SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
การฟนฟูปะการังในฝงทะเลอันดามัน
นลินี ทองแถม
สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลชายฝงทะเล และปาชายเลน ตู ป.ณ. 60 อ. เมือง จ. ภูเก็ต
บทคัดยอ
การศึกษาเรื่องการฟนฟูแนวปะการังเสื่อมโทรมในประเทศไทยทางฝงทะเลอันดามัน เริ่มขึ้นโดย
กลุมนิเวศวิทยาทางทะเล สถาบันวิจัยชีววิทยาและประมงทะเล กรมประมง เมื่อ พ.ศ. 2537 ที่จังหวัดภูเก็ต
(ปจจุบันคือกลุมชีววิทยาและนิเวศวิทยาทางทะเลและชายฝง สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล
และชายฝง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง) การศึกษาชวงเริ่มตนประกอบดวยการศึกษาความ
เหมาะสมของรูปรางและความซับซอนของแทงคอนกรีตที่ใชเปนพื้นที่ลงเกาะสําหรับตัวออนปะการังใน
ธรรมชาติ การหาวิธีและเทคนิคที่เหมาะสมในการยายปลูกปะการังชนิดตาง ๆ รวมทั้งการศึกษาผลของ
การยายปะการังออกจากพื้นที่ที่เปนแหลงพันธุ โดยเริ่มดําเนินการทดลองที่เกาะไมทอน จังหวัดภูเก็ต
การศึกษาไดถูกปรับปรุงพัฒนามาอยางตอเนื่องจากทั้งนักวิจัยของสถาบัน ฯ และการดําเนินงานรวมกับ
นักวิจัยตางประเทศ และไดนําวิธีการไปใชพื้นฟูแนวปะการังในหลายพื้นที่ที่มีความเหมาะสม
กิจกรรมฟนฟูปะการังที่ดําเนินการโดยสถาบัน ฯ สวนใหญเปนในลักษณะของงานวิจัยโดยมี
วัตถุประสงคเพื่อหาเทคนิควิธีการฟนฟูปะการังใหม ๆ ที่รบกวนแหลงพันธุธรรมชาตินอยที่สุด โดยมี
อัตรารอดสูงสุดและใชตนทุนต่ําที่สุด โดยเปนแนวทางที่เหมาะสมภายใตหลักวิชาการที่ไดรับการ
ยอมรับในระดับนานาชาติ รวมทั้งดําเนินการถายทอดผลจากงานวิจัยไปยังหนวยงานในภาคปฏิบัติ
นอกจากนี้สถาบัน ฯ ยังไดนําผลจากการศึกษาวิจัยไปใชในงานดานการสงเสริมการมีสวนรวม
ของประชาชนในการฟนฟูแนวปะการัง และเปนหนวยงานหลักในการเผยแพรความรูและหาแนวทางใน
การฟนฟูปะการังไปยังนักวิชาการและนักวิจัยในสวนราชการและมหาวิทยาลัยตาง ๆ ที่มีการดําเนิน
กิจกรรมและวิจัยดานการฟนฟูปะการังทั่วประเทศ นอกจากนี้สถาบัน ฯ ยังดําเนินโครงการฝกอบรมให
ความรูและดําเนินกิจกรรมอนุรักษรวมกับกลุมเปาหมายตาง ๆ
คําสําคัญ: ฟนฟูปะการัง แนวปะการัง
CORAL REHABILITATION ACTIVITIES IN THE ANDAMAN COAST
OF THAILAND
Nalinee Thongtham
Phuket Marine Biological Center, P.O. Box 60, Phuket 83000, Thailand
ABSTRACT
The study on coral reef rehabilitation in the Andaman coast of Thailand was
initiated by the Marine and Coastal Biology and Ecology Unit of the Phuket Marine
Biological Center (PMBC) in 1994. The study was conducted at Maiton Island in Phuket
province; it now serves as PMBC’s demonstration site for coral rehabilitation study.
Objectives of the study are to discover effective methods to rehabilitate degraded
coral reefs in Thai waters and to disseminate the knowledge got from the project to other
organizations. In the beginning of the project, two research schemes were employed. First,
the provision of artificial substrate for natural coral recruitment, using different shapes of
concrete cylinders to test their relative effectiveness in enhancing the natural recruitment of
corals. The number of colonies and the percentage and diversity of surviving corals were
significantly higher on the high-complexity artificial substrates than on the less complex
ones. The second scheme was the transplantation of different species of coral. The survival
and the growth rate of transplanted coral depend on various environmental factors, e.g.
current, sedimentation, suspended solid, type of substrate, and the absence of grazers. The
results and the techniques from both studies are now widely used for coral rehabilitation in
the Andaman coast of Thailand.
The PMBC also hosted several meetings to disseminate the concept of coral
rehabilitation; to provide a forum for scientists to share and exchange knowledge, ideas
and experiences; and to brainstorm ideas on criteria to be followed in restoration of coral
reefs in Thai waters. We disseminate knowledge, through posters, lectures and exhibitions,
on coral biology and marine conservation to increase awareness of the importance of coral
reefs, and to activate public participation in coral reef protection and conservation.
Key words: coral; coral rehabilitation; Andaman Sea
ปะการังคืออะไรและประโยชนของแนวปะการัง
ปะการัง เปนสัตวทะเลไมมีกระดูกสันหลังขนาดเล็ก กลุมใกลเคียงกับดอกไมทะเล ปะการังที่
รูจักกันทั่วไปมีลักษณะพิเศษ คือ สามารถสรางโครงสรางหินปูนขึ้นมาเปนที่อยูของปะการังแตละตัว
โครงสรางหินปูนเหลานี้มีรูปทรงแตกตางกันไปตามชนิดของปะการัง โดยทั่วไปแลวปะการังจะอยู
รวมกันเปนกลุมและมีการเชื่อมตอของโครงสรางหินปูน ซึ่งเรียกวาแนวปะการัง (รูปที่ 1) นานน้ําไทยมี
ปะการังที่มีการจําแนกชื่อแลวประมาณ 260 ชนิด โดยทะเลอันดามันเปนบริเวณที่มีความหลากหลายของ
ชนิดปะการังสูงเมื่อเทียบกับฝงอาวไทย
แนวปะการังเปนแหลงที่อยู หากิน เลี้ยงตัวออนของสัตวทะเลนานาชนิด เปนอาณาจักรที่รวม
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในทะเลเอาไวมากที่สุดแหงหนึ่งในบรรดาระบบนิเวศชายฝง เปนแหลง
อาศัย หากิน และอนุบาลตัวออนของสัตวทะเล นานาชนิด แนวปะการังจึงเปนแหลงที่มาของอาหาร
สารเคมีที่มีคุณคาทางการแพทยซึ่งพบในสัตวที่อาศัยในบริเวณแนวปะการัง รวมทั้งเปนแหลงรายไดจาก
การทําประมง การทองเที่ยว แมกระทั่งเปนแหลงกําเนิดของเม็ดทรายที่เกิดจากการสึกกรอนของ
โครงสรางหินปูน
การที่แนวปะการังเปนที่รูจักกันกวางขวางนั้นนาจะเปนเพราะความสวยงามของโครงสราง
หินปูนรูปทรงตาง ๆ ที่สรางสรรคจากตัวปะการังเล็ก ๆ ที่มองดวยตาเปลาแทบไมเห็น ประกอบกับสีสัน
ที่สวยงามรวมทั้งรูปรางที่ชวนใหพิศวงของสิ่งมีชีวิตนานาชนิดที่อาศัยอยูในแนวปะการัง ทําใหการ
ทองเที่ยวประเภทดําน้ํามีการขยายตัวขึ้นอยางรวดเร็วในแทบทุกบริเวณของโลกที่มีแนวปะการัง ไมเวน
แมในประเทศไทย ทําใหเกิดการขยายตัวของกิจกรรมการทองเที่ยวและกิจกรรมอื่น ๆ ที่ตอเนื่องจากการ
ทองเที่ยวที่ดึงดูดรายไดจากนักทองเที่ยวทั้งจากในและตางประเทศ แนวปะการังจึงนับเปนที่มาของ
รายไดอันมหาศาลแกผูประกอบการทั้งในระดับทองถิ่นไปจนถึงระดับประเทศ
รูปที่ 1 แนวปะการัง เปนระบบนิเวศในทะเลที่รวมความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในไวมากที่สุดแหงหนึ่ง
ความเสื่อมโทรมที่เกิดขึ้นกับแนวปะการัง
เมื่อการใชประโยชนจากแนวปะการังและพื้นที่ชายฝงเพื่อกิจกรรมตาง ๆ มีการขยายตัวขึ้น
แนนอนวาความเสื่อมโทรมที่เกิดขึ้นกับแนวปะการังยอมขยายตัวขึ้น ไมเพียงแตกิจกรรมการทองเที่ยว
เทานั้นที่สงผลตอความเสื่อมโทรมของแนวปะการัง การพัฒนาพื้นที่ชายฝง ไมวาจะเปนการสราง
โรงแรม รีสอรท ทาเทียบเรือ แมกระทั่งการตัดถนนเลียบชายฝง นับเปนสาเหตุหลักของการเสื่อมโทรม
ของแนวปะการังที่พบในประเทศไทยในปจจุบัน (รูปที่ 2) ทั้งนี้เนื่องจากกิจกรรมดังกลาวมีการรุกล้ํา
พื้นที่แนวปะการังโดยตรง รวมทั้งผลกระทบทางออมจากตะกอนและมลภาวะจากกิจกรรมเหลานั้น
สงผลใหแนวปะการังในประเทศไทยมากกวาครึ่งอยูในสภาพเสื่อมโทรม และยากที่จะฟนคืนสูสภาพเดิม
เนื่องจากกิจกรรมการกอสรางชายฝงนอกจากจะเปนการทําลายแนวปะการังโดยตรงแลว ยังทําให
สภาพแวดลอมที่เหมาะสมกับการดํารงชีวิตของปะการังพลอยสูญเสียไปดวย ทําใหแนวปะการังฟนตัวได
นอยมากหรือไมมีโอกาสเลย นอกจากกิจกรรมของมนุษยแลว ปจจัยธรรมชาติหลายประการไมวาจะเปน
พายุ คลื่นลม การระบาดของศัตรูตามธรรมชาติของปะการัง เชน ดาวมงกุฎหนาม (Acanthaster planci)
อุณหภูมิที่สูงขึ้นในฤดูรอน รวมทั้งสิ่งที่หลายฝายเริ่มตระหนักถึง คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
โลก ก็ยังเปนสาเหตุความของเสื่อมโทรมที่เกิดขึ้นกับแนวปะการัง ซึ่งความเสียหายที่เกิดจากธรรมชาติมัก
เกิดในพื้นที่กวางและไมสามารถควบคุมได ทําใหแนวปะการังในทะเลอันดามันกวา 50% อยูในสภาพ
เสื่อมโทรมถึงเสื่อมโทรมมาก ซึ่งหากการทําลายยังคงมีอยางตอเนื่อง โดยปราศจากการจัดการและฟนฟู
ใหกลับมามีสภาพดังเดิม แนวปะการังดังกลาวก็คงจะมีสภาพเสื่อมโทรมมากขึ้นตามลําดับจนไมสามารถ
อํานวยประโยชนดานตาง ๆ โดยเฉพาะการทองเที่ยวและการเปนแหลงอาศัยของสัตวน้ํา ซึ่งจะสงผล
ตอเนื่องถึงสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประชาชน
รูปที่ 2 การพัฒนาพื้นที่ชายฝงและการบุกรุกพื้นที่แนวปะการัง (ซาย) ทําใหแนวปะการังเสื่อมโทรมลง
ซึ่งสวนใหญมีสาเหตุจากตะกอน (ขวา)
การวิจัยดานการฟนฟูปะการังในทะเลอันดามัน
แนวปะการังในประเทศไทยกวาครึ่งจะอยูในสภาพไมดีนัก เนื่องมาจากสาเหตุตาง ๆ ดังที่กลาว
ขางตน แตก็ไดมีหลายฝายไดตระหนักถึงความสําคัญของแนวปะการัง รวมทั้งมีแนวความคิดที่จะฟนฟู
ทรัพยากรนี้ใหคงความอุดมสมบูรณตอไป และดวยเหตุนี้เองแนวคิดเรื่องการฟนฟูทรัพยากรปะการังจึง
ไดมีการดําเนินการศึกษาอยางจริงจังในจังหวัดภูเก็ตเมื่อ พ.ศ. 2537 โดยสถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากร
ทางทะเล ชายฝงทะเล และปาชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ซึ่งขณะนั้นยังเปนสถาบันวิจัย
ชีววิทยาทางทะเล ภายใตสังกัดกรมประมง
การศึกษาการฟนฟูปะการังที่ดําเนินการโดยสถาบันฯ สามารถแบงเปน 2 สวนหลักๆ คือ
1. การยายปลูกปะการัง ไดแกการยายปลูกปะการังเขากวาง (Acropora formosa Dana,
1846) และปะการังกอน (Porites lutea) (รูปที่ 3) พบวาการรอดและการเจริญเติบโตของปะการัง
ดังกลาวแตกตางกันไปขึ้นกับสภาพแวดลอมของแตละบริเวณที่ทําการศึกษา วิธีนี้เหมาะสมกับพื้นที่ที่
สิ่งแวดลอมเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของปะการังแตยังขาดตัวออนหรือเศษของปะการังที่มีชีวิตที่จะ
สามารถเติบโตตอไปในบริเวณนั้น นอกจากนี้ยังไดทําศึกษาการฟนตัวของปะการังเขากวางในบริเวณที่
ใชเปนแหลงพันธุ ซึ่งพบวาหากไมยายปะการังทั้งโคโลนีออกในปริมาณที่มากเกินไป ปะการังที่เปน
แหลงพันธุจะสามารถฟนตัวไดในเวลาไมนาน (นลินี และคณะ 2546) การยายปลูกปะการังเหมาะกับ
บริเวณที่จะมีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่แนวปะการังเชนการสรางสะพาน ทาเทียบเรือ จึงจําเปนจะตองยาย
ปะการังออกจากบริเวณที่จะไดรับผลกระทบจากกิจกรรมดังกลาว นอกจากนี้ยังเปนการยายปะการังจาก
บริเวณที่มีแหลงพันธุปะการังสมบูรณ ซึ่งโดยทั่วไปมีเพียงไมกี่ชนิดที่มีความทนทานตอการยายและ
เจริญเติบโตไดอยางรวดเร็ว ลงในพื้นที่ที่ตองการฟนฟูอยางรวดเร็วและเห็นผลชัดเจนในเวลาสั้น ๆ
บริเวณที่ยายปลูกจะตองมีสภาพพื้นที่และสิ่งแวดลอมเหมาะสมแกการเจริญเติบโตของปะการัง แตการ
ยายปะการังเพียงชนิดใดชนิดหนึ่งทําใหสังคมปะการังที่เกิดขึ้นประกอบดวยปะการังที่ทําการยายเพียง
ชนิดเดียว แตกตางกับแนวปะการังที่มีอยูตามธรรมชาติซึ่งจะมีปะการังหลายชนิดขึ้นอยูปะปนกัน
กอใหเกิดเปนสังคมปะการังที่ซับซอน การดําเนินการจึงควรมีการศึกษาและดําเนินการอยางรอบคอบ
รูปที่ 3 การศึกษาการยายปลูกปะการังเขากวางและปะการังกอน
2. การจัดวางพื้นที่ลงเกาะสําหรับตัวออนปะการัง ซึ่งมีลักษณะเปนคอนกรีตรูปทรงตางๆ วิธีนี้
เหมาะกับบริเวณที่ขาดพื้นที่ที่มั่นคงสําหรับตัวออนปะการังในธรรมชาติที่จะลงเกาะและเจริญเติบโต
และพบวาพื้นที่ลงเกาะที่มีความซับซอนมากจะมีจํานวนโคโลนีของปะการังที่ลงเกาะมากกวาพื้นที่ที่มี
ความซับซอนนอย (Thongtham and Chansang, 1999)โดยเริ่มสังเกตเห็นตัวออนที่ลงเกาะบนแทง
คอนกรีตหลังจากวางไวนานประมาณ 18 เดือน ทั้งนี้ขึ้นกับสิ่งแวดลอม ปริมาณตัวออนที่มีในธรรมชาติ
ชนิดของวัสดุและลักษณะพื้นผิวของพื้นที่ที่ใชเปนที่ลงเกาะ วิธีนี้เห็นผลคอนขางชา มีคาใชจายในการ
ดําเนินการสูง ชนิดและจํานวนปะการังที่ลงเกาะจะแตกตางกันไปในแตละพื้นที่ ดังนั้นการฟนฟูโดยวิธีนี้
จําเปนจะตองศึกษาปจจัยสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวของกับการเจริญเติบโตของปะการัง รูปรางของพื้นที่ลงเกาะ
ที่เหมาะสม รวมทั้งสภาพคลื่นลมและพื้นทองทะเลบริเวณที่จะจัดวางมากพอสมควร เพื่อใหการฟนฟู
ประสบผลสูงสุด (รูปที่ 4)
ปจจุบันไดมีการพัฒนาเทคนิคและรูปแบบการฟนฟูปะการังใหมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น
เพื่อใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และเพื่อใหการดําเนินงานประสบผลสําเร็จสูงสุด เชน การสรางแปลง
อนุบาลปะการังกอนการยายปลูก การยายปลูกปะการังชนิดและขนาดตาง ๆ กัน การพัฒนารูปทรงและ
พื้นผิวของพื้นที่ลงเกาะของตัวออนปะการัง
การศึกษาวิจัยดานการฟนฟูแนวปะการังของสถาบันฯ ยังคงดําเนินตอไปโดยมีการพัฒนาขึ้นเปน
ลําดับโดยมีวัตถุประสงคเพื่อหาเทคนิควิธีการฟนฟูปะการังใหม ๆ ที่รบกวนแหลงพันธุธรรมชาตินอย
ที่สุด รวมทั้งลดตนทุนและเพิ่มประสิทธิภาพในการฟนฟูปะการังโดยวิธีที่เหมาะสมภายใตหลักวิชาการ
ที่ไดรับการยอมรับในระดับนานาชาติ และถายทอดผลจากงานวิจัยดังกลาวไปยังหนวยงานในภาคปฏิบัติ
นอกจากการศึกษาวิจัยโดยนักวิชาการของสถาบันฯ แลว สถาบันฯ ยังดําเนินโครงการรวมกับ
นักวิจัยตางประเทศภายใตโครงการความรวมมือระหวางประเทศดานการฟนฟูปะการัง (Developing
รูปที่ 4 การฟนฟูแนวปะการังเสื่อมโทรม (ซาย) โดยการสรางพื้นที่ลงเกาะ (กลาง)ใหกับตัวออนปะการัง
จนกระทั่งมีสภาพคลายแนวปะการังธรรมชาติในที่สุด (ขวา)
Ubiquitous Practices for Restoration of Indo-Pacific Reefs, REEFRES) ซึ่งไดรับความ
สนับสนุนดานงบประมาณจากสหภาพยุโรป เริ่มเมื่อ พ.ศ. 2548 เปนเวลา 4 ป มีประเทศที่เขารวม
โครงการ 6 ประเทศ ไดแก ไทย สิงคโปร ฟลิปปนส อิสราเอล อังกฤษ และอิตาลี มีวัตถุประสงคเพื่อ
รวมกันศึกษาหาวิธีการฟนฟูปะการังที่มีประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้งถายทอดและแลกเปลี่ยนความรูทาง
วิชาการในกลุมผูศึกษาและดําเนินกิจกรรมฟนฟูปะการังในประเทศตาง ๆ จากการทํางานวิจัยใน
โครงการดังกลาวทําใหความรูดานการฟนฟูปะการังของไทยพัฒนาไปอยางมาก โดยขณะนี้ไดนําเอา
แนวคิดจากการศึกษารวมกับนักวิทยาศาสตรอิสราเอล ในการนําชิ้นปะการังขนาดเล็ก มาอนุบาลใน
กระชังกลางน้ําในบริเวณที่เหมาะสม จนมีขนาดใหญพอที่จะเคลื่อนยายไปในบริเวณที่ตองการฟนฟูแนว
ปะการัง (รูปที่ 5) ทําใหไมตองใชปะการังจากธรรมชาติจํานวนมากในการฟนฟูอีกตอไป (Shaish et al.,
2008; Putchim et al., in prep.) นอกจากนี้ยังใชความรูทางวิชาการดานตาง ๆ เชน พันธุศาสตร และ
นิเวศวิทยามาชวยเสริมใหการฟนฟูแนวปะการังประสบผลยิ่งขึ้น
รูปที่ 5 งานวิจัยดานการอนุบาลปะการังในแปลงอนุบาล (บน) การนําปะการังจากแปลงอนุบาลมายาย
ปลูกในแนวปะการังเสื่อมโทรม (ลางซาย) และปะการังที่ยายปลูกเปนเวลา 3 ป (ลางขวา) ซึ่งสถาบันฯ
ดําเนินการภายใตโครงการความรวมมือระหวางประเทศดานการฟนฟูปะการัง (REEFRES)
สนับสนุนโดยสหภาพยุโรป
ผลจากการศึกษาวิจัยสูการปฏิบัติ
สถาบัน ฯ ไดนําผลจากการศึกษาวิจัยไปใชในงานดานการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน
ในการฟนฟูแนวปะการัง เชน การดําเนินโครงการฟนฟูปะการังบริเวณหมูเกาะพีพี จังหวัดกระบี่ ซึ่งเปน
กิจกรรมที่สงเสริมการมีสวนรวมของผูใชประโยชนจากแนวปะการัง โดยเฉพาะนักดําน้ําและผูประกอบ
กิจการดําน้ําในการอนุรักษและฟนฟูแนวปะการัง นอกจากนี้สถาบันฯ ยังเปนหนวยงานหลักในการ
เผยแพรความรูและหาแนวทางในการฟนฟูปะการังไปยังนักวิชาการและนักวิจัยในสวนราชการและ
มหาวิทยาลัยตาง ๆ ที่มีการดําเนินกิจกรรมและวิจัยดานการฟนฟูปะการังทั่วประเทศ ซึ่งในป 2549ไดมี
การประชุมถายทอดความรูจากการศึกษาวิจัยของนักวิชาการทั้งในและตางประเทศ รวมทั้งจัดสัมมนา
ระดมความคิดเห็นในการพัฒนาการศึกษาวิจัยและแนวทางในการจัดการฟนฟูปะการังของประเทศไทย
นอกจากนี้สถาบันฯ ยังทําหนาที่โดยการจัดโครงการฝกอบรมใหความรูแกกลุมเปาหมายตางๆ เชน
นักเรียน ครู ชาวประมง ผูประกอบการทองเที่ยว มีจัดนิทรรศการใหความรูในโอกาสตาง ๆ ดําเนิน
กิจกรรมรวมกันระหวางนักดําน้ําอาสาสมัครและเจาหนาที่ภาครัฐ เชน การเก็บขยะใตทะเล การปลูก
ปะการังในพื้นที่ที่เหมาะสม (รูปที่ 6)
รูปที่ 6 กิจกรรมตาง ๆ ที่จัดขึ้นเพื่อใหความรูและสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการอนุรักษ
ฟนฟูและปกปองทรัพยากรปะการัง
การจัดการเพื่อปองกันความเสื่อมโทรมของแนวปะการัง
การเขาฟนฟูแนวปะการังโดยมนุษยไมใชวิธีการหลักสําหรับการแกปญหาความเสื่อมโทรมของ
แนวปะการัง เนื่องจากพื้นที่แนวปะการังมีกวางมาก ตองใชตนทุนคาใชจายสูง ใชระยะเวลาดําเนินการ
คอนขางนานกวาจะเห็นผล และไมมีวิธีการฟนฟูมาตรฐานที่ใชไดสําหรับทุกพื้นที่ ซึ่งหากใชวิธีการที่ไม
เหมาะสมกับพื้นที่แตละแหงจะกลับเปนการเพิ่มความเสื่อมโทรมใหกับแนวปะการังนั้น ๆ การดําเนินการ
ฟนฟูสภาพปะการังจําเปนจะตองพิจารณาถึงลักษณะพื้นที่ สภาพสิ่งแวดลอมที่มีผลตอการเจริญเติบโต
ของปะการัง กิจกรรมของมนุษยที่อาจเขาไปรบกวนการฟนตัวหรือการดํารงชีวิตของแนวปะการัง
ปริมาณตัวออน โคโลนีปะการังหรือกิ่งพันธุที่เหลือรอดจากการถูกทําลาย เพื่อวิเคราะหถึงศักยภาพใน
การฟนตัวตามธรรมชาติของแนวปะการังบริเวณนั้น ๆ ซึ่งหากปจจัยตาง ๆ ที่กลาวมาอํานวยแกการ
ดํารงชีวิตของปะการังแลว แนวปะการังในบริเวณนั้นจะมีความเปนไปไดสูงในการฟนตัวตามธรรมชาติ
โดยที่มนุษยไมจําเปนตองเขาไปดําเนินการแตอยางใด หรืออาจเพียงแตควบคุมหรือจัดการพื้นที่ไมใหมี
กิจกรรมใด ๆ เขาไปรบกวนการฟนตัวตามธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นในแนวปะการังนั้น ๆ ก็เปนการเพียงพอ
แลว สิ่งที่สําคัญที่สุดคือการปองกันหรือลดความเสื่อมโทรมของแนวปะการังซึ่งเกิดจากสาเหตุตาง ๆ
โดยการจัดการ เชน การแบงเขตการใชประโยชนในแนวปะการัง การควบคุมจํานวนนักทองเที่ยวและ
กิจกรรมการทองเที่ยวใหเหมาะสมกับสภาพปะการังในแตละพื้นที่ การวางทุนจอดเรือเพื่อลดการทิ้งสมอ
ลงในแนวปะการัง การกําหนดมาตรการและควบคุมกิจกรรมพัฒนาชายฝงที่สงผลกระทบตอแนว
ปะการังอยางเครงครัด การใหความรูดานการอนุรักษและสงเสริมการมีสวนรวมในการอนุรักษและฟนฟู
ทรัพยากรใหแกประชาชน ดูจะเปนวิธีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพที่สุดในการอนุรักษทรัพยากรนี้
เอกสารอางอิง
นลินี ทองแถม ไพทูล แพนชัยภูมิ และสมหญิง พวงประสาน. 2546. การฟนฟูแนวปะการังในทะเลอันดา-
มันของประเทศไทย. เอกสารเผยแพร ลําดับที่ 1 สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและ
ชายฝง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง 32 หนา
Putchim L., N. Thongtham, A. Hewett and H.Chansang. Survival and growth of Acropora
spp. in mid-water nursery and after transplantation at Phi Phi Island, Krabi,
Thailand. Submitted to 11th
ICRS Proceedings, Fort Lauderdale, Florida USA.
Shaish, L., G. Levy, E. Gomez and B. Rinkevich. 2008. Fixed and suspended coral
nurseries in the Philippines: Establishing the first step in the “gardening concept”
of reef restoration. J. Exp. Mar. Biol. Ecol. 358:86-97.
Thongtham, N. and H. Chansang. 1999. Influence of surface complexity on coral
recruitment at Maiton Island, Phuket, Thailand. Phuket Marine Biological Center
Special Publication 20: 93-100.

More Related Content

Similar to Book20110408103212

รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดAuraphin Phetraksa
 
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยคู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยUtai Sukviwatsirikul
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาyah2527
 
ศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรJaae Watcharapirak
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservationaunun
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรังT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรังAuraphin Phetraksa
 
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูลเปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูลyah2527
 
โครงการ การประมง
โครงการ การประมงโครงการ การประมง
โครงการ การประมงmoemon12
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวAuraphin Phetraksa
 
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docxโครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docxKamontip Jiruksa
 
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing1+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f32-1page
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing1+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f32-1pageHua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing1+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f32-1page
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing1+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f32-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing2+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f33-1page
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing2+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f33-1pageHua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing2+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f33-1page
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing2+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f33-1pagePrachoom Rangkasikorn
 
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing1+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f32-4page
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing1+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f32-4pageHua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing1+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f32-4page
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing1+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f32-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing2+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f33-4page
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing2+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f33-4pageHua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing2+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f33-4page
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing2+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f33-4pagePrachoom Rangkasikorn
 
ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทยbabyoam
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการประมง
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการประมงโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการประมง
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการประมงbluezbens
 

Similar to Book20110408103212 (20)

รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาดการเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
การเปลี่ยนแปลงสภาพชายหาด
 
โลกดึกดำบรรพ์โคราช
โลกดึกดำบรรพ์โคราชโลกดึกดำบรรพ์โคราช
โลกดึกดำบรรพ์โคราช
 
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทยคู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
คู่มือการจำแนกชนิดสัตว์ทะเล เลี้ยงลูกด้วยนมและเต่าทะเลในประเทศไทย
 
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตาแผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
แผนยุทธศาสตร์ระบบนิเวศทางทะเล อุทยานแห่งชาติตะรุเตา
 
ศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพรศูนย์ชุมพร
ศูนย์ชุมพร
 
Sea turtles preservation
Sea turtles preservationSea turtles preservation
Sea turtles preservation
 
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรังT-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
T-FERN ศูนย์นวัตกรรมอุทยานแห่งชาติและพื้นที่คุ้มครอง จังหวัดตรัง
 
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูลเปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
เปิดตัวกองทุนรีฟการ์เดียน จังหวัดสตูล
 
โครงการ การประมง
โครงการ การประมงโครงการ การประมง
โครงการ การประมง
 
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาวโครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
โครงการติดตามการฟื้นตัวและการจัดการปะการังฟอกขาว
 
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docxโครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
โครงงานการงานอาชีพ บทที่1.docx
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
ภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอกภูมิปัญญาบางกอก
ภูมิปัญญาบางกอก
 
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing1+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f32-1page
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing1+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f32-1pageHua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing1+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f32-1page
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing1+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f32-1page
 
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing2+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f33-1page
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing2+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f33-1pageHua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing2+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f33-1page
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing2+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f33-1page
 
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing1+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f32-4page
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing1+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f32-4pageHua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing1+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f32-4page
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing1+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f32-4page
 
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing2+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f33-4page
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing2+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f33-4pageHua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing2+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f33-4page
Hua-Hin on Sea+Hua-Hin Sightseeing2+ป.2+122+dltvengp2+54en p02 f33-4page
 
ประเพณีไทย
ประเพณีไทยประเพณีไทย
ประเพณีไทย
 
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการประมง
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการประมงโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการประมง
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริด้านการประมง
 

More from Nichaphat Sanguthai

ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Nichaphat Sanguthai
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมNichaphat Sanguthai
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังNichaphat Sanguthai
 
2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็มNichaphat Sanguthai
 
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvkNichaphat Sanguthai
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง Nichaphat Sanguthai
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองNichaphat Sanguthai
 
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6Nichaphat Sanguthai
 
แบบสำรวจตัวเอง
แบบสำรวจตัวเองแบบสำรวจตัวเอง
แบบสำรวจตัวเองNichaphat Sanguthai
 

More from Nichaphat Sanguthai (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
ปลาตีน
ปลาตีนปลาตีน
ปลาตีน
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการัง
 
Yoga
YogaYoga
Yoga
 
2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
04 017 p51
04 017 p5104 017 p51
04 017 p51
 
Kc4104041
Kc4104041Kc4104041
Kc4104041
 
24
2424
24
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง
 
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
 
Thanakritsomrit
ThanakritsomritThanakritsomrit
Thanakritsomrit
 
แบบสำรวจตัวเอง
แบบสำรวจตัวเองแบบสำรวจตัวเอง
แบบสำรวจตัวเอง
 

Book20110408103212

  • 1. การฟนฟูปะการังในฝงทะเลอันดามัน นลินี ทองแถม สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลชายฝงทะเล และปาชายเลน ตู ป.ณ. 60 อ. เมือง จ. ภูเก็ต บทคัดยอ การศึกษาเรื่องการฟนฟูแนวปะการังเสื่อมโทรมในประเทศไทยทางฝงทะเลอันดามัน เริ่มขึ้นโดย กลุมนิเวศวิทยาทางทะเล สถาบันวิจัยชีววิทยาและประมงทะเล กรมประมง เมื่อ พ.ศ. 2537 ที่จังหวัดภูเก็ต (ปจจุบันคือกลุมชีววิทยาและนิเวศวิทยาทางทะเลและชายฝง สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเล และชายฝง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง) การศึกษาชวงเริ่มตนประกอบดวยการศึกษาความ เหมาะสมของรูปรางและความซับซอนของแทงคอนกรีตที่ใชเปนพื้นที่ลงเกาะสําหรับตัวออนปะการังใน ธรรมชาติ การหาวิธีและเทคนิคที่เหมาะสมในการยายปลูกปะการังชนิดตาง ๆ รวมทั้งการศึกษาผลของ การยายปะการังออกจากพื้นที่ที่เปนแหลงพันธุ โดยเริ่มดําเนินการทดลองที่เกาะไมทอน จังหวัดภูเก็ต การศึกษาไดถูกปรับปรุงพัฒนามาอยางตอเนื่องจากทั้งนักวิจัยของสถาบัน ฯ และการดําเนินงานรวมกับ นักวิจัยตางประเทศ และไดนําวิธีการไปใชพื้นฟูแนวปะการังในหลายพื้นที่ที่มีความเหมาะสม กิจกรรมฟนฟูปะการังที่ดําเนินการโดยสถาบัน ฯ สวนใหญเปนในลักษณะของงานวิจัยโดยมี วัตถุประสงคเพื่อหาเทคนิควิธีการฟนฟูปะการังใหม ๆ ที่รบกวนแหลงพันธุธรรมชาตินอยที่สุด โดยมี อัตรารอดสูงสุดและใชตนทุนต่ําที่สุด โดยเปนแนวทางที่เหมาะสมภายใตหลักวิชาการที่ไดรับการ ยอมรับในระดับนานาชาติ รวมทั้งดําเนินการถายทอดผลจากงานวิจัยไปยังหนวยงานในภาคปฏิบัติ นอกจากนี้สถาบัน ฯ ยังไดนําผลจากการศึกษาวิจัยไปใชในงานดานการสงเสริมการมีสวนรวม ของประชาชนในการฟนฟูแนวปะการัง และเปนหนวยงานหลักในการเผยแพรความรูและหาแนวทางใน การฟนฟูปะการังไปยังนักวิชาการและนักวิจัยในสวนราชการและมหาวิทยาลัยตาง ๆ ที่มีการดําเนิน กิจกรรมและวิจัยดานการฟนฟูปะการังทั่วประเทศ นอกจากนี้สถาบัน ฯ ยังดําเนินโครงการฝกอบรมให ความรูและดําเนินกิจกรรมอนุรักษรวมกับกลุมเปาหมายตาง ๆ คําสําคัญ: ฟนฟูปะการัง แนวปะการัง
  • 2. CORAL REHABILITATION ACTIVITIES IN THE ANDAMAN COAST OF THAILAND Nalinee Thongtham Phuket Marine Biological Center, P.O. Box 60, Phuket 83000, Thailand ABSTRACT The study on coral reef rehabilitation in the Andaman coast of Thailand was initiated by the Marine and Coastal Biology and Ecology Unit of the Phuket Marine Biological Center (PMBC) in 1994. The study was conducted at Maiton Island in Phuket province; it now serves as PMBC’s demonstration site for coral rehabilitation study. Objectives of the study are to discover effective methods to rehabilitate degraded coral reefs in Thai waters and to disseminate the knowledge got from the project to other organizations. In the beginning of the project, two research schemes were employed. First, the provision of artificial substrate for natural coral recruitment, using different shapes of concrete cylinders to test their relative effectiveness in enhancing the natural recruitment of corals. The number of colonies and the percentage and diversity of surviving corals were significantly higher on the high-complexity artificial substrates than on the less complex ones. The second scheme was the transplantation of different species of coral. The survival and the growth rate of transplanted coral depend on various environmental factors, e.g. current, sedimentation, suspended solid, type of substrate, and the absence of grazers. The results and the techniques from both studies are now widely used for coral rehabilitation in the Andaman coast of Thailand. The PMBC also hosted several meetings to disseminate the concept of coral rehabilitation; to provide a forum for scientists to share and exchange knowledge, ideas and experiences; and to brainstorm ideas on criteria to be followed in restoration of coral reefs in Thai waters. We disseminate knowledge, through posters, lectures and exhibitions, on coral biology and marine conservation to increase awareness of the importance of coral reefs, and to activate public participation in coral reef protection and conservation. Key words: coral; coral rehabilitation; Andaman Sea
  • 3. ปะการังคืออะไรและประโยชนของแนวปะการัง ปะการัง เปนสัตวทะเลไมมีกระดูกสันหลังขนาดเล็ก กลุมใกลเคียงกับดอกไมทะเล ปะการังที่ รูจักกันทั่วไปมีลักษณะพิเศษ คือ สามารถสรางโครงสรางหินปูนขึ้นมาเปนที่อยูของปะการังแตละตัว โครงสรางหินปูนเหลานี้มีรูปทรงแตกตางกันไปตามชนิดของปะการัง โดยทั่วไปแลวปะการังจะอยู รวมกันเปนกลุมและมีการเชื่อมตอของโครงสรางหินปูน ซึ่งเรียกวาแนวปะการัง (รูปที่ 1) นานน้ําไทยมี ปะการังที่มีการจําแนกชื่อแลวประมาณ 260 ชนิด โดยทะเลอันดามันเปนบริเวณที่มีความหลากหลายของ ชนิดปะการังสูงเมื่อเทียบกับฝงอาวไทย แนวปะการังเปนแหลงที่อยู หากิน เลี้ยงตัวออนของสัตวทะเลนานาชนิด เปนอาณาจักรที่รวม ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในทะเลเอาไวมากที่สุดแหงหนึ่งในบรรดาระบบนิเวศชายฝง เปนแหลง อาศัย หากิน และอนุบาลตัวออนของสัตวทะเล นานาชนิด แนวปะการังจึงเปนแหลงที่มาของอาหาร สารเคมีที่มีคุณคาทางการแพทยซึ่งพบในสัตวที่อาศัยในบริเวณแนวปะการัง รวมทั้งเปนแหลงรายไดจาก การทําประมง การทองเที่ยว แมกระทั่งเปนแหลงกําเนิดของเม็ดทรายที่เกิดจากการสึกกรอนของ โครงสรางหินปูน การที่แนวปะการังเปนที่รูจักกันกวางขวางนั้นนาจะเปนเพราะความสวยงามของโครงสราง หินปูนรูปทรงตาง ๆ ที่สรางสรรคจากตัวปะการังเล็ก ๆ ที่มองดวยตาเปลาแทบไมเห็น ประกอบกับสีสัน ที่สวยงามรวมทั้งรูปรางที่ชวนใหพิศวงของสิ่งมีชีวิตนานาชนิดที่อาศัยอยูในแนวปะการัง ทําใหการ ทองเที่ยวประเภทดําน้ํามีการขยายตัวขึ้นอยางรวดเร็วในแทบทุกบริเวณของโลกที่มีแนวปะการัง ไมเวน แมในประเทศไทย ทําใหเกิดการขยายตัวของกิจกรรมการทองเที่ยวและกิจกรรมอื่น ๆ ที่ตอเนื่องจากการ ทองเที่ยวที่ดึงดูดรายไดจากนักทองเที่ยวทั้งจากในและตางประเทศ แนวปะการังจึงนับเปนที่มาของ รายไดอันมหาศาลแกผูประกอบการทั้งในระดับทองถิ่นไปจนถึงระดับประเทศ รูปที่ 1 แนวปะการัง เปนระบบนิเวศในทะเลที่รวมความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตในไวมากที่สุดแหงหนึ่ง
  • 4. ความเสื่อมโทรมที่เกิดขึ้นกับแนวปะการัง เมื่อการใชประโยชนจากแนวปะการังและพื้นที่ชายฝงเพื่อกิจกรรมตาง ๆ มีการขยายตัวขึ้น แนนอนวาความเสื่อมโทรมที่เกิดขึ้นกับแนวปะการังยอมขยายตัวขึ้น ไมเพียงแตกิจกรรมการทองเที่ยว เทานั้นที่สงผลตอความเสื่อมโทรมของแนวปะการัง การพัฒนาพื้นที่ชายฝง ไมวาจะเปนการสราง โรงแรม รีสอรท ทาเทียบเรือ แมกระทั่งการตัดถนนเลียบชายฝง นับเปนสาเหตุหลักของการเสื่อมโทรม ของแนวปะการังที่พบในประเทศไทยในปจจุบัน (รูปที่ 2) ทั้งนี้เนื่องจากกิจกรรมดังกลาวมีการรุกล้ํา พื้นที่แนวปะการังโดยตรง รวมทั้งผลกระทบทางออมจากตะกอนและมลภาวะจากกิจกรรมเหลานั้น สงผลใหแนวปะการังในประเทศไทยมากกวาครึ่งอยูในสภาพเสื่อมโทรม และยากที่จะฟนคืนสูสภาพเดิม เนื่องจากกิจกรรมการกอสรางชายฝงนอกจากจะเปนการทําลายแนวปะการังโดยตรงแลว ยังทําให สภาพแวดลอมที่เหมาะสมกับการดํารงชีวิตของปะการังพลอยสูญเสียไปดวย ทําใหแนวปะการังฟนตัวได นอยมากหรือไมมีโอกาสเลย นอกจากกิจกรรมของมนุษยแลว ปจจัยธรรมชาติหลายประการไมวาจะเปน พายุ คลื่นลม การระบาดของศัตรูตามธรรมชาติของปะการัง เชน ดาวมงกุฎหนาม (Acanthaster planci) อุณหภูมิที่สูงขึ้นในฤดูรอน รวมทั้งสิ่งที่หลายฝายเริ่มตระหนักถึง คือ การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ โลก ก็ยังเปนสาเหตุความของเสื่อมโทรมที่เกิดขึ้นกับแนวปะการัง ซึ่งความเสียหายที่เกิดจากธรรมชาติมัก เกิดในพื้นที่กวางและไมสามารถควบคุมได ทําใหแนวปะการังในทะเลอันดามันกวา 50% อยูในสภาพ เสื่อมโทรมถึงเสื่อมโทรมมาก ซึ่งหากการทําลายยังคงมีอยางตอเนื่อง โดยปราศจากการจัดการและฟนฟู ใหกลับมามีสภาพดังเดิม แนวปะการังดังกลาวก็คงจะมีสภาพเสื่อมโทรมมากขึ้นตามลําดับจนไมสามารถ อํานวยประโยชนดานตาง ๆ โดยเฉพาะการทองเที่ยวและการเปนแหลงอาศัยของสัตวน้ํา ซึ่งจะสงผล ตอเนื่องถึงสภาพเศรษฐกิจและสังคมของประชาชน รูปที่ 2 การพัฒนาพื้นที่ชายฝงและการบุกรุกพื้นที่แนวปะการัง (ซาย) ทําใหแนวปะการังเสื่อมโทรมลง ซึ่งสวนใหญมีสาเหตุจากตะกอน (ขวา)
  • 5. การวิจัยดานการฟนฟูปะการังในทะเลอันดามัน แนวปะการังในประเทศไทยกวาครึ่งจะอยูในสภาพไมดีนัก เนื่องมาจากสาเหตุตาง ๆ ดังที่กลาว ขางตน แตก็ไดมีหลายฝายไดตระหนักถึงความสําคัญของแนวปะการัง รวมทั้งมีแนวความคิดที่จะฟนฟู ทรัพยากรนี้ใหคงความอุดมสมบูรณตอไป และดวยเหตุนี้เองแนวคิดเรื่องการฟนฟูทรัพยากรปะการังจึง ไดมีการดําเนินการศึกษาอยางจริงจังในจังหวัดภูเก็ตเมื่อ พ.ศ. 2537 โดยสถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากร ทางทะเล ชายฝงทะเล และปาชายเลน กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง ซึ่งขณะนั้นยังเปนสถาบันวิจัย ชีววิทยาทางทะเล ภายใตสังกัดกรมประมง การศึกษาการฟนฟูปะการังที่ดําเนินการโดยสถาบันฯ สามารถแบงเปน 2 สวนหลักๆ คือ 1. การยายปลูกปะการัง ไดแกการยายปลูกปะการังเขากวาง (Acropora formosa Dana, 1846) และปะการังกอน (Porites lutea) (รูปที่ 3) พบวาการรอดและการเจริญเติบโตของปะการัง ดังกลาวแตกตางกันไปขึ้นกับสภาพแวดลอมของแตละบริเวณที่ทําการศึกษา วิธีนี้เหมาะสมกับพื้นที่ที่ สิ่งแวดลอมเหมาะสมตอการเจริญเติบโตของปะการังแตยังขาดตัวออนหรือเศษของปะการังที่มีชีวิตที่จะ สามารถเติบโตตอไปในบริเวณนั้น นอกจากนี้ยังไดทําศึกษาการฟนตัวของปะการังเขากวางในบริเวณที่ ใชเปนแหลงพันธุ ซึ่งพบวาหากไมยายปะการังทั้งโคโลนีออกในปริมาณที่มากเกินไป ปะการังที่เปน แหลงพันธุจะสามารถฟนตัวไดในเวลาไมนาน (นลินี และคณะ 2546) การยายปลูกปะการังเหมาะกับ บริเวณที่จะมีการเปลี่ยนแปลงพื้นที่แนวปะการังเชนการสรางสะพาน ทาเทียบเรือ จึงจําเปนจะตองยาย ปะการังออกจากบริเวณที่จะไดรับผลกระทบจากกิจกรรมดังกลาว นอกจากนี้ยังเปนการยายปะการังจาก บริเวณที่มีแหลงพันธุปะการังสมบูรณ ซึ่งโดยทั่วไปมีเพียงไมกี่ชนิดที่มีความทนทานตอการยายและ เจริญเติบโตไดอยางรวดเร็ว ลงในพื้นที่ที่ตองการฟนฟูอยางรวดเร็วและเห็นผลชัดเจนในเวลาสั้น ๆ บริเวณที่ยายปลูกจะตองมีสภาพพื้นที่และสิ่งแวดลอมเหมาะสมแกการเจริญเติบโตของปะการัง แตการ ยายปะการังเพียงชนิดใดชนิดหนึ่งทําใหสังคมปะการังที่เกิดขึ้นประกอบดวยปะการังที่ทําการยายเพียง ชนิดเดียว แตกตางกับแนวปะการังที่มีอยูตามธรรมชาติซึ่งจะมีปะการังหลายชนิดขึ้นอยูปะปนกัน กอใหเกิดเปนสังคมปะการังที่ซับซอน การดําเนินการจึงควรมีการศึกษาและดําเนินการอยางรอบคอบ รูปที่ 3 การศึกษาการยายปลูกปะการังเขากวางและปะการังกอน
  • 6. 2. การจัดวางพื้นที่ลงเกาะสําหรับตัวออนปะการัง ซึ่งมีลักษณะเปนคอนกรีตรูปทรงตางๆ วิธีนี้ เหมาะกับบริเวณที่ขาดพื้นที่ที่มั่นคงสําหรับตัวออนปะการังในธรรมชาติที่จะลงเกาะและเจริญเติบโต และพบวาพื้นที่ลงเกาะที่มีความซับซอนมากจะมีจํานวนโคโลนีของปะการังที่ลงเกาะมากกวาพื้นที่ที่มี ความซับซอนนอย (Thongtham and Chansang, 1999)โดยเริ่มสังเกตเห็นตัวออนที่ลงเกาะบนแทง คอนกรีตหลังจากวางไวนานประมาณ 18 เดือน ทั้งนี้ขึ้นกับสิ่งแวดลอม ปริมาณตัวออนที่มีในธรรมชาติ ชนิดของวัสดุและลักษณะพื้นผิวของพื้นที่ที่ใชเปนที่ลงเกาะ วิธีนี้เห็นผลคอนขางชา มีคาใชจายในการ ดําเนินการสูง ชนิดและจํานวนปะการังที่ลงเกาะจะแตกตางกันไปในแตละพื้นที่ ดังนั้นการฟนฟูโดยวิธีนี้ จําเปนจะตองศึกษาปจจัยสิ่งแวดลอมที่เกี่ยวของกับการเจริญเติบโตของปะการัง รูปรางของพื้นที่ลงเกาะ ที่เหมาะสม รวมทั้งสภาพคลื่นลมและพื้นทองทะเลบริเวณที่จะจัดวางมากพอสมควร เพื่อใหการฟนฟู ประสบผลสูงสุด (รูปที่ 4) ปจจุบันไดมีการพัฒนาเทคนิคและรูปแบบการฟนฟูปะการังใหมีความหลากหลายมากยิ่งขึ้น เพื่อใหเหมาะสมกับสภาพพื้นที่ และเพื่อใหการดําเนินงานประสบผลสําเร็จสูงสุด เชน การสรางแปลง อนุบาลปะการังกอนการยายปลูก การยายปลูกปะการังชนิดและขนาดตาง ๆ กัน การพัฒนารูปทรงและ พื้นผิวของพื้นที่ลงเกาะของตัวออนปะการัง การศึกษาวิจัยดานการฟนฟูแนวปะการังของสถาบันฯ ยังคงดําเนินตอไปโดยมีการพัฒนาขึ้นเปน ลําดับโดยมีวัตถุประสงคเพื่อหาเทคนิควิธีการฟนฟูปะการังใหม ๆ ที่รบกวนแหลงพันธุธรรมชาตินอย ที่สุด รวมทั้งลดตนทุนและเพิ่มประสิทธิภาพในการฟนฟูปะการังโดยวิธีที่เหมาะสมภายใตหลักวิชาการ ที่ไดรับการยอมรับในระดับนานาชาติ และถายทอดผลจากงานวิจัยดังกลาวไปยังหนวยงานในภาคปฏิบัติ นอกจากการศึกษาวิจัยโดยนักวิชาการของสถาบันฯ แลว สถาบันฯ ยังดําเนินโครงการรวมกับ นักวิจัยตางประเทศภายใตโครงการความรวมมือระหวางประเทศดานการฟนฟูปะการัง (Developing รูปที่ 4 การฟนฟูแนวปะการังเสื่อมโทรม (ซาย) โดยการสรางพื้นที่ลงเกาะ (กลาง)ใหกับตัวออนปะการัง จนกระทั่งมีสภาพคลายแนวปะการังธรรมชาติในที่สุด (ขวา)
  • 7. Ubiquitous Practices for Restoration of Indo-Pacific Reefs, REEFRES) ซึ่งไดรับความ สนับสนุนดานงบประมาณจากสหภาพยุโรป เริ่มเมื่อ พ.ศ. 2548 เปนเวลา 4 ป มีประเทศที่เขารวม โครงการ 6 ประเทศ ไดแก ไทย สิงคโปร ฟลิปปนส อิสราเอล อังกฤษ และอิตาลี มีวัตถุประสงคเพื่อ รวมกันศึกษาหาวิธีการฟนฟูปะการังที่มีประสิทธิภาพสูงสุด รวมทั้งถายทอดและแลกเปลี่ยนความรูทาง วิชาการในกลุมผูศึกษาและดําเนินกิจกรรมฟนฟูปะการังในประเทศตาง ๆ จากการทํางานวิจัยใน โครงการดังกลาวทําใหความรูดานการฟนฟูปะการังของไทยพัฒนาไปอยางมาก โดยขณะนี้ไดนําเอา แนวคิดจากการศึกษารวมกับนักวิทยาศาสตรอิสราเอล ในการนําชิ้นปะการังขนาดเล็ก มาอนุบาลใน กระชังกลางน้ําในบริเวณที่เหมาะสม จนมีขนาดใหญพอที่จะเคลื่อนยายไปในบริเวณที่ตองการฟนฟูแนว ปะการัง (รูปที่ 5) ทําใหไมตองใชปะการังจากธรรมชาติจํานวนมากในการฟนฟูอีกตอไป (Shaish et al., 2008; Putchim et al., in prep.) นอกจากนี้ยังใชความรูทางวิชาการดานตาง ๆ เชน พันธุศาสตร และ นิเวศวิทยามาชวยเสริมใหการฟนฟูแนวปะการังประสบผลยิ่งขึ้น รูปที่ 5 งานวิจัยดานการอนุบาลปะการังในแปลงอนุบาล (บน) การนําปะการังจากแปลงอนุบาลมายาย ปลูกในแนวปะการังเสื่อมโทรม (ลางซาย) และปะการังที่ยายปลูกเปนเวลา 3 ป (ลางขวา) ซึ่งสถาบันฯ ดําเนินการภายใตโครงการความรวมมือระหวางประเทศดานการฟนฟูปะการัง (REEFRES) สนับสนุนโดยสหภาพยุโรป
  • 8. ผลจากการศึกษาวิจัยสูการปฏิบัติ สถาบัน ฯ ไดนําผลจากการศึกษาวิจัยไปใชในงานดานการสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน ในการฟนฟูแนวปะการัง เชน การดําเนินโครงการฟนฟูปะการังบริเวณหมูเกาะพีพี จังหวัดกระบี่ ซึ่งเปน กิจกรรมที่สงเสริมการมีสวนรวมของผูใชประโยชนจากแนวปะการัง โดยเฉพาะนักดําน้ําและผูประกอบ กิจการดําน้ําในการอนุรักษและฟนฟูแนวปะการัง นอกจากนี้สถาบันฯ ยังเปนหนวยงานหลักในการ เผยแพรความรูและหาแนวทางในการฟนฟูปะการังไปยังนักวิชาการและนักวิจัยในสวนราชการและ มหาวิทยาลัยตาง ๆ ที่มีการดําเนินกิจกรรมและวิจัยดานการฟนฟูปะการังทั่วประเทศ ซึ่งในป 2549ไดมี การประชุมถายทอดความรูจากการศึกษาวิจัยของนักวิชาการทั้งในและตางประเทศ รวมทั้งจัดสัมมนา ระดมความคิดเห็นในการพัฒนาการศึกษาวิจัยและแนวทางในการจัดการฟนฟูปะการังของประเทศไทย นอกจากนี้สถาบันฯ ยังทําหนาที่โดยการจัดโครงการฝกอบรมใหความรูแกกลุมเปาหมายตางๆ เชน นักเรียน ครู ชาวประมง ผูประกอบการทองเที่ยว มีจัดนิทรรศการใหความรูในโอกาสตาง ๆ ดําเนิน กิจกรรมรวมกันระหวางนักดําน้ําอาสาสมัครและเจาหนาที่ภาครัฐ เชน การเก็บขยะใตทะเล การปลูก ปะการังในพื้นที่ที่เหมาะสม (รูปที่ 6) รูปที่ 6 กิจกรรมตาง ๆ ที่จัดขึ้นเพื่อใหความรูและสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชนในการอนุรักษ ฟนฟูและปกปองทรัพยากรปะการัง
  • 9. การจัดการเพื่อปองกันความเสื่อมโทรมของแนวปะการัง การเขาฟนฟูแนวปะการังโดยมนุษยไมใชวิธีการหลักสําหรับการแกปญหาความเสื่อมโทรมของ แนวปะการัง เนื่องจากพื้นที่แนวปะการังมีกวางมาก ตองใชตนทุนคาใชจายสูง ใชระยะเวลาดําเนินการ คอนขางนานกวาจะเห็นผล และไมมีวิธีการฟนฟูมาตรฐานที่ใชไดสําหรับทุกพื้นที่ ซึ่งหากใชวิธีการที่ไม เหมาะสมกับพื้นที่แตละแหงจะกลับเปนการเพิ่มความเสื่อมโทรมใหกับแนวปะการังนั้น ๆ การดําเนินการ ฟนฟูสภาพปะการังจําเปนจะตองพิจารณาถึงลักษณะพื้นที่ สภาพสิ่งแวดลอมที่มีผลตอการเจริญเติบโต ของปะการัง กิจกรรมของมนุษยที่อาจเขาไปรบกวนการฟนตัวหรือการดํารงชีวิตของแนวปะการัง ปริมาณตัวออน โคโลนีปะการังหรือกิ่งพันธุที่เหลือรอดจากการถูกทําลาย เพื่อวิเคราะหถึงศักยภาพใน การฟนตัวตามธรรมชาติของแนวปะการังบริเวณนั้น ๆ ซึ่งหากปจจัยตาง ๆ ที่กลาวมาอํานวยแกการ ดํารงชีวิตของปะการังแลว แนวปะการังในบริเวณนั้นจะมีความเปนไปไดสูงในการฟนตัวตามธรรมชาติ โดยที่มนุษยไมจําเปนตองเขาไปดําเนินการแตอยางใด หรืออาจเพียงแตควบคุมหรือจัดการพื้นที่ไมใหมี กิจกรรมใด ๆ เขาไปรบกวนการฟนตัวตามธรรมชาติที่จะเกิดขึ้นในแนวปะการังนั้น ๆ ก็เปนการเพียงพอ แลว สิ่งที่สําคัญที่สุดคือการปองกันหรือลดความเสื่อมโทรมของแนวปะการังซึ่งเกิดจากสาเหตุตาง ๆ โดยการจัดการ เชน การแบงเขตการใชประโยชนในแนวปะการัง การควบคุมจํานวนนักทองเที่ยวและ กิจกรรมการทองเที่ยวใหเหมาะสมกับสภาพปะการังในแตละพื้นที่ การวางทุนจอดเรือเพื่อลดการทิ้งสมอ ลงในแนวปะการัง การกําหนดมาตรการและควบคุมกิจกรรมพัฒนาชายฝงที่สงผลกระทบตอแนว ปะการังอยางเครงครัด การใหความรูดานการอนุรักษและสงเสริมการมีสวนรวมในการอนุรักษและฟนฟู ทรัพยากรใหแกประชาชน ดูจะเปนวิธีที่เหมาะสมและมีประสิทธิภาพที่สุดในการอนุรักษทรัพยากรนี้ เอกสารอางอิง นลินี ทองแถม ไพทูล แพนชัยภูมิ และสมหญิง พวงประสาน. 2546. การฟนฟูแนวปะการังในทะเลอันดา- มันของประเทศไทย. เอกสารเผยแพร ลําดับที่ 1 สถาบันวิจัยและพัฒนาทรัพยากรทางทะเลและ ชายฝง กรมทรัพยากรทางทะเลและชายฝง 32 หนา Putchim L., N. Thongtham, A. Hewett and H.Chansang. Survival and growth of Acropora spp. in mid-water nursery and after transplantation at Phi Phi Island, Krabi, Thailand. Submitted to 11th ICRS Proceedings, Fort Lauderdale, Florida USA. Shaish, L., G. Levy, E. Gomez and B. Rinkevich. 2008. Fixed and suspended coral nurseries in the Philippines: Establishing the first step in the “gardening concept” of reef restoration. J. Exp. Mar. Biol. Ecol. 358:86-97. Thongtham, N. and H. Chansang. 1999. Influence of surface complexity on coral recruitment at Maiton Island, Phuket, Thailand. Phuket Marine Biological Center Special Publication 20: 93-100.