
Figure 5. Swimming position in mudskippers (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770) in order to
escape after fights or to chase off intruder.
3. พฤติกรรมการสร้างที่อยู่อาศัย (Burrow construction Behavior) ปลาตีนสร้างรูเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัย
ดังนั้น รูของปลาตีนจัดว่ามีความจาเป็นและสาคัญต่อการดารงชีวิตเป็นอย่างมาก เนื่องจากรูของปลาตีนเป็นที่
สาหรับหลบภัยจากนักล่า เป็นที่ผสมพันธุ์และวางไข่ จากการสังเกตบริเวณที่อยู่อาศัยและพฤติกรรมการสร้างรู
ของปลาตีน พบว่า รูของปลาตีนมักจะสร้างอยู่ในพื้นที่โล่งๆ มีความชุกชุมของไม้ป่าชายเลนน้อย และพฤติกรรม
การสร้างรูจะใช้ครีบอกช่วยในการขุดและใช้ปากในการอมดินจากในรูขึ้นมากองบนปากรูเป็นก้อนๆ การขุดรูแต่
ละครั้งใช้เวลาประมาณ 5 - 15 นาที (Figure 6) โดยรูของปลาตีนจุดฟ้ ามีลักษณะค่อนข้างซับซ้อน มีทางเข้าออก
2 - 4 ทาง มีความลึกโดยเฉลี่ย 50 ซ.ม. เนื่องจากในพื้นที่อาศัยมักมีศัตรูในธรรมชาติ ได้แก่ งูปากกว้างน้าเค็ม
ดังนั้น รูของปลาตีนจึงมีทางเข้าออกหลายทาง
Figure 6. Burrow construction Behavior in mudskippers (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770).
4. พฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีและผสมพันธุ์ (Courtship and Reproductive Behavior) พบว่าปลาตีน
จุดฟ้ าบริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม มีพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีและผสมพันธุ์
ในช่วงเวลาดังกล่าวจะเห็นลักษณะที่แตกต่างระหว่างปลาตีนเพศผู้และเพศเมียอย่างชัดเจน คือ ปลาตีนเพศผู้
จะมีสีสันที่สด มีสีที่เข้มขึ้นกว่าเพศเมียอย่างเห็นได้ชัดและเพศผู้จะมีครีบหลังที่ใหญ่กว่าแต่ก้านครีบสั้นกว่า ทั้งนี้
พฤติกรรมที่เพศผู้แสดงออกถึงการเกี้ยวพาราสีเพศเมีย คือ การเข้าไปใกล้ๆ ขนาบข้างเพศเมีย กางครีบ อ้าปาก
ส่ายลาตัว มีการกระโดดอยู่ใกล้ๆ กับเพศเมียหรือ มีการเข้าออกจากรูบ่อยครั้ง บางบริเวณมีปลาตีนเพศผู้อยู่กัน
เป็นกลุ่มหากมีปลาตีนเพศเมียหลงเข้าไปในบริเวณที่ปลาตีนตัวผู้อาศัยอยู่ อาจมีการต่อสู้กันระหว่างปลาตีนเพศ
ผู้ด้วยกัน โดยที่ตัวเมียยังวนเวียนอยู่ใกล้ๆ หากเพศผู้ตัวไหนชนะ ก็จะได้แสดงการเกี้ยวพาราสีต่อเพศเมีย หาก
เพศเมียสนใจเพศผู้ตัวไหน ก็จะตามเพศผู้ไปยังรูที่เพศผู้ทาการขุดไว้ ซึ่งการผสมพันธุ์จะเกิดขึ้นภายในรูนี้
(Figure 7) ทั้งนี้พฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีและผสมพันธุ์ของปลาตีนจุดฟ้ าบริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน
จังหวัดสมุทรสงคราม จะเกิดขึ้นในช่วงเวลากลางวัน ตั้งแต่น้าลงจนถึงช่วงน้าขึ้นอีกครั้ง
Figure 7. Courtship behavior in mudskippers (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770)
5. พฤติกรรมการป้ องกันอาณาเขตและป้ องกันตัว (Territorial and Defense Behavior) จากการสังเกต
มักพบว่าหากมีผู้บุกรุกเข้ามาใกล้ๆ ปลาตีนจุดฟ้ าจะมีการขับไล่ โดยการพุ่งตัวไปข้างหน้าแล้วถอยกลับสลับไปมา
พร้อมกางครีบหลัง และอ้าปากกว้าง บางครั้งก็มีการหยุดดูเชิง และหมอบติด กับพื้นแล้วจึงทาการต่อสู้กันใหม่
ระยะเวลาในการต่อสู้ไม่แน่นอน บางคู่ต่อสู้กันไม่นานแล้วก็หนี แต่บางคู่ต่อสู้กันใช้เวลาค่อนข้างนาน หากตัวไหน
ที่เป็นฝ่ายแพ้ก็จะหนีไป และโดยส่วนใหญ่มักจะเป็นปลาตีนเพศผู้ที่มีการต่อสู้กัน ทั้งนี้อาณาเขตของปลาตีนแต่
ละตัวไม่เท่ากันขึ้นกับขนาดของปลาตีนเป็นหลัก บางตัวอาจมีอาณาเขตไกลเกิน 10 เมตร
วิจารณ์
Clayton (1993) กล่าวว่าปลาตีนสกุล Periophthalmus และสกุล Periophthalmodon เป็นปลาตีนที่
กินสัตว์หรือสิ่งมีชีวิตเป็นอาหาร ขณะที่สกุล Boleophthalmus เป็นสกุลที่กินอาหารจาพวกพืช แต่ปลาตีนสกุล
Scartelaos เป็นสกุลที่กินทั้งพืชและสัตว์ แต่จากการสังเกตพฤติกรรมการกินอาหารของปลาตีนจุดฟ้ าบริเวณ
ศูนย์ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม พบว่ามีการกินทั้งพืชและสัตว์ และจาการสังเกตพฤติกรรม
การเคลื่อนที่ของปลาตีนจุดฟ้ า ครีบแต่ละครีบจะมีความสัมพันธ์กันทั้งครีบหลัง ครีบอก ครีบท้องและครีบหาง
Polumin (1972) อธิบายว่า ปลาตีนสามารถเคลื่อนที่ไปตามรากไม้ กิ่งไม้และก้อนหินได้ โดยใช้ครีบท้อง มี
ลักษณะค่อนข้างกลม สามารถดูดติดกับวัตถุโดยทาตัวแนบไปกับพื้น แม้แต่กระจกก็สามารถเกาะติดได้ จากการ
สังเกตพฤติกรรมการสร้างที่อยู่อาศัย โดยลักษณะรูจะมีทางเข้าออก 2 - 4 ทาง มีความลึกเฉลี่ย 50 ซ.ม. ซึ่งมี
ความสอดคล้องกับการศึกษาของ Swennen et al., (1995) กล่าวว่า ลักษณะของรูปลาตีนจุดฟ้ า จะสร้างอยู่ใน
พื้นที่ที่มีการเกิดน้าขึ้นน้าลง สภาพพื้นที่เป็นบริเวณเปิดโล่งเท่านั้น ลักษณะรูจะสร้างอย่างง่ายๆ โดยจะสร้างให้
กว้างกว่าลาตัว มีความลึกโดยประมาณ 65 ซม. มีทางเข้าออกหนึ่งหรือสองทางบางครั้งอาจมีถึงสามทาง
จากการสังเกตพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีและผสมพันธุ์ของปลาตีนจุดฟ้ า บริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติ
ป่าชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม พบว่า ความแตกต่างระหว่างเพศผู้และเพศเมีย คือ ปลาตีนเพศผู้จะมีสีสันที่
เข้มขึ้น มีครีบหลังที่ใหญ่กว่าแต่ก้านครีบสั้นกว่า ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Nikolsky (1963) และ Lagler
(1969) อธิบายว่า ลักษณะความแตกต่างระหว่างเพศของปลาตีนเพศผู้และเพศเมียที่สามารถสังเกตได้คือ ครีบ
หลัง ซึ่งเพศผู้มีครีบหลังที่ใหญ่กว่าและมีก้านครีบที่สั้นกว่าเพศเมียเล็กน้อย และพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีของ
เพศผู้ คือ มีการเข้าไปใกล้ๆ ขนาบข้างเพศเมีย กางครีบ อ้าปาก ส่ายลาตัว มีการกระโดดอยู่ใกล้ๆ เมื่อเพศเมีย
สนใจก็จะตามไปยังรูที่เพศผู้ขุดเตรียมไว้ และการผสมพันธุ์จะเกิดขึ้นภายในรู เป็นการยากที่จะทาการศึกษาวงจร
ชีวิตเมื่อปลาตีนอยู่ในรู ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Ishimatsu et al., (1998) ซึ่งศึกษาการเกี้ยวพาราสีและ
การผสมพันธุ์ของปลาตีนชนิด Periophthalmus modestus พบว่า ปลาตีนเพศผู้แต่ละตัวจะพยายามเชิญชวนให้
เพศเมียไปยังอาณาเขตและ ลงไปในรูที่ทาการขุดไว้ เพศผู้จะแสดงท่าทางโดยกางแผ่นปิดเหงือกและอ้าปากเพื่อ
ดึงดูดเพศเมีย นอกจากนี้ยังกางครีบหลัง ครีบหางออกและส่ายลาตัวให้เพศเมียสนใจ แต่ทั้งนี้จากการศึกษาของ
Polgar (2011) กล่าวว่า ปลาตีนจุดฟ้ ายังมีการทาการศึกษาน้อย จึงทาให้ไม่สามารถทราบถึงวงจรชีวิตทั้งหมด
แต่เป็นไปได้ว่า วงจรชีวิตน่าจะคล้ายคลึงกับปลาตีนชนิดอื่นๆ
สรุป
จากการศึกษาพฤติกรรมของปลาตีนจุดฟ้ า โดยทาการสังเกตพฤติกรรมเป็น 2 ช่วง คือ กลางวันและ
กลางคืน ซึ่งในตอนกลางวันพบพฤติกรรมทั้งหมด 5 รูปแบบ ได้แก่ พฤติกรรมการกินอาหาร การเคลื่อนที่
การสร้างที่อยู่อาศัย การเกี้ยวพาราสีและการผสมพันธุ์ การป้ องกันอาณาเขตและการข่มขู่ ก้าวร้าว ในช่วงเวลา
กลางคืนพบพฤติกรรมทั้งหมด 4 รูปแบบ ได้แก่ พฤติกรรมการกินอาหาร การเคลื่อนที่ การสร้างที่อยู่อาศัย การ
ป้ องกันอาณาเขตและการข่มขู่ ก้าวร้าว ซึ่งไม่พบพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีและการผสมพันธุ์
ปลาตีนจุดฟ้ ามีความสาคัญต่อระบบนิเวศ ดังสังเกตได้จากการขุดรูที่มีส่วนช่วยให้พื้นดินมีความพรุน
และเป็นการช่วยเพิ่มออกซิเจนลงในดิน หรือมีส่วนในการควบคุมปริมาณสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กโดยการกินสิ่งมีชีวิตที่
อาศัยอยู่ในพื้นที่ป่าชายเลน เป็นต้น ทั้งนี้การได้ศึกษาพฤติกรรมต่างๆ ของปลาตีนจุดฟ้ าแสดงทาให้เราเข้าใจถึง
ชีววิทยา นิเวศวิทยาและพฤติกรรมการดารงชีวิตของ ปลาตีนได้มากยิ่งขึ้น
เอกสารอ้างอิง
สุภาพร สุกสีเหลือง. 2542. เอกสารประกอบการสอนวิชามีนวิทยา. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Clayton D.A. 1993. Mudskippers, Oceanogr. Mar. Biol. Annu. Rev. 31: pp. 507-577.
Ishimatsu, A., Hishida Y., Takita T., Kanda T., Oikawa S., Takeda T., Khoo K.H. 1998. Mudskipper
Store Air in Their Burrows. Nature. 391: pp. 237–238.
Lagler, K.F., 1969. Freshwater Fisheries Biology. W.M.C. Brown Company, Dubuque, Lowa.
Nelson, J.S. 1994. Fishes of the World. 3rd edition. John Wiley & Sons, Inc. Interscience, New York.
Nikolsky, G.V. 1963. The Ecology of Fishes. Academic Press, London.
Pallas, P.S. 1770. Spicilegia zoological, quibus novae imprimis et obscurae animalium species
iconibus, descriptionibus atque commentaris illustrantur. Berolini, Vol. I, fasc. 8, p. 54, p.5.
Polgar, G. 2011. The Mudskipper. Available Source: http://www.mudskipper.it. May 21, 2011.
Polumin, I. 1972. Who say fish can’t climb trees. National Geographic. 141: (1) pp. 85-91.
Swennen, C., Ruttanadakul, N., Haver, M., Piummongkol, S. and others. 1995. The five sympatric
mudskippers (Teleostei: Gobioidea) of Pattani area, Southern Thailand. Nat Hist Bull Siam
Soc. 42: pp. 109-129.

More Related Content

What's hot

1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการWan Ngamwongwan
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการSumalee Khvamsuk
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดSircom Smarnbua
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservationaunun
 
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1pageใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่าโครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่าภคพงษ์ ภุมรินทร์
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่าJiraporn
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมkrudararad
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตOui Nuchanart
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยาThanyamon Chat.
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศJira Boonjira
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์feeonameray
 
ไดโนเสาร
ไดโนเสาร ไดโนเสาร
ไดโนเสาร FoFour Thirawit
 

What's hot (19)

1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ1วิวัฒนาการ
1วิวัฒนาการ
 
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการแผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
แผนการสอน เรื่องวิวัฒนาการ
 
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุดรายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
รายงานโครงการผีเสื้อมากมายสีสันสานสัมพันธ์ในดอนปู่ตา2558ศพว ล่าสุด
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
 
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1pageใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
ใบความรู้+ตามรอยเท้าสัตว์ป่า+ป.6+293+dltvscip6+54sc p06 f09-1page
 
Forest
ForestForest
Forest
 
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่าโครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
โครงงานสื่อการเรียนรู้เกี่ยวกับทรัพยากรสัตว์ป่า
 
สัตว์ป่า
สัตว์ป่าสัตว์ป่า
สัตว์ป่า
 
Airdetectiveshandbook
AirdetectiveshandbookAirdetectiveshandbook
Airdetectiveshandbook
 
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
ระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
ความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิตความหลากหลายของชีวิต
ความหลากหลายของชีวิต
 
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต
 
นิเวศวิทยา
นิเวศวิทยานิเวศวิทยา
นิเวศวิทยา
 
ธรณีกาล
ธรณีกาลธรณีกาล
ธรณีกาล
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
อนุกรมวิธาน+อาณาจักรสัตว์
 
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
แผนวิวัฒนาการมนูษย์2.2
 
ไดโนเสาร
ไดโนเสาร ไดโนเสาร
ไดโนเสาร
 
ระบบนิเวศ
ระบบนิเวศระบบนิเวศ
ระบบนิเวศ
 

Similar to 04 017 p51

ศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรJaae Watcharapirak
 
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยคู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยUtai Sukviwatsirikul
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceteeraya
 
ฟองน้ำทะเล (IS-2)
ฟองน้ำทะเล (IS-2)ฟองน้ำทะเล (IS-2)
ฟองน้ำทะเล (IS-2)AmmyMoreen
 
9789740331315
97897403313159789740331315
9789740331315CUPress
 
พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูนteryberry
 
ไฟลัมพอริเฟอรา
ไฟลัมพอริเฟอราไฟลัมพอริเฟอรา
ไฟลัมพอริเฟอราPannee Ponlawat
 
4.ตรวจเอกสาร
4.ตรวจเอกสาร4.ตรวจเอกสาร
4.ตรวจเอกสารPinNii Natthaya
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์sirieiei
 
ปลาฉลามขาว
ปลาฉลามขาวปลาฉลามขาว
ปลาฉลามขาวpeetchinnathan
 
Assignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital BookAssignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital BookJintana Deenang
 
ชีวิตของปลากัด
ชีวิตของปลากัดชีวิตของปลากัด
ชีวิตของปลากัดAnuphong Sewrirut
 

Similar to 04 017 p51 (20)

ศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพร
 
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยคู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
 
อาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Scienceอาณาจักรสัตว์Science
อาณาจักรสัตว์Science
 
ฟองน้ำทะเล (IS-2)
ฟองน้ำทะเล (IS-2)ฟองน้ำทะเล (IS-2)
ฟองน้ำทะเล (IS-2)
 
ecosystem
ecosystemecosystem
ecosystem
 
9789740331315
97897403313159789740331315
9789740331315
 
53010812271
5301081227153010812271
53010812271
 
042147
042147042147
042147
 
พะยูน
พะยูนพะยูน
พะยูน
 
ไฟลัมพอริเฟอรา
ไฟลัมพอริเฟอราไฟลัมพอริเฟอรา
ไฟลัมพอริเฟอรา
 
4.ตรวจเอกสาร
4.ตรวจเอกสาร4.ตรวจเอกสาร
4.ตรวจเอกสาร
 
อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์อาณาจักรสัตว์
อาณาจักรสัตว์
 
ปลาฉลามขาว
ปลาฉลามขาวปลาฉลามขาว
ปลาฉลามขาว
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 ความหลากหลายทางชีวภาพ ความหลากหลายทางชีวภาพ
ความหลากหลายทางชีวภาพ
 
Assignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital BookAssignment 9-Digital Book
Assignment 9-Digital Book
 
ชีวิตของปลากัด
ชีวิตของปลากัดชีวิตของปลากัด
ชีวิตของปลากัด
 
ต้นกก
ต้นกกต้นกก
ต้นกก
 
Animal55
Animal55Animal55
Animal55
 
กลุ่ม 4
กลุ่ม 4 กลุ่ม 4
กลุ่ม 4
 
3
33
3
 

More from Nichaphat Sanguthai

ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Nichaphat Sanguthai
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมNichaphat Sanguthai
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังNichaphat Sanguthai
 
2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็มNichaphat Sanguthai
 
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvkNichaphat Sanguthai
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง Nichaphat Sanguthai
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองNichaphat Sanguthai
 
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6Nichaphat Sanguthai
 
แบบสำรวจตัวเอง
แบบสำรวจตัวเองแบบสำรวจตัวเอง
แบบสำรวจตัวเองNichaphat Sanguthai
 

More from Nichaphat Sanguthai (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
ปลาตีน
ปลาตีนปลาตีน
ปลาตีน
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการัง
 
Yoga
YogaYoga
Yoga
 
2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Book20110408103212
Book20110408103212Book20110408103212
Book20110408103212
 
Kc4104041
Kc4104041Kc4104041
Kc4104041
 
24
2424
24
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง
 
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
 
Thanakritsomrit
ThanakritsomritThanakritsomrit
Thanakritsomrit
 
แบบสำรวจตัวเอง
แบบสำรวจตัวเองแบบสำรวจตัวเอง
แบบสำรวจตัวเอง
 

04 017 p51

  • 1. Key Words: Behavior, Boleophthalmus boddarti * Corresponding author; e-mail address: v.thanapoom@hotmail.com 1* ภาควิชาวิทยาศาสตร์ทางทะเล คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ 50 ถ.พหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ 10900 Department of Marine Science, Faculty of Fisheries, Kasetsart University, 50 Pahol Yothin Road, Chatuchak, Bangkok 10900. พฤติกรรมการดารงชีวิตของปลาตีนจุดฟ้ า (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770) บริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม Life Behaviors of the Mudskippers (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770) in the Mangrove Nature Education Center, Samutsongkhram Province ธนภูมิ วิชัยดิษฐ1* จรวย สุขแสงจันทร์1 และ เยาวลักษณ์ มั่นธรรม1 Thanapoom Vichaidist1* Charuay Sukhsangchan1 and Yaowaluk Munthum1 บทคัดย่อ การศึกษาพฤติกรรมการดารงชีวิตของปลาตีนจุดฟ้ า (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770) บริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม สังเกตพฤติกรรมของปลาตีนจุดฟ้ าทั้งหมด 5 รูปแบบ โดยแบ่งตามช่วงเวลากลางวันและกลางคืน ดังนี้ช่วงเวลากลางวัน พบว่าปลาตีนจุดฟ้ าแสดงพฤติกรรม 5 รูปแบบ ได้แก่ 1.พฤติกรรมการกินอาหาร ปลาตีนจุดฟ้ าจะใช้ขากรรไกรล่างในการขูดหาอาหารตามพื้นเลนโดย ส่ายหัวไปมาหรืออาจกระโดดกินแมลงที่บินผ่าน 2.พฤติกรรมการเคลื่อนที่สามารถแบ่งย่อยออกได้เป็น 6 แบบ ได้แก่ ยกตัว คืบคลาน พลิกตัว ไถลตัว กระโดดและว่ายน้า 3.พฤติกรรมการสร้างที่อยู่อาศัยปลาตีนจุดฟ้ าจะใช้ ครีบอกขุดดินและใช้ปากอมดินจากในรูขึ้นมาวางบนปากรูและใช้เวลาในการสร้างรูประมาณ 5 - 10 นาที 4.พฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีและผสมพันธุ์ เพศผู้จะมีสีที่เข้มขึ้นและจะแสดงท่าทางต่างๆ เช่น กางครีบ หรือ คลานตามเพศเมีย เพื่อดึงดูดความสนใจเมื่อเพศเมียสนใจจะนาเพศเมียลงรูเพื่อผสมพันธุ์ 5.พฤติกรรมการ ป้ องกันอาณาเขตและป้ องกันตัว เมื่อมีผู้บุกรุกปลาตีนจะพุ่งเข้าหา พร้อมกางครีบและอ้าปากกว้าง ส่วนในช่วง เวลากลางคืน พบเพียง 4 รูปแบบ โดยจะไม่พบพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีและผสมพันธุ์ในเวลากลางคืน ABSTRACT Life behavior of mudskippers (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770) was studied in the Mangrove Nature Education Center, Samutsongkhram Province. Life behaviors of the mudskipper were observed during day and night time. Five behaviors were observed during the day such as 1.feeding behavior: the mudskippers used the mandibles to scrape along the bottom substrate or sometime the mudskippers were found jumping in the air to eat the flying insect. 2.Locomotion behavior can separated into 6 patterns namely, crutching, rowing, reversing, skating, jumping and swimming. 3.Burrow construction behavior lasted 5 - 10 minute with the mudskippers using their mouths and pectoral fins to dig the substrate. 4.Courtship and reproductive behavior commenced when the male will changed their skin color to dark, spreading their fins and crawling behind or beside the females for attractions. Finally the males would lead females to the burrow to mate. 5.Territorial and defense behaviors was recorded when the mudskippers protected their territories it from intruders by spreading their fins, with opened mouths. Sometime the mudskippers also fought with their enemies. Only 4 behaviors, were recorded at night omitting the courtship and reproductive behavior, the latter behavior was observed only during the day.
  • 2. คานา ปลาตีน (Mudskipper) เป็นสัตว์ที่เป็นเอกลักษณ์ประจาป่าชายเลน พฤติกรรมการดารงชีวิตส่วนใหญ่ จะอาศัยอยู่บนพื้นเลน มักออกมาทากิจกรรมต่างๆ ในช่วงน้าลง เช่น การหาอาหาร การผสมพันธุ์ การสร้างที่อยู่ อาศัย การต่อสู้ เป็นต้น ปลาตีนเป็นสัตว์น้าที่มีพัฒนาการที่แตกต่างจากสัตว์น้าชนิดอื่น เช่น สามารถทนต่อ ความเค็มที่มีช่วงกว้างได้ (Eury haline) ปลาตีนมีการปรับตัวและปรับโครงสร้างของร่างกายเพื่อให้สามารถดารง ชีวิตบนเลนได้ เช่น ครีบที่พัฒนามีความแข็งแรงเปรียบเสมือนเป็นขาหน้าของสัตว์ สามารถใช้ในการขุดรูยึดเกาะ ปีนป่ายต้นไม้และไถลตัวไปบนพื้นเลนได้เป็นอย่างดี ดวงตามีขนาดใหญ่ทาให้มองเห็นได้ชัดเจนและมี ถุงใต้ตา ซึ่งสามารถขับน้ามาหล่อเลี้ยง ทาให้ดวงตาเกิดความชุ่มชื้นเมื่อขึ้นมาอยู่บนบกเป็นเวลานานได้ Nelson (1994) อธิบายว่า ตาของปลาตีนที่อยู่ส่วนบนของหัว มีก้านตาที่สามารถยืดหรือหดให้สั้นยาวได้ ซึ่งเป็นกลไก การปรับตัว เพื่อให้สามารถมองเห็นในอากาศได้ดี สุภาพร (2542) กล่าวว่า ปลาตีนมีการดารงชีวิตส่วนใหญ่อยู่บนเลนหรือบนบก จึงมีกลไกในการหายใจ ที่พิเศษกว่าปลาชนิดอื่น โดยมีกระพุ้งแก้มที่โป่งพองใช้ในการเก็บกักน้าทาให้เหงือก มีความชื้นสามารถที่จะดึง ออกซิเจนไปใช้ได้เช่นเดียวกับการแลกเปลี่ยนออกซิเจนในน้า อีกทั้งผิวหนังของปลาตีนยังสามารถดูดซับ ออกซิเจนจากอากาศได้อีกด้วย ปลาตีนมีบทบาทที่สาคัญในการหมุนเวียนสารอาหาร ช่วยควบคุมสมดุลในห่วงโซ่อาหารและถ่ายทอด พลังงานในระบบนิเวศป่าชายเลน อีกทั้งพฤติกรรมการขุดรูเพื่อสร้างที่อยู่อาศัย ยังมีประโยชน์ในการช่วยการเติม อากาศเข้าไปในดินเลนเสมือนเป็นการพรวนดินให้กับต้นไม้ในป่าชายเลนอีกด้วย นอกจากนี้ปลาตีนยังมีความ สาคัญและสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น นามาเลี้ยงเป็นสัตว์สวยงาม นามาบริโภคเป็นอาหาร และส่งออกไปขายยังต่างประเทศได้ ดังนั้นการศึกษาพฤติกรรมของปลาตีนในครั้งนี้เพื่อให้ทราบถึง การดารงชีวิตและบทบาทที่สาคัญ ในระบบนิเวศป่าชายเลน และนาข้อมูลที่ได้ไปใช้ในการจัดการทรัพยากรปลาตีนต่อไป อุปกรณ์และวิธีการ การศึกษาพฤติกรรมของปลาตีนจุดฟ้ า ประมาณ 120 ตัว โดยทาการติดตั้งกล้องวงจรปิดในพื้นที่ศึกษา พร้อมทั้งบันทึกพฤติกรรมที่พบทั้งในช่วงเวลากลางวันและกลางคืน โดยในช่วงกลางวัน จะติดตั้งกล้องในช่วงที่น้า ลง และ ไม่ติดตั้งกล้องให้ต่าเกินไป เพื่อป้ องกันกล้องเปียกน้าในขณะมีคลื่นลมหรือน้าขึ้น และทาการสังเกต พฤติกรรมจากจอมอนิเตอร์ โดยสังเกตลักษณะท่าทาง รูปร่างที่เปลี่ยนแปลงไป มีการใช้อุปกรณ์เพิ่มเติมใน การศึกษาพฤติกรรมการสร้างที่อยู่อาศัยคือ การเรซิ่นเทเพื่อรอดูโครงสร้างของรูปลาตีน และทาการบันทึกข้อมูลที่ เปลี่ยนไปในรอบวัน อาทิเช่น ช่วงเวลาที่เกิดน้าขึ้นน้าลง สภาพดินฟ้ าอากาศที่เปลี่ยนแปลงไป ต่อการดารงชีวิต ของปลาตีนจุดฟ้ า สาหรับการสังเกตพฤติกรรมในช่วงเวลากลางคืน โดยทาการถ่ายวิดีโอในแบบถ่ายภาพ
  • 3. กลางคืน และใช้กล้องกล้องวงจรปิดที่มีแสงอินฟาเรดสาหรับถ่ายและบันทึกในเวลากลางคืน เพื่อไม่เป็นการ รบกวนสิ่งมีชีวิตให้มากที่สุด สังเกตพฤติกรรมทุกๆ 4 เดือน เป็นเวลา 1 ปี ผลการทดลอง การศึกษาพฤติกรรม จากการศึกษาพฤติกรรมการดารงชีวิตของปลาตีนจุดฟ้ าที่พบบริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม โดยแบ่งเวลาสังเกตพฤติกรรมออกเป็น 2 ช่วง คือ ช่วงเวลากลางวันและกลางคืน และจาก การสังเกตในแต่ละฤดูกาล พบว่าการแสดงพฤติกรรมไม่แตกต่างกัน และพฤติกรรมที่พบทั้งหมดมี 5 แบบโดย แบ่งเป็น ช่วงเวลากลางวันพบ 5 แบบ ได้แก่ การกินอาหาร การเคลื่อนที่ การสร้างที่อยู่อาศัย การเกี้ยวพาราสี และผสมพันธุ์ และการป้ องกันอาณาเขตและป้ องกันตัว และในช่วงเวลากลางคืน สามารถสังเกตพฤติกรรมได้ ทั้งหมด 4 แบบ เช่นเดียวกับเวลากลางวันแต่ไม่พบพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีและผสมพันธุ์ 1. พฤติกรรมการกินอาหาร (Feeding Behavior) ปลาตีนจะขึ้นมาจากรูเพื่อหาอาหารในช่วงน้าลง บาง ตัวก็จะอยู่บริเวณปากหลุม แต่เมื่อออกจากรูแล้วจะออกไปหาอาหารโดยไม่ไกลจากรูมากนัก ซึ่งระยะทางและ เวลาในการออกหาอาหารนั้นไม่แน่นอนทั้งกลางวันและกลางคืน ทั้งนี้พบว่า ในเวลากลางวันปลาตีนจะออกหา กินไกลจากรูมากกว่าในเวลากลางคืน อาหารของปลาตีน ได้แก่ สาหร่าย ไดอะตอม สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กที่อาศัย บริเวณพื้นเลนและแมลง พฤติกรรมการกินอาหารของปลาตีนจุดฟ้ าจะมีการส่ายหัวไปมา พร้อมกับกินอาหารที่ อยู่ตามพื้น (Figure 1) บางครั้งอาจพบว่าปลาตีนจุดฟ้ าสามารถกระโดดเพื่อจับเอาแมลงที่บินผ่านกินเป็นอาหาร Figure 1. Feeding Behavior in mudskippers (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770). 2. พฤติกรรมการเคลื่อนที่ (Locomotion Behavior) ปลาตีนจะใช้ครีบอก ช่วยในการเคลื่อนที่ คืบคลาน บนพื้นเลน ปีนป่ายต้นไม้ พยุงตัว นอกจากนี้ปลาตีนจุดฟ้ าจะใช้ครีบท้องยึดเกาะกับพื้นผิวหรือวัสดุ เช่น ก้อนหิน รากไม้ ปลาตีนจุดฟ้ าจะใช้กล้ามเนื้อตรงบริเวณคอดหางเป็นส่วนสาคัญที่ช่วยในการเคลื่อนที่ เช่น ส่ายลาตัว ช่วย ให้ลาตัวส่ายไปมาเพื่อไถลตัวไปบนพื้นเลนได้หรือมีส่วนช่วยในการกระโดด นอกจากนี้สามารถแบ่งรูปแบบการ เคลื่อนที่ของปลาตีนจุดฟ้ า ออกได้เป็น 6 แบบ ดังนี้
  • 4. 2.1 การยกตัว (Crutching) ปลาตีนที่ขึ้นมาอยู่บนผิวเลนจะมีการยกตัวขึ้น โดยจะใช้ครีบอก ดันตัวให้สูงขึ้น (Figure 2) การยกตัวของปลาตีนสามารถสังเกตได้ในพื้นที่ที่มีเลนค่อนข้างแข็ง ทั้งนี้ปลาตีนจุดฟ้ า แสดงพฤติกรรมการยกตัว เพื่อให้สามารถมองไปทางด้านหน้าได้ไกลยิ่งขึ้น เพื่อประโยชน์ในการป้ องกันตัวและ หาอาหาร Figure 2. Crutching position in mudskippers (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770). 2.2 การคืบคลาน (Rowing) ปลาตีนจุดฟ้ าจะใช้ครีบอกทั้ง 2 ข้าง ดึงหรือลากตัวเองไปข้างหน้า ขณะที่ตัวยังแนบติดกับพื้นเลนอยู่ บางครั้งอาจ ส่ายลาตัวช่วยด้วย จากการสังเกตจะเห็นว่า ขณะปลาตีนจุดฟ้ า คืบคลาน ครีบหลังอันแรกจะยกตั้งขึ้นด้วยเสมอและเมื่อหยุดเคลื่อนที่ครีบหลังก็จะหุบลง การยกครีบหลังขึ้น เพื่อให้ร่างกายมีความสมดุลขณะเคลื่อนที่ ทั้งนี้การคืบคลาน พบว่ามีการเคลื่อนที่แล้วหยุดเป็นระยะๆ 2.3 การพลิกตัว (Reversing) จากการสังเกตปลาตีนมีพฤติกรรมการพลิกตัวค่อนข้างเร็ว เวลา พลิกตัวปลาตีนจะเก็บครีบอกแนบติดกับลาตัวและใช้กล้ามเนื้อส่วนท้องช่วยให้ตัวพลิกไปมา การพลิกตัวมักจะ เกิดในบริเวณที่มีน้าหรือชื้นแฉะ เพื่อให้การพลิกตัวเป็นไปได้ง่าย (Figure 3) การพลิกตัวของปลาตีนเพื่อต้องการ ให้ตัวเองได้รับความชุ่มชื้นอยู่ตลอดและเป็นการทาความสะอาดลาตัวสิ่งที่มาเกาะ เช่น ปรสิต เป็นต้น Figure 3. Reversing position in mudskippers (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770) in order to wet themselves or to clean themselves from parasites.
  • 5. 2.4 การไถลตัว พุ่งตัว (Skating) เป็นการเคลื่อนที่ไปข้างหน้าหรือข้างหลัง โดยปลาตีนจะงอ บริเวณส่วนหาง แล้วทาการดีดตัวหรือพุ่งตัวไปข้างหน้า การพุ่งตัวหรือไถลตัวไปข้างหน้าบางครั้งอาจมีการพลิก ตัวกลับหรือหันกลับมาทางเดิม ซึ่งการพลิกตัวกลับนี้คล้ายกับการกระโดดแต่ไม่สูง พฤติกรรมการไถลตัวมักพบ เมื่อต้องการขับไล่ผู้บุกรุก หนีผู้บุกรุก หรือต้องการกลับเข้ารู เป็นต้น 2.5 การกระโดด (Jumping) จากการสังเกตการกระโดดของปลาตีน จะมีลักษณะคล้ายกับการ ไถลตัวหรือพุ่งตัวไปข้างหน้า แต่จะแตกต่างตรงที่การกระโดดไม่ได้พุ่งไปข้างหน้า แต่จะกระโดดขึ้นไปด้านบน (Figure 4) การกระโดดอาจใช้เพื่อการหลบหลีกศัตรู หรือใช้เพื่อเกี้ยวพาราสีหรือล่อตัวเมีย ในช่วงฤดูผสมพันธุ์ Figure 4. Jumping position in mudskippers (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770) in order to avoid predators or to attract females during courtship. 2.6 การว่ายน้า (Swimming) ปลาตีนจะว่ายน้าโดยการโผล่เฉพาะส่วนหัวขึ้นมาบนผิวน้า โดย ครีบอกจะแผ่กว้างออก ขนานกับผิวน้าช่วยในการพยุงให้ตัวเองลอยขึ้นมา และใช้ส่วนหางและครีบหางในการพัด โบก เพื่อเคลื่อนที่ไปในทิศทางที่ต้องการ (Figure 5) บางครั้งจะมีการพุ่งตัวไปบนผิวน้าโดยการสะบัดส่วนหาง อย่างรวดเร็ว เพื่อหนีจากสถานการณ์กดดันต่างๆ อาทิเช่น การหนีหลังจากต่อสู้เสร็จ หรือขับไล่ผู้บุกรุก เป็นต้น Figure 5. Swimming position in mudskippers (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770) in order to escape after fights or to chase off intruder. 3. พฤติกรรมการสร้างที่อยู่อาศัย (Burrow construction Behavior) ปลาตีนสร้างรูเพื่อใช้เป็นที่อยู่อาศัย ดังนั้น รูของปลาตีนจัดว่ามีความจาเป็นและสาคัญต่อการดารงชีวิตเป็นอย่างมาก เนื่องจากรูของปลาตีนเป็นที่ สาหรับหลบภัยจากนักล่า เป็นที่ผสมพันธุ์และวางไข่ จากการสังเกตบริเวณที่อยู่อาศัยและพฤติกรรมการสร้างรู
  • 6. ของปลาตีน พบว่า รูของปลาตีนมักจะสร้างอยู่ในพื้นที่โล่งๆ มีความชุกชุมของไม้ป่าชายเลนน้อย และพฤติกรรม การสร้างรูจะใช้ครีบอกช่วยในการขุดและใช้ปากในการอมดินจากในรูขึ้นมากองบนปากรูเป็นก้อนๆ การขุดรูแต่ ละครั้งใช้เวลาประมาณ 5 - 15 นาที (Figure 6) โดยรูของปลาตีนจุดฟ้ ามีลักษณะค่อนข้างซับซ้อน มีทางเข้าออก 2 - 4 ทาง มีความลึกโดยเฉลี่ย 50 ซ.ม. เนื่องจากในพื้นที่อาศัยมักมีศัตรูในธรรมชาติ ได้แก่ งูปากกว้างน้าเค็ม ดังนั้น รูของปลาตีนจึงมีทางเข้าออกหลายทาง Figure 6. Burrow construction Behavior in mudskippers (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770). 4. พฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีและผสมพันธุ์ (Courtship and Reproductive Behavior) พบว่าปลาตีน จุดฟ้ าบริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม มีพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีและผสมพันธุ์ ในช่วงเวลาดังกล่าวจะเห็นลักษณะที่แตกต่างระหว่างปลาตีนเพศผู้และเพศเมียอย่างชัดเจน คือ ปลาตีนเพศผู้ จะมีสีสันที่สด มีสีที่เข้มขึ้นกว่าเพศเมียอย่างเห็นได้ชัดและเพศผู้จะมีครีบหลังที่ใหญ่กว่าแต่ก้านครีบสั้นกว่า ทั้งนี้ พฤติกรรมที่เพศผู้แสดงออกถึงการเกี้ยวพาราสีเพศเมีย คือ การเข้าไปใกล้ๆ ขนาบข้างเพศเมีย กางครีบ อ้าปาก ส่ายลาตัว มีการกระโดดอยู่ใกล้ๆ กับเพศเมียหรือ มีการเข้าออกจากรูบ่อยครั้ง บางบริเวณมีปลาตีนเพศผู้อยู่กัน เป็นกลุ่มหากมีปลาตีนเพศเมียหลงเข้าไปในบริเวณที่ปลาตีนตัวผู้อาศัยอยู่ อาจมีการต่อสู้กันระหว่างปลาตีนเพศ ผู้ด้วยกัน โดยที่ตัวเมียยังวนเวียนอยู่ใกล้ๆ หากเพศผู้ตัวไหนชนะ ก็จะได้แสดงการเกี้ยวพาราสีต่อเพศเมีย หาก เพศเมียสนใจเพศผู้ตัวไหน ก็จะตามเพศผู้ไปยังรูที่เพศผู้ทาการขุดไว้ ซึ่งการผสมพันธุ์จะเกิดขึ้นภายในรูนี้ (Figure 7) ทั้งนี้พฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีและผสมพันธุ์ของปลาตีนจุดฟ้ าบริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม จะเกิดขึ้นในช่วงเวลากลางวัน ตั้งแต่น้าลงจนถึงช่วงน้าขึ้นอีกครั้ง Figure 7. Courtship behavior in mudskippers (Boleophthalmus boddarti Pallas, 1770)
  • 7. 5. พฤติกรรมการป้ องกันอาณาเขตและป้ องกันตัว (Territorial and Defense Behavior) จากการสังเกต มักพบว่าหากมีผู้บุกรุกเข้ามาใกล้ๆ ปลาตีนจุดฟ้ าจะมีการขับไล่ โดยการพุ่งตัวไปข้างหน้าแล้วถอยกลับสลับไปมา พร้อมกางครีบหลัง และอ้าปากกว้าง บางครั้งก็มีการหยุดดูเชิง และหมอบติด กับพื้นแล้วจึงทาการต่อสู้กันใหม่ ระยะเวลาในการต่อสู้ไม่แน่นอน บางคู่ต่อสู้กันไม่นานแล้วก็หนี แต่บางคู่ต่อสู้กันใช้เวลาค่อนข้างนาน หากตัวไหน ที่เป็นฝ่ายแพ้ก็จะหนีไป และโดยส่วนใหญ่มักจะเป็นปลาตีนเพศผู้ที่มีการต่อสู้กัน ทั้งนี้อาณาเขตของปลาตีนแต่ ละตัวไม่เท่ากันขึ้นกับขนาดของปลาตีนเป็นหลัก บางตัวอาจมีอาณาเขตไกลเกิน 10 เมตร วิจารณ์ Clayton (1993) กล่าวว่าปลาตีนสกุล Periophthalmus และสกุล Periophthalmodon เป็นปลาตีนที่ กินสัตว์หรือสิ่งมีชีวิตเป็นอาหาร ขณะที่สกุล Boleophthalmus เป็นสกุลที่กินอาหารจาพวกพืช แต่ปลาตีนสกุล Scartelaos เป็นสกุลที่กินทั้งพืชและสัตว์ แต่จากการสังเกตพฤติกรรมการกินอาหารของปลาตีนจุดฟ้ าบริเวณ ศูนย์ศึกษาธรรมชาติป่าชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม พบว่ามีการกินทั้งพืชและสัตว์ และจาการสังเกตพฤติกรรม การเคลื่อนที่ของปลาตีนจุดฟ้ า ครีบแต่ละครีบจะมีความสัมพันธ์กันทั้งครีบหลัง ครีบอก ครีบท้องและครีบหาง Polumin (1972) อธิบายว่า ปลาตีนสามารถเคลื่อนที่ไปตามรากไม้ กิ่งไม้และก้อนหินได้ โดยใช้ครีบท้อง มี ลักษณะค่อนข้างกลม สามารถดูดติดกับวัตถุโดยทาตัวแนบไปกับพื้น แม้แต่กระจกก็สามารถเกาะติดได้ จากการ สังเกตพฤติกรรมการสร้างที่อยู่อาศัย โดยลักษณะรูจะมีทางเข้าออก 2 - 4 ทาง มีความลึกเฉลี่ย 50 ซ.ม. ซึ่งมี ความสอดคล้องกับการศึกษาของ Swennen et al., (1995) กล่าวว่า ลักษณะของรูปลาตีนจุดฟ้ า จะสร้างอยู่ใน พื้นที่ที่มีการเกิดน้าขึ้นน้าลง สภาพพื้นที่เป็นบริเวณเปิดโล่งเท่านั้น ลักษณะรูจะสร้างอย่างง่ายๆ โดยจะสร้างให้ กว้างกว่าลาตัว มีความลึกโดยประมาณ 65 ซม. มีทางเข้าออกหนึ่งหรือสองทางบางครั้งอาจมีถึงสามทาง จากการสังเกตพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีและผสมพันธุ์ของปลาตีนจุดฟ้ า บริเวณศูนย์ศึกษาธรรมชาติ ป่าชายเลน จังหวัดสมุทรสงคราม พบว่า ความแตกต่างระหว่างเพศผู้และเพศเมีย คือ ปลาตีนเพศผู้จะมีสีสันที่ เข้มขึ้น มีครีบหลังที่ใหญ่กว่าแต่ก้านครีบสั้นกว่า ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Nikolsky (1963) และ Lagler (1969) อธิบายว่า ลักษณะความแตกต่างระหว่างเพศของปลาตีนเพศผู้และเพศเมียที่สามารถสังเกตได้คือ ครีบ หลัง ซึ่งเพศผู้มีครีบหลังที่ใหญ่กว่าและมีก้านครีบที่สั้นกว่าเพศเมียเล็กน้อย และพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีของ เพศผู้ คือ มีการเข้าไปใกล้ๆ ขนาบข้างเพศเมีย กางครีบ อ้าปาก ส่ายลาตัว มีการกระโดดอยู่ใกล้ๆ เมื่อเพศเมีย สนใจก็จะตามไปยังรูที่เพศผู้ขุดเตรียมไว้ และการผสมพันธุ์จะเกิดขึ้นภายในรู เป็นการยากที่จะทาการศึกษาวงจร ชีวิตเมื่อปลาตีนอยู่ในรู ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของ Ishimatsu et al., (1998) ซึ่งศึกษาการเกี้ยวพาราสีและ การผสมพันธุ์ของปลาตีนชนิด Periophthalmus modestus พบว่า ปลาตีนเพศผู้แต่ละตัวจะพยายามเชิญชวนให้ เพศเมียไปยังอาณาเขตและ ลงไปในรูที่ทาการขุดไว้ เพศผู้จะแสดงท่าทางโดยกางแผ่นปิดเหงือกและอ้าปากเพื่อ ดึงดูดเพศเมีย นอกจากนี้ยังกางครีบหลัง ครีบหางออกและส่ายลาตัวให้เพศเมียสนใจ แต่ทั้งนี้จากการศึกษาของ
  • 8. Polgar (2011) กล่าวว่า ปลาตีนจุดฟ้ ายังมีการทาการศึกษาน้อย จึงทาให้ไม่สามารถทราบถึงวงจรชีวิตทั้งหมด แต่เป็นไปได้ว่า วงจรชีวิตน่าจะคล้ายคลึงกับปลาตีนชนิดอื่นๆ สรุป จากการศึกษาพฤติกรรมของปลาตีนจุดฟ้ า โดยทาการสังเกตพฤติกรรมเป็น 2 ช่วง คือ กลางวันและ กลางคืน ซึ่งในตอนกลางวันพบพฤติกรรมทั้งหมด 5 รูปแบบ ได้แก่ พฤติกรรมการกินอาหาร การเคลื่อนที่ การสร้างที่อยู่อาศัย การเกี้ยวพาราสีและการผสมพันธุ์ การป้ องกันอาณาเขตและการข่มขู่ ก้าวร้าว ในช่วงเวลา กลางคืนพบพฤติกรรมทั้งหมด 4 รูปแบบ ได้แก่ พฤติกรรมการกินอาหาร การเคลื่อนที่ การสร้างที่อยู่อาศัย การ ป้ องกันอาณาเขตและการข่มขู่ ก้าวร้าว ซึ่งไม่พบพฤติกรรมการเกี้ยวพาราสีและการผสมพันธุ์ ปลาตีนจุดฟ้ ามีความสาคัญต่อระบบนิเวศ ดังสังเกตได้จากการขุดรูที่มีส่วนช่วยให้พื้นดินมีความพรุน และเป็นการช่วยเพิ่มออกซิเจนลงในดิน หรือมีส่วนในการควบคุมปริมาณสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กโดยการกินสิ่งมีชีวิตที่ อาศัยอยู่ในพื้นที่ป่าชายเลน เป็นต้น ทั้งนี้การได้ศึกษาพฤติกรรมต่างๆ ของปลาตีนจุดฟ้ าแสดงทาให้เราเข้าใจถึง ชีววิทยา นิเวศวิทยาและพฤติกรรมการดารงชีวิตของ ปลาตีนได้มากยิ่งขึ้น เอกสารอ้างอิง สุภาพร สุกสีเหลือง. 2542. เอกสารประกอบการสอนวิชามีนวิทยา. มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. Clayton D.A. 1993. Mudskippers, Oceanogr. Mar. Biol. Annu. Rev. 31: pp. 507-577. Ishimatsu, A., Hishida Y., Takita T., Kanda T., Oikawa S., Takeda T., Khoo K.H. 1998. Mudskipper Store Air in Their Burrows. Nature. 391: pp. 237–238. Lagler, K.F., 1969. Freshwater Fisheries Biology. W.M.C. Brown Company, Dubuque, Lowa. Nelson, J.S. 1994. Fishes of the World. 3rd edition. John Wiley & Sons, Inc. Interscience, New York. Nikolsky, G.V. 1963. The Ecology of Fishes. Academic Press, London. Pallas, P.S. 1770. Spicilegia zoological, quibus novae imprimis et obscurae animalium species iconibus, descriptionibus atque commentaris illustrantur. Berolini, Vol. I, fasc. 8, p. 54, p.5. Polgar, G. 2011. The Mudskipper. Available Source: http://www.mudskipper.it. May 21, 2011. Polumin, I. 1972. Who say fish can’t climb trees. National Geographic. 141: (1) pp. 85-91. Swennen, C., Ruttanadakul, N., Haver, M., Piummongkol, S. and others. 1995. The five sympatric mudskippers (Teleostei: Gobioidea) of Pattani area, Southern Thailand. Nat Hist Bull Siam Soc. 42: pp. 109-129.