SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
การเลี้ยงปลาหมอไทยที่ความหนาแนนตางกัน
Culturing of climbing perch, Anabas testudineus (Bloch) at varying densities
สมพงษ ดุลยจินดาชบาพร พรชัย จารุรัตนจามร และ สําเนาว ของสาย
Sompong Doolgindachbaporn, Pornchai Jaruratjamorn and Somnow Khongsai
บทคัดยอ
การเลี้ยงปลาหมอไทยขนาด 0.198 กรัมที่ความหนาแนน 55, 77, 99 และ 121 ตัว/ตารางเมตร ในถัง
พลาสติกกลม ความจุน้ํา 50 ลิตรดวยอาหารเม็ดลอยน้ํามีระดับโปรตีน 30% นาน 16 สัปดาห น้ําหนักรวมไมมี
ความแตกตาง และการเลี้ยงปลาหมอไทยขนาด 10.52 กรัม ที่ความหนาแนน 15, 30, 45 และ 60 ตัว/ตารางเมตร
ในคอกอวนขนาด 2.46 ตารางเมตร ระดับน้ํา 120-140 เซนติเมตร ดวยอาหารเม็ดลอยน้ํามีระดับโปรตีน 32.29%
นาน 16 สัปดาห น้ําหนักเฉลี่ย น้ําหนักรวมและอัตราการรอดตาย มีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ(P<0.05) สวน
การเลี้ยงปลาหมอไทยขนาด 28.96 กรัม ที่ความหนาแนน 10, 20, และ 30 ตัว/ตารางเมตร ในคอกอวน ดวย
อาหารเม็ดลอยน้ํามีระดับโปรตีน 32.29% นาน 12 สัปดาห น้ําหนักเฉลี่ยมีความแตกตางอยางมีนัย
สําคัญ(P<0.05) แตน้ําหนักรวมและอัตราการรอดตายไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ(P>0.05) ความหนา
แนนที่เหมาะสมคือ 10 ตัว/ตารางเมตร
ABSTRACT
Culturing of climbing perch mean weight 0.198 gram in 50 liter of water in circular plastic
tanks at densities of 55, 77, 99 and 121 fish/m2
fed with floating pellet at 30% protein level for 16
weeks. There were significant differences (P<0.05) among the densities in term of average weight and
mortality rate. After that culturing fish mean weight 10.52 gram at densities of 15, 30, 45 and 60 fish/m2
in 2.46 m2
net pen and 120-140 cm depth fed with floating pellet at 32.29% protein level for 16 weeks.
There were significant differences (P<0.05) among the densities in term of average weight, total
weight and mortality rate. In addition, climbing perch average weight 28.9 gram cultured at densities
of 10, 20 and 30 fish/m2
in net pen fed with floating pellet at 32.29% protein level for 12 weeks. There
were significant differences (P<0.05) among the densities in term of average weight. In contrast, no
significant differences (P>0.05) in term of total weight and mortality rate. The optimal density was 10
fish/m2
.
ภาควิชาประมง คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน จังหวัดขอนแกน 40002
Department of Fisheries, Facuty of Agriculture, Khon Kaen University, Khon Kaen Province.40002
คํานํา
ปลาหมอไทย (Anabas testudineus) เปนปลาน้ําจืดที่รูจักกันแพรหลาย ที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ
ชนิดหนึ่ง เปนปลาที่นิยมรับประทานทั้งของคนไทย เนื่องจากมีรสชาติดี ใชประกอบอาหารไดหลายอยาง เชน
ทอด ยาง นึ่ง น้ําพริก และซุบ เปนตน จึงเปนที่ตองการของตลาด ในอดีตปลาหมอไทยมีผลผลิตสูงรองจากปลา
ชอน ปลาดุก และปลาสวาย แตปจจุบันผลผลิตปลาหมอไทยลดลง เนื่องจากปลาถูกจับกอนกําหนดมากขึ้นใน
แหลงน้ําธรรมชาติ นอกจากนี้ยังมีจํานวนแหลงน้ําธรรมชาติเสื่อมโทรมมากขึ้นเปนลําดับ รวมทั้งจํานวนแหลงน้ํา
ถูกนํามาใชประ โยชนในทางอื่นเพิ่มมากขึ้น
ปลาหมอไทยมีลักษณะสําคัญประจําครอบครัว คือ มีอวัยวะชวยหายใจ (labryrinth organ) อยูในชอง
เหงือกใตลูกตา ประกอบดวยแผนกระดูกบาง (lamellae) จํานวนมากซอนพับกันอยางไมเปนระเบียบคลายกับ
ทางที่คดเคี้ยวถูกหอหุมดวยผนังบางๆ ที่เต็มไปดวยเสนเลือดฝอย สามารถดูดซับออกซิเจนจากอากาศเมื่อปลา
โผลขึ้นมาฮุบเอาอากาศจากผิวน้ํา ออกซิเจนจะถูกซับผานเขาไปในเสนเลือดฝอยเหลานั้น อวัยวะชวยหายใจจะมี
การพัฒนาและทําหนาที่ในการดูดซับออกซิเจนเมื่อปลามีอายุได 10-20 วันทั้งนี้ขึ้นกับการพัฒนาการของลูกปลา
เนื่องจากปริมาณอาหารที่ไดรับ ถาลูกปลาไดรับอาหารอยางเพียงพอและตอเนื่อง ในสภาพแวดลอมที่เหมาะสม
ลูกปลาจะมีการพัฒนาที่เร็วกวาปกติ กอนหนานั้นปลาจะหายใจดวยเหงือก ปลาในครอบครัวนี้สวนมากเหงือกจะ
มีบทบาทในการหายใจนอยกวาอวัยวะชวยหายใจ แมในน้ําจะมีออกซิเจนอยูอยางเหลือเฟอก็ตาม(สมพงษ,2542)
ปลาหมอไทยเปนปลากินเนื้อ (canivorous fish)ในธรรมชาติจึงเปนผูลา (predator) สัตวน้ําที่มีขนาดเล็ก
กวาเปนอาหาร ไดแก ตัวออนของแมลง ลูกปลา เปนตน ปกติปลาหมอไทยขนาดเล็กมีความตองการอาหารสูงกวา
ปลาที่มีขนาดใหญ เนื่องจากขนาดความยาวของปลามีความสัมพันธในทางตรงขามกับขนาดของกระเพาะอาหาร
โดยหลังจากลูกปลาวัยออนที่ฟกออกจากไขปลา ลูกปลาจะมีถุงอาหารที่จะเปนอาหารของลูกปลาในระยะเวลา 3
วัน หลังจากนั้นลูกปลาจะเริ่มกินอาหารมีชีวิตที่มีขนาดเล็กกวาขนาดปากปลา ไดแก โปรโตซัว และโรติเฟอรใน
ชวงแรก หลังจากนั้นจึงเริ่มกินอาหารที่มีขนาดใหญขึ้นไดแก ไรแดง และโคพีพอด โดยลูกปลาในระยะนี้มีขนาด
ของกระเพาะอาหารขนาดคอนขางใหญ เมื่อเทียบกับขนาดของลําตัว แสดงวาปลาที่มีขนาดเล็กมีความตองการ
อาหารและสามารถกินอาหารไดมากกวาปลาขนาดใหญ ที่อยูในสภาพแวดลอมเดียวกัน (กําธร, 2514; สมพงษ,
2531; Doolgindachbaporn, 1994; Kohinoor et al., 1995)
ปจจุบันในประเทศไทยเริ่มมีพัฒนาการเพาะเลี้ยงปลาหมอไทยเปนธุรกิจ เพื่อจําหนายลูกปลา และปลา
เนื้อเหมือนกับปลาน้ําจืดชนิดอื่น แตยังไมมีการศึกษาความหนาแนนที่เหมาะสมของการเลี้ยงปลาชนิดนี้อยางชัด
เจน ดังนั้นการศึกษาการเพื่อหาความหนาแนนที่เหมาะสมในการเลี้ยงปลาหมอไทยจึงเปนวัตถุประสงคของการ
วิจัยที่เปนปจจัยที่สําคัญปจจัยหนึ่งสําหรับการเลี้ยงปลาหมอไทยตอไปในอนาคต
อุปกรณและวิธีการ
1. การเตรียมพอแมพันธุ
เตรียมโดยการรวบรวมพันธุปลาจากธรรมชาติแลวเลี้ยงไวในบอปูนขนาดควมจุ 600 ลิตร พอแมพันธุมี
น้ําหนักอยูระหวาง 60-100 กรัม
2. การเพาะพันธุปลาหมอไทยโดยการฉีดฮอรโมนแลวปลอยใหผสมพันธุแบบธรรมชาติ
การคัดเลือกแมพันธุปลาที่มีความพรอมสําหรับการเพาะพันธุ จากลักษณะภายนอกที่มีสวนทองอูมเปง
เห็นไดชัด ชองเพศขยายใหญมีสีแดง เมื่อแตะสวนทองเบาๆ จะเห็นไขมีลักษณะกลมมีสีเหลืองออน หากบีบแรงจะ
มีไขบางสวนหลุดออกมา สวนการคัดเลือกพอพันธุนั้น สวนทองจะเปนปกติ ถาแตะสวนทองตามแนวอัณฑะเบาๆ
จะมีน้ําเชื้อที่มีสีขาวขุนไหลออกมา
เมื่อคัดเลือกพอแมพันธุไดแลวใหปลาผสมพันธุกันแบบธรรมชาติโดยกระตุนเฉพาะแมปลาใหวางไขดวย
กรรมวิธีฉีดกระตุนแมปลาใหวางไขดวยสวนผสมของฮอรโมนสังเคราะหบูเซอรีลิน(buserelin) ซึ่งมีชื่อการคาวาซุป
เปอรแฟค (suprefact) ที่ความเขมขน 25 ไมโครกรัมตอน้ําหนักแมปลา 1 กิโลกรัม และยาเสริมฤทธิ์ โดมเพอริโดน
(domperidone) ซึ่งมีชื่อการคาวาโมทิเลียม-เอ็ม (motilium-M) ที่ความเขมขน 7 มิลลิกรัม ตอน้ําหนักแมปลา 1
กิโลกรัม หลังจากฉีดฮอรโมนนาน 6-12 ชั่วโมง แมปลาจะวางไข โดยใชอัตราสวนเพศผูตอเพศเมียเทากับ 2:1
3. การเลี้ยงปลาหมอไทยที่ความหนาแนนตางกัน
3.1 การเลี้ยงปลาหมอไทยในถังพลาสติกกลมที่ความหนาแนน 55-121 ตัวตอตารางเมตร
การเตรียมพันธุปลาหมอไทยโดยวิธีการเพาะพันธุโดยการฉีดฮอรโมนเฉพาะแมพันธุ 5 ตัว แลวปลอยให
ผสมพันธุในบอเพาะพันธุขนาดกวาง 96 เซนติเมตร ยาว 389 เซนติเมตร ลึก 63 เซนติเมตร ที่มีระดับน้ําสูง 30
เซนติเมตร เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2542 โดยใชอัตราพอพันธุตอแมพันธุเทากับ 2:1 พอแมพันธุปลาวางไขและไข
ปลาที่ไดรับการผสม ฟกออกเปนตัว นานประมาณ 18 ชั่วโมง หลังจากนั้น 3 วัน ยายลูกปลาอนุบาลในบอซิเมนต
กลมขนาดความจุ 600 ลิตร จํานวน 3 บอ อนุบาลลูกปลาดวยโรติเฟอร นาน 7 วัน เริ่มใหไรแดงในวันที่ 7 จนถึงวัน
ที่ 20 จึงเริ่มใหอาหารสําเร็จรูปตอจนถึงวันที่ 60 จึงสุมลูกปลามีน้ําหนักเฉลี่ย 0.1984 กรัม ทดลองในถังพลาสติก
กลมขนาดเสนผาศูนยกลาง 46 เซนติเมตร ขนาดความจุ 100 ลิตรที่จุน้ํา 50 ลิตร ในหองปฏิบัติการ ที่ความหนา
แนน 55, 77, 99 และ 121 ตัวตอตารางเมตร เปลี่ยนน้ํา 10 เปอรเซ็นตทุกวัน แตละความหนาแนน มี 3 ซ้ํา นาน
16 สัปดาห เลี้ยงดวยอาหารเม็ดลอยน้ํามีระดับโปรตีน 30% ใหอาหาร 5-15% วันละ 3 ครั้ง ที่เวลา 08.00, 12.00
และ 16.00 น.สุมปลาชั่งน้ําหนักทั้งหมด นับจํานวนปลาที่เหลือรอดทั้งหมด และตรวจวัดอุณหภูมิน้ํา และความ
เปนกรดเปนดางทุก 4 สัปดาห
3.2 การเลี้ยงปลาหมอไทยในคอกอวนที่ความหนาแนน15-60 ตัวตอตารางเมตร
การเตรียมพันธุปลาหมอไทยโดยวิธีการเพาะพันธุโดยการฉีดฮอรโมนเฉพาะเพศเมียแลวปลอยใหผสม
พันธุแบบธรรมชาติ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2542 แบบธรรมชาติ ในบอดินขนาด 600 ตารางเมตร จํานวน 3 บอ โดย
ใชแมพันธุจํานวน 5 ตัว และพอพันธุจํานวน 10 ตัวตอบอ พอแมพันธุปลาวางไขและไขปลาที่ไดรับการผสม ฟก
ออกเปนตัว นาน 18 ชั่วโมง หลังจากนั้น 3 วัน ลูกปลาเริ่มกินอาหารธรรมชาติ ได แก โปรโตซัว โรติเฟอร โคพีพอด
และไรแดง และตัวออนแมลง ที่เกิดขึ้นในบอนาน 1 เดือน เมื่อลูกปลามีขนาด 1 นิ้ว จึงเริ่มใหอาหารเม็ดลอยน้ํา
นาน 1เดือน จึงสุมลูกปลาบอละ 1000 ตัว มาพักไวในบอซีเมนตกลมขนาดความจุ 600 ลิตร บอละ 500 ตัว
จํานวน 6 บอ เพื่อฝกใหกินอาหารเม็ดลอยน้ําที่มีระดับโปรตีน 32.29% ระดับไขมัน 4.32% เยื่อใย 2.87 % และมี
ความชื้น 7.00% กอนการสุมลูกปลาทดลอง เมื่อลูกปลามีน้ําหนักเฉลี่ย 10.52 กรัม ทดลองเลี้ยงปลาในคอกอวน
ขนาดกวาง 157 เซนติเมตร ยาว 157 เซนติเมตร สูง 200 เซนติเมตร ในน้ําลึก120-140 เซนติเมตร มีขนาดพื้นที่
2.46 ตารางเมตร ในบอดินขนาด 600 ตารางเมตร ที่ความหนาแนน 15, 30, 45 และ 60 ตัวตอตารางเมตร เลี้ยง
ดวยอาหารเม็ดลอยน้ําที่มีระดับโปรตีน 32.29% ระดับไขมัน 4.32% เยื่อใย 2.87 % และมีความชื้น 7.00% ให
อาหาร 2-5% วันละ 3 ครั้ง ที่เวลา 08.00, 12.00 และ 16.00 น.นาน 16 สัปดาห สุมปลาชั่งน้ําหนักทั้งหมด นับ
จํานวนปลาที่เหลือรอดทั้งหมด และตรวจวัดอุณหภูมิน้ํา และความเปนกรดเปนดางทุก 4 สัปดาห
3.3 การเลี้ยงปลาหมอไทยในคอกอวนที่ความหนาแนน10-30 ตัวตอตารางเมตร
การเตรียมพันธุปลาหมอไทยโดยวิธีการเพาะพันธุ โดยการฉีดฮอรโมนเฉพาะเพศเมียแลวปลอยใหผสม
พันธุแบบธรรมชาติ เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2542 แบบธรรมชาติ ในบอดินขนาด 600 ตารางเมตร จํานวน 3 บอ
โดยใชแมพันธุจํานวน 5 ตัว และพอพันธุจํานวน 10 ตัวตอบอ พอแมพันธุปลาวางไขและไขปลาที่ไดรับการผสม
ฟกออกเปนตัว นาน 18 ชั่วโมง หลังจากนั้น 3 วัน ลูกปลาเริ่มกินอาหารธรรมชาติ ได แก โปรโตซัว โรติเฟอร โคพีพ
อด และไรแดง และตัวออนแมลง ที่เกิดขึ้นในบอนาน 1 เดือน เมื่อลูกปลามีขนาด 1 นิ้ว จึงเริ่มใหอาหารเม็ดลอย
น้ํา นาน 1เดือน จึงสุมลูกปลาบอละ 1000 ตัว มาพักไวในบอปูนกลมขนาดความจุ 600 ลิตร บอละ 500 ตัว
จํานวน 6 บอ เพื่อฝกใหกินอาหารเม็ดลอยน้ําที่มีระดับโปรตีน 32.29% ระดับไขมัน 4.32% เยื่อใย 2.87 % และมี
ความชื้น 7.00% กอนการสุมลูกปลาทดลอง เมื่อลูกปลามีน้ําหนักเฉลี่ย 28.96 กรัม ทดลองเลี้ยงปลาในคอกอวน
ขนาดกวาง 157 เซนติเมตร ยาว 157 เซนติเมตร สูง 200 เซนติเมตร ในน้ําลึก120-140 เซนติเมตร มีขนาดพื้นที่
2.46 ตารางเมตร ในบอดินขนาด 600 ตารางเมตร ที่ความหนาแนน 10, 20, และ 30 ตัวตอตารางเมตร เลี้ยงดวย
อาหารเม็ดลอยน้ําที่มีระดับโปรตีน 32.29% ระดับไขมัน 4.32% เยื่อใย 2.87 % และมีความชื้น 7.00% นาน 12
สัปดาห ใหอาหาร 3-5% วันละ 3 ครั้ง ที่เวลา 08.00, 12.00 และ 16.00 น.สุมปลาชั่งน้ําหนักทั้งหมด นับจํานวน
ปลาที่เหลือรอดทั้งหมด และตรวจวัดอุณหภูมิน้ํา และความเปนกรดเปนดางทุก 4 สัปดาห
3.4 การวิเคราะหทางสถิติ
การเลี้ยงปลาหมอไทยที่ความหนาแนนตางกันโดยการวางแผนแบบ Completely Randomized Design
มี่ความเชื่อมั่น 95 % เพื่อเปรียบเทียบน้ําหนักเฉลี่ย น้ําหนักรวมและอัตราการรอดตาย เมื่อมีคาความแตกตาง
อยางมีนัยสําคัญทางสถิติระหวางความหนาแนนที่ตางกัน จะใชการเปรียบเทียบแบบ Duncan’s new multiple
range test ที่ความเชื่อมั่น 95 %
ผลการทดลอง
1. การเลี้ยงปลาหมอไทยในถังพลาสติกกลมที่ความหนาแนน 55-121 ตัวตอตารางเมตรนาน 16 สัปดาห
น้ําหนักเฉลี่ยที่ความหนาแนน 55 ตัว/ตารางเมตรมีความแตกตางกับความหนาแนน 77, 99 และ121 ตัว/
ตารางเมตร สวนความหนาแนนที่ 77, 99 และ 121 ตัว/ตารางเมตรไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ สวนน้ํา
หนักรวมระหวางความหนาแนนไมมีความแตกอยางมีนัยสําคัญ อัตราการรอดตายที่ความหนาแนน 55, 77 และ
99 ตัว/ตารางเมตรไมมีความแตกตางกันแตมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญกับความหนาแนน 121 ตัว/ตาราง
เมตร (Table 1) คาความเปนกรดเปนดางอยูระหวาง 7.4-8.1 อุณหภูมิน้ําอยูในชวง 24-27 องศาเซลเซียส ตลอด
การทดลอง
Table 1 Average weight, Total weight and survival rate of climbing perch at densities of 55, 77, 99
and 121 fish/m2
fed with pellet food for 16 weeks.
Density (fish/ m2
)
Average
55 77 99 121
Weight*
(g/fish) 2.4472a
1.8242b
1.7719b
1.6765b
Total weight (%) 24.7723a
23.7151a
28.3504a
24.4190a
Survival rate*
(%) 100.00a
92.86a
88.89a
66.67b
*
= significantly different(F-value and p-value)
ab=Mean within row with the same letter are not significantly different.
2. การเลี้ยงปลาหมอไทยในคอกอวนที่ความหนาแนน15-60 ตัวตอตารางเมตรนาน 16 สัปดาห
น้ําหนักเฉลี่ยและน้ําหนักรวมที่ความหนาแนน 15 และ 30 ตัว/ตารางเมตรมีความแตกตางกับความหนา
แนน 45 และ 60 ตัว/ตารางเมตร อัตราการรอดตายที่ความหนาแนน 15, 30 และ 45 ตัว/ตารางเมตรมีความแตก
ตางกันแตมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญกับความหนาแนน 60 ตัว/ตารางเมตร อัตราการรอดตายที่ความหนา
แนน 45 ตัว/ตารางเมตร ไมมีความแตกตางกับที่ความหนาแนน 15 และ 30 ตัว/ตารางเมตร แตอัตราการรอดตาย
ที่ความหนาแนน 15 และ 30 ตัว/ตารางเมตรมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ (Table 2) คาความเปนกรดเปน
ดางอยูระหวาง 7.8-8.4 อุณหภูมิน้ําอยูในชวง 25-29 องศาเซลเซียส ตลอดการทดลอง
Table 2 Average weight, Total weight and survival rate of climbing perch at densities of 15, 30, 45
and 60 fish/m2
fed with pellet food for 16 weeks.
Density (fish/ m2
)
Average
15 30 45 60
Weight*
(g/fish) 20.93a
18.66b
17.39c
16.72c
Total weight*
(g) 683.33a
1001.67b
1520.00c
1500.00c
Survival rate*
(%) 90.74a
73.51b
80.31ab
60.77c
*
= significantly different(F-value and p-value)
abc=Mean within row with the same letter or subset are not significantly different.
3. การเลี้ยงปลาหมอไทยในคอกอวนที่ความหนาแนน10-30 ตัวตอตารางเมตรนาน 12 สัปดาห
น้ําหนักเฉลี่ยที่ความหนาแนน 10, 20 และ 30 ตัว/ตารางเมตรมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ สวนน้ํา
หนักรวมและอัตาการรอดตายเฉลี่ยระหวางความหนาแนนไมมีความแตกอยางมีนัยสําคัญ (Table 3) ไดทําการ
คัดแยกเพศและชั่งน้ําหนัก พบวาปลาเพศเมีย และปลาเพศผู มีน้ําหนักเฉลี่ยดังตารางที่ 4 คาน้ําหนักเฉลี่ยของ
ปลาเพศเมียและเพศผู (Table 4) คาความเปนกรดเปนดางอยูระหวาง 7.8-8.5 อุณหภูมิน้ําอยูในชวง 26-29 องศา
เซลเซียส ตลอดการทดลอง
Table 3 Average weight, Total weight and survival rate of climbing perch at densities of 10, 20 and 30
fish/m2
fed with pellet food for 12 weeks.
Density (fish/ m2
)
Performance
10 20 30
Weight*
(g/fish) 48.67a
41.28b
38.93c
Total weight (g) 937.5a
1522.5a
2007.5a
Survival rate (%) 79.16a
78.64a
70.95a
*
= significantly different(F-value and p-value)
abc=Mean within row with the same letter are not significantly different.
Table 4 Average weight of female and male of climbing perch at densities of 10, 20 and 30
fish/m2
fed with pellet food for 12 weeks.(SE = standard error)
Average weight in different density (fish/ m2
)
Sex
10 20 30
Female±1SE 58.40±2.98 57.34±9.80 55.24±1.19
Male±1SE 32.39±1.27 27.78±2.37 30.42±1.65
สรุปและวิจารณ
การทดลองเลี้ยงปลาหมอไทยที่ความหนาแนน 55, 77, 99 และ 121 ตัว/ตารางเมตรในถังพลาสติกกลม
พบวาที่ความหนาแนน 55 ตัว/ตารางเมตรเปนความหนาแนนที่มีอัตราการเจริญเติบโตดีที่สุด สวนการทดลอง
เลี้ยงปลาที่ความหนาแนน 15, 30, 45 และ 60 ตัว/ตารางเมตรในคอกอวน พบวาความหนาแนนที่เหมาะสม 15
และ30 ตัว/ตารางเมตร หลังจากนั้นไดทดลองเลี้ยงปลาที่ความหนาแนน 10-30 ตัว/ตารางเมตรในคอกอวน พบวา
ที่ความหนาแนน 10 ตัว/ตารางเมตร มีอัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายดีที่สุด สรุปไดวาความหนา
แนนที่เหมาะสมคือ 10 ตัว/ตารางเมตร แตถาตองการเลี้ยงที่ความหนาแนนที่สูงขึ้นตองมีการเพิ่มน้ําใหมเขาสูบอ
เลี้ยง
จากการสุมตัวอยางเพื่อหาคาน้ําหนักเฉลี่ย น้ําหนักรวม และอัตราการรอดตาย พบวาหลังจากปลอยปลา
ลงบอทดลองปลาจะใชเวลาในการปรับการกินอาหารนาน 3-4 วัน ปลาจึงมีการกินอาหารไดตามปกติ
จากการทดลองนี้มีขอเสนอแนะวาอัตราการเจริญเติบโตของปลาหมอไทย พบวาปลาเพศเมียมีการเจริญ
เติบโตมากกวาปลาเพศผูถึง 2-3 เทาในการทดลองที่ระดับความหนาแนน 10-30 ตัว/ตารางเมตร และพบวาปลา
เพศเมียจํานวนหนึ่งมีน้ําหนักถึง 100 กรัม แสดงใหเห็นวาสัดสวนเพศของปลาที่ใชทดลองมีผลตอการทดลองเนื่อง
จากปลาเพศเมียมีการเจริญเติบโตมากกวาปลาเพศผู
คํานิยม
ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยขอนแกนที่ใหการสนับสนุนเงินทุนวิจัย จากหมวดเงินอุดหนุนทั่วไป
ซึ่งทําใหงานวิจัยนี้ลุลวงไปไดดวยดี
เอกสารอางอิง
กําธร โพธิ์ทองคํา. 2514. ชีววิทยาของปลาหมอไทย. แผนกทดลองและเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา กองบํารุงพันธุสัตวน้ํา
กรุงเทพฯ.
สมพงษ ดุลยจินดาชบาพร. 2531. การเพาะพันธุปลาหมอไทย. วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.
สมพงษ ดุลยจินดาชบาพร. 2542. การเพาะเลี้ยงปลาหมอไทย. ภาควิชาประมง คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัย
ขอนแกน. 38หนา.
Doolgindachbaporn, S. 1994. Development of Optimal Rearing and Culturing Systems for Climbing
Perch, Anabas testudineus (Bloch) (Perciformes, Anabantidae). Ph.D. Thesis, Department of
Zoology, University of Manitoba, Winnipeg, Manitoba.
Kohinoor, A.H.M., M.Z. Haque, and M.H. Osmani. 1995. Food Size Preferences of the Climbing Perch,
Anabas testudineus Bloch and the African Cat fish, Clarias gariepinus Burchell larvae.
Bangladesh J.Zool. 23(2):159-166.

More Related Content

Similar to Kc4104041

เลี้ยงปลาแรด
เลี้ยงปลาแรดเลี้ยงปลาแรด
เลี้ยงปลาแรดlongkhao
 
เลี้ยงปลาแรด
เลี้ยงปลาแรดเลี้ยงปลาแรด
เลี้ยงปลาแรดlongkhao
 
วัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdfวัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdfVorawut Wongumpornpinit
 
โครงการ การประมง
โครงการ การประมงโครงการ การประมง
โครงการ การประมงmoemon12
 
22092010-2
22092010-222092010-2
22092010-2ThaiJSP
 
การเลี้ยงสุกรขุน4
การเลี้ยงสุกรขุน4การเลี้ยงสุกรขุน4
การเลี้ยงสุกรขุน4somkiat35140
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังAuraphin Phetraksa
 
การใช้กากถั่วเหลืองหมักทดแทนปลา.pptx
การใช้กากถั่วเหลืองหมักทดแทนปลา.pptxการใช้กากถั่วเหลืองหมักทดแทนปลา.pptx
การใช้กากถั่วเหลืองหมักทดแทนปลา.pptxKraJiabSugunya
 
IS2 ปลาสลิด
IS2 ปลาสลิดIS2 ปลาสลิด
IS2 ปลาสลิดoil_intira
 
ชีวิตของปลากัด
ชีวิตของปลากัดชีวิตของปลากัด
ชีวิตของปลากัดAnuphong Sewrirut
 

Similar to Kc4104041 (20)

เลี้ยงปลาแรด
เลี้ยงปลาแรดเลี้ยงปลาแรด
เลี้ยงปลาแรด
 
เลี้ยงปลาแรด
เลี้ยงปลาแรดเลี้ยงปลาแรด
เลี้ยงปลาแรด
 
วัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdfวัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdf
 
Thanawat
ThanawatThanawat
Thanawat
 
การเลี้ยงปลา
การเลี้ยงปลาการเลี้ยงปลา
การเลี้ยงปลา
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงการ การประมง
โครงการ การประมงโครงการ การประมง
โครงการ การประมง
 
22092010-2
22092010-222092010-2
22092010-2
 
กลุ่ม 4
กลุ่ม 4 กลุ่ม 4
กลุ่ม 4
 
การเลี้ยงสุกรขุน4
การเลี้ยงสุกรขุน4การเลี้ยงสุกรขุน4
การเลี้ยงสุกรขุน4
 
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรังชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
ชนิดและความชุกชุมของปลาแนวปะการัง อาดัง ราวี ตรัง
 
53010812271
5301081227153010812271
53010812271
 
3
33
3
 
File
FileFile
File
 
การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1
 
การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1การเลี้ยงไก่ไข่1
การเลี้ยงไก่ไข่1
 
การใช้กากถั่วเหลืองหมักทดแทนปลา.pptx
การใช้กากถั่วเหลืองหมักทดแทนปลา.pptxการใช้กากถั่วเหลืองหมักทดแทนปลา.pptx
การใช้กากถั่วเหลืองหมักทดแทนปลา.pptx
 
IS2 ปลาสลิด
IS2 ปลาสลิดIS2 ปลาสลิด
IS2 ปลาสลิด
 
ชีวิตของปลากัด
ชีวิตของปลากัดชีวิตของปลากัด
ชีวิตของปลากัด
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 

More from Nichaphat Sanguthai

ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์Nichaphat Sanguthai
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมNichaphat Sanguthai
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังNichaphat Sanguthai
 
2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็มNichaphat Sanguthai
 
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvkNichaphat Sanguthai
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง Nichaphat Sanguthai
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองNichaphat Sanguthai
 
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6Nichaphat Sanguthai
 
แบบสำรวจตัวเอง
แบบสำรวจตัวเองแบบสำรวจตัวเอง
แบบสำรวจตัวเองNichaphat Sanguthai
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง Nichaphat Sanguthai
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติใบงาน แบบสำรวจและประวัติ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติNichaphat Sanguthai
 

More from Nichaphat Sanguthai (20)

2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
Presentation1
Presentation1Presentation1
Presentation1
 
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
ประเภทของโครงงานคอมพิวเตอร์
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
ปลาตีน
ปลาตีนปลาตีน
ปลาตีน
 
การฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการังการฟื้นฟูปะการัง
การฟื้นฟูปะการัง
 
Yoga
YogaYoga
Yoga
 
2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม2560การฝังเข็ม
2560การฝังเข็ม
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project
2560 project 2560 project
2560 project
 
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
2560 project bdsvbsdvbsdvbsnknvslnvk
 
04 017 p51
04 017 p5104 017 p51
04 017 p51
 
Book20110408103212
Book20110408103212Book20110408103212
Book20110408103212
 
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
ใบงานที่1 แบบสำรวจตนเอง
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเองใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง
 
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
ใบงานสำรวจตนเอง123456 m6
 
Thanakritsomrit
ThanakritsomritThanakritsomrit
Thanakritsomrit
 
แบบสำรวจตัวเอง
แบบสำรวจตัวเองแบบสำรวจตัวเอง
แบบสำรวจตัวเอง
 
ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง ใบงานสำรวจตนเอง
ใบงานสำรวจตนเอง
 
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติใบงาน แบบสำรวจและประวัติ
ใบงาน แบบสำรวจและประวัติ
 

Kc4104041

  • 1. การเลี้ยงปลาหมอไทยที่ความหนาแนนตางกัน Culturing of climbing perch, Anabas testudineus (Bloch) at varying densities สมพงษ ดุลยจินดาชบาพร พรชัย จารุรัตนจามร และ สําเนาว ของสาย Sompong Doolgindachbaporn, Pornchai Jaruratjamorn and Somnow Khongsai บทคัดยอ การเลี้ยงปลาหมอไทยขนาด 0.198 กรัมที่ความหนาแนน 55, 77, 99 และ 121 ตัว/ตารางเมตร ในถัง พลาสติกกลม ความจุน้ํา 50 ลิตรดวยอาหารเม็ดลอยน้ํามีระดับโปรตีน 30% นาน 16 สัปดาห น้ําหนักรวมไมมี ความแตกตาง และการเลี้ยงปลาหมอไทยขนาด 10.52 กรัม ที่ความหนาแนน 15, 30, 45 และ 60 ตัว/ตารางเมตร ในคอกอวนขนาด 2.46 ตารางเมตร ระดับน้ํา 120-140 เซนติเมตร ดวยอาหารเม็ดลอยน้ํามีระดับโปรตีน 32.29% นาน 16 สัปดาห น้ําหนักเฉลี่ย น้ําหนักรวมและอัตราการรอดตาย มีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ(P<0.05) สวน การเลี้ยงปลาหมอไทยขนาด 28.96 กรัม ที่ความหนาแนน 10, 20, และ 30 ตัว/ตารางเมตร ในคอกอวน ดวย อาหารเม็ดลอยน้ํามีระดับโปรตีน 32.29% นาน 12 สัปดาห น้ําหนักเฉลี่ยมีความแตกตางอยางมีนัย สําคัญ(P<0.05) แตน้ําหนักรวมและอัตราการรอดตายไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ(P>0.05) ความหนา แนนที่เหมาะสมคือ 10 ตัว/ตารางเมตร ABSTRACT Culturing of climbing perch mean weight 0.198 gram in 50 liter of water in circular plastic tanks at densities of 55, 77, 99 and 121 fish/m2 fed with floating pellet at 30% protein level for 16 weeks. There were significant differences (P<0.05) among the densities in term of average weight and mortality rate. After that culturing fish mean weight 10.52 gram at densities of 15, 30, 45 and 60 fish/m2 in 2.46 m2 net pen and 120-140 cm depth fed with floating pellet at 32.29% protein level for 16 weeks. There were significant differences (P<0.05) among the densities in term of average weight, total weight and mortality rate. In addition, climbing perch average weight 28.9 gram cultured at densities of 10, 20 and 30 fish/m2 in net pen fed with floating pellet at 32.29% protein level for 12 weeks. There were significant differences (P<0.05) among the densities in term of average weight. In contrast, no significant differences (P>0.05) in term of total weight and mortality rate. The optimal density was 10 fish/m2 . ภาควิชาประมง คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยขอนแกน จังหวัดขอนแกน 40002 Department of Fisheries, Facuty of Agriculture, Khon Kaen University, Khon Kaen Province.40002
  • 2. คํานํา ปลาหมอไทย (Anabas testudineus) เปนปลาน้ําจืดที่รูจักกันแพรหลาย ที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ ชนิดหนึ่ง เปนปลาที่นิยมรับประทานทั้งของคนไทย เนื่องจากมีรสชาติดี ใชประกอบอาหารไดหลายอยาง เชน ทอด ยาง นึ่ง น้ําพริก และซุบ เปนตน จึงเปนที่ตองการของตลาด ในอดีตปลาหมอไทยมีผลผลิตสูงรองจากปลา ชอน ปลาดุก และปลาสวาย แตปจจุบันผลผลิตปลาหมอไทยลดลง เนื่องจากปลาถูกจับกอนกําหนดมากขึ้นใน แหลงน้ําธรรมชาติ นอกจากนี้ยังมีจํานวนแหลงน้ําธรรมชาติเสื่อมโทรมมากขึ้นเปนลําดับ รวมทั้งจํานวนแหลงน้ํา ถูกนํามาใชประ โยชนในทางอื่นเพิ่มมากขึ้น ปลาหมอไทยมีลักษณะสําคัญประจําครอบครัว คือ มีอวัยวะชวยหายใจ (labryrinth organ) อยูในชอง เหงือกใตลูกตา ประกอบดวยแผนกระดูกบาง (lamellae) จํานวนมากซอนพับกันอยางไมเปนระเบียบคลายกับ ทางที่คดเคี้ยวถูกหอหุมดวยผนังบางๆ ที่เต็มไปดวยเสนเลือดฝอย สามารถดูดซับออกซิเจนจากอากาศเมื่อปลา โผลขึ้นมาฮุบเอาอากาศจากผิวน้ํา ออกซิเจนจะถูกซับผานเขาไปในเสนเลือดฝอยเหลานั้น อวัยวะชวยหายใจจะมี การพัฒนาและทําหนาที่ในการดูดซับออกซิเจนเมื่อปลามีอายุได 10-20 วันทั้งนี้ขึ้นกับการพัฒนาการของลูกปลา เนื่องจากปริมาณอาหารที่ไดรับ ถาลูกปลาไดรับอาหารอยางเพียงพอและตอเนื่อง ในสภาพแวดลอมที่เหมาะสม ลูกปลาจะมีการพัฒนาที่เร็วกวาปกติ กอนหนานั้นปลาจะหายใจดวยเหงือก ปลาในครอบครัวนี้สวนมากเหงือกจะ มีบทบาทในการหายใจนอยกวาอวัยวะชวยหายใจ แมในน้ําจะมีออกซิเจนอยูอยางเหลือเฟอก็ตาม(สมพงษ,2542) ปลาหมอไทยเปนปลากินเนื้อ (canivorous fish)ในธรรมชาติจึงเปนผูลา (predator) สัตวน้ําที่มีขนาดเล็ก กวาเปนอาหาร ไดแก ตัวออนของแมลง ลูกปลา เปนตน ปกติปลาหมอไทยขนาดเล็กมีความตองการอาหารสูงกวา ปลาที่มีขนาดใหญ เนื่องจากขนาดความยาวของปลามีความสัมพันธในทางตรงขามกับขนาดของกระเพาะอาหาร โดยหลังจากลูกปลาวัยออนที่ฟกออกจากไขปลา ลูกปลาจะมีถุงอาหารที่จะเปนอาหารของลูกปลาในระยะเวลา 3 วัน หลังจากนั้นลูกปลาจะเริ่มกินอาหารมีชีวิตที่มีขนาดเล็กกวาขนาดปากปลา ไดแก โปรโตซัว และโรติเฟอรใน ชวงแรก หลังจากนั้นจึงเริ่มกินอาหารที่มีขนาดใหญขึ้นไดแก ไรแดง และโคพีพอด โดยลูกปลาในระยะนี้มีขนาด ของกระเพาะอาหารขนาดคอนขางใหญ เมื่อเทียบกับขนาดของลําตัว แสดงวาปลาที่มีขนาดเล็กมีความตองการ อาหารและสามารถกินอาหารไดมากกวาปลาขนาดใหญ ที่อยูในสภาพแวดลอมเดียวกัน (กําธร, 2514; สมพงษ, 2531; Doolgindachbaporn, 1994; Kohinoor et al., 1995) ปจจุบันในประเทศไทยเริ่มมีพัฒนาการเพาะเลี้ยงปลาหมอไทยเปนธุรกิจ เพื่อจําหนายลูกปลา และปลา เนื้อเหมือนกับปลาน้ําจืดชนิดอื่น แตยังไมมีการศึกษาความหนาแนนที่เหมาะสมของการเลี้ยงปลาชนิดนี้อยางชัด เจน ดังนั้นการศึกษาการเพื่อหาความหนาแนนที่เหมาะสมในการเลี้ยงปลาหมอไทยจึงเปนวัตถุประสงคของการ วิจัยที่เปนปจจัยที่สําคัญปจจัยหนึ่งสําหรับการเลี้ยงปลาหมอไทยตอไปในอนาคต
  • 3. อุปกรณและวิธีการ 1. การเตรียมพอแมพันธุ เตรียมโดยการรวบรวมพันธุปลาจากธรรมชาติแลวเลี้ยงไวในบอปูนขนาดควมจุ 600 ลิตร พอแมพันธุมี น้ําหนักอยูระหวาง 60-100 กรัม 2. การเพาะพันธุปลาหมอไทยโดยการฉีดฮอรโมนแลวปลอยใหผสมพันธุแบบธรรมชาติ การคัดเลือกแมพันธุปลาที่มีความพรอมสําหรับการเพาะพันธุ จากลักษณะภายนอกที่มีสวนทองอูมเปง เห็นไดชัด ชองเพศขยายใหญมีสีแดง เมื่อแตะสวนทองเบาๆ จะเห็นไขมีลักษณะกลมมีสีเหลืองออน หากบีบแรงจะ มีไขบางสวนหลุดออกมา สวนการคัดเลือกพอพันธุนั้น สวนทองจะเปนปกติ ถาแตะสวนทองตามแนวอัณฑะเบาๆ จะมีน้ําเชื้อที่มีสีขาวขุนไหลออกมา เมื่อคัดเลือกพอแมพันธุไดแลวใหปลาผสมพันธุกันแบบธรรมชาติโดยกระตุนเฉพาะแมปลาใหวางไขดวย กรรมวิธีฉีดกระตุนแมปลาใหวางไขดวยสวนผสมของฮอรโมนสังเคราะหบูเซอรีลิน(buserelin) ซึ่งมีชื่อการคาวาซุป เปอรแฟค (suprefact) ที่ความเขมขน 25 ไมโครกรัมตอน้ําหนักแมปลา 1 กิโลกรัม และยาเสริมฤทธิ์ โดมเพอริโดน (domperidone) ซึ่งมีชื่อการคาวาโมทิเลียม-เอ็ม (motilium-M) ที่ความเขมขน 7 มิลลิกรัม ตอน้ําหนักแมปลา 1 กิโลกรัม หลังจากฉีดฮอรโมนนาน 6-12 ชั่วโมง แมปลาจะวางไข โดยใชอัตราสวนเพศผูตอเพศเมียเทากับ 2:1 3. การเลี้ยงปลาหมอไทยที่ความหนาแนนตางกัน 3.1 การเลี้ยงปลาหมอไทยในถังพลาสติกกลมที่ความหนาแนน 55-121 ตัวตอตารางเมตร การเตรียมพันธุปลาหมอไทยโดยวิธีการเพาะพันธุโดยการฉีดฮอรโมนเฉพาะแมพันธุ 5 ตัว แลวปลอยให ผสมพันธุในบอเพาะพันธุขนาดกวาง 96 เซนติเมตร ยาว 389 เซนติเมตร ลึก 63 เซนติเมตร ที่มีระดับน้ําสูง 30 เซนติเมตร เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2542 โดยใชอัตราพอพันธุตอแมพันธุเทากับ 2:1 พอแมพันธุปลาวางไขและไข ปลาที่ไดรับการผสม ฟกออกเปนตัว นานประมาณ 18 ชั่วโมง หลังจากนั้น 3 วัน ยายลูกปลาอนุบาลในบอซิเมนต กลมขนาดความจุ 600 ลิตร จํานวน 3 บอ อนุบาลลูกปลาดวยโรติเฟอร นาน 7 วัน เริ่มใหไรแดงในวันที่ 7 จนถึงวัน ที่ 20 จึงเริ่มใหอาหารสําเร็จรูปตอจนถึงวันที่ 60 จึงสุมลูกปลามีน้ําหนักเฉลี่ย 0.1984 กรัม ทดลองในถังพลาสติก กลมขนาดเสนผาศูนยกลาง 46 เซนติเมตร ขนาดความจุ 100 ลิตรที่จุน้ํา 50 ลิตร ในหองปฏิบัติการ ที่ความหนา แนน 55, 77, 99 และ 121 ตัวตอตารางเมตร เปลี่ยนน้ํา 10 เปอรเซ็นตทุกวัน แตละความหนาแนน มี 3 ซ้ํา นาน 16 สัปดาห เลี้ยงดวยอาหารเม็ดลอยน้ํามีระดับโปรตีน 30% ใหอาหาร 5-15% วันละ 3 ครั้ง ที่เวลา 08.00, 12.00 และ 16.00 น.สุมปลาชั่งน้ําหนักทั้งหมด นับจํานวนปลาที่เหลือรอดทั้งหมด และตรวจวัดอุณหภูมิน้ํา และความ เปนกรดเปนดางทุก 4 สัปดาห
  • 4. 3.2 การเลี้ยงปลาหมอไทยในคอกอวนที่ความหนาแนน15-60 ตัวตอตารางเมตร การเตรียมพันธุปลาหมอไทยโดยวิธีการเพาะพันธุโดยการฉีดฮอรโมนเฉพาะเพศเมียแลวปลอยใหผสม พันธุแบบธรรมชาติ เมื่อวันที่ 1 ธันวาคม 2542 แบบธรรมชาติ ในบอดินขนาด 600 ตารางเมตร จํานวน 3 บอ โดย ใชแมพันธุจํานวน 5 ตัว และพอพันธุจํานวน 10 ตัวตอบอ พอแมพันธุปลาวางไขและไขปลาที่ไดรับการผสม ฟก ออกเปนตัว นาน 18 ชั่วโมง หลังจากนั้น 3 วัน ลูกปลาเริ่มกินอาหารธรรมชาติ ได แก โปรโตซัว โรติเฟอร โคพีพอด และไรแดง และตัวออนแมลง ที่เกิดขึ้นในบอนาน 1 เดือน เมื่อลูกปลามีขนาด 1 นิ้ว จึงเริ่มใหอาหารเม็ดลอยน้ํา นาน 1เดือน จึงสุมลูกปลาบอละ 1000 ตัว มาพักไวในบอซีเมนตกลมขนาดความจุ 600 ลิตร บอละ 500 ตัว จํานวน 6 บอ เพื่อฝกใหกินอาหารเม็ดลอยน้ําที่มีระดับโปรตีน 32.29% ระดับไขมัน 4.32% เยื่อใย 2.87 % และมี ความชื้น 7.00% กอนการสุมลูกปลาทดลอง เมื่อลูกปลามีน้ําหนักเฉลี่ย 10.52 กรัม ทดลองเลี้ยงปลาในคอกอวน ขนาดกวาง 157 เซนติเมตร ยาว 157 เซนติเมตร สูง 200 เซนติเมตร ในน้ําลึก120-140 เซนติเมตร มีขนาดพื้นที่ 2.46 ตารางเมตร ในบอดินขนาด 600 ตารางเมตร ที่ความหนาแนน 15, 30, 45 และ 60 ตัวตอตารางเมตร เลี้ยง ดวยอาหารเม็ดลอยน้ําที่มีระดับโปรตีน 32.29% ระดับไขมัน 4.32% เยื่อใย 2.87 % และมีความชื้น 7.00% ให อาหาร 2-5% วันละ 3 ครั้ง ที่เวลา 08.00, 12.00 และ 16.00 น.นาน 16 สัปดาห สุมปลาชั่งน้ําหนักทั้งหมด นับ จํานวนปลาที่เหลือรอดทั้งหมด และตรวจวัดอุณหภูมิน้ํา และความเปนกรดเปนดางทุก 4 สัปดาห 3.3 การเลี้ยงปลาหมอไทยในคอกอวนที่ความหนาแนน10-30 ตัวตอตารางเมตร การเตรียมพันธุปลาหมอไทยโดยวิธีการเพาะพันธุ โดยการฉีดฮอรโมนเฉพาะเพศเมียแลวปลอยใหผสม พันธุแบบธรรมชาติ เมื่อวันที่ 13 มิถุนายน 2542 แบบธรรมชาติ ในบอดินขนาด 600 ตารางเมตร จํานวน 3 บอ โดยใชแมพันธุจํานวน 5 ตัว และพอพันธุจํานวน 10 ตัวตอบอ พอแมพันธุปลาวางไขและไขปลาที่ไดรับการผสม ฟกออกเปนตัว นาน 18 ชั่วโมง หลังจากนั้น 3 วัน ลูกปลาเริ่มกินอาหารธรรมชาติ ได แก โปรโตซัว โรติเฟอร โคพีพ อด และไรแดง และตัวออนแมลง ที่เกิดขึ้นในบอนาน 1 เดือน เมื่อลูกปลามีขนาด 1 นิ้ว จึงเริ่มใหอาหารเม็ดลอย น้ํา นาน 1เดือน จึงสุมลูกปลาบอละ 1000 ตัว มาพักไวในบอปูนกลมขนาดความจุ 600 ลิตร บอละ 500 ตัว จํานวน 6 บอ เพื่อฝกใหกินอาหารเม็ดลอยน้ําที่มีระดับโปรตีน 32.29% ระดับไขมัน 4.32% เยื่อใย 2.87 % และมี ความชื้น 7.00% กอนการสุมลูกปลาทดลอง เมื่อลูกปลามีน้ําหนักเฉลี่ย 28.96 กรัม ทดลองเลี้ยงปลาในคอกอวน ขนาดกวาง 157 เซนติเมตร ยาว 157 เซนติเมตร สูง 200 เซนติเมตร ในน้ําลึก120-140 เซนติเมตร มีขนาดพื้นที่ 2.46 ตารางเมตร ในบอดินขนาด 600 ตารางเมตร ที่ความหนาแนน 10, 20, และ 30 ตัวตอตารางเมตร เลี้ยงดวย อาหารเม็ดลอยน้ําที่มีระดับโปรตีน 32.29% ระดับไขมัน 4.32% เยื่อใย 2.87 % และมีความชื้น 7.00% นาน 12 สัปดาห ใหอาหาร 3-5% วันละ 3 ครั้ง ที่เวลา 08.00, 12.00 และ 16.00 น.สุมปลาชั่งน้ําหนักทั้งหมด นับจํานวน ปลาที่เหลือรอดทั้งหมด และตรวจวัดอุณหภูมิน้ํา และความเปนกรดเปนดางทุก 4 สัปดาห
  • 5. 3.4 การวิเคราะหทางสถิติ การเลี้ยงปลาหมอไทยที่ความหนาแนนตางกันโดยการวางแผนแบบ Completely Randomized Design มี่ความเชื่อมั่น 95 % เพื่อเปรียบเทียบน้ําหนักเฉลี่ย น้ําหนักรวมและอัตราการรอดตาย เมื่อมีคาความแตกตาง อยางมีนัยสําคัญทางสถิติระหวางความหนาแนนที่ตางกัน จะใชการเปรียบเทียบแบบ Duncan’s new multiple range test ที่ความเชื่อมั่น 95 % ผลการทดลอง 1. การเลี้ยงปลาหมอไทยในถังพลาสติกกลมที่ความหนาแนน 55-121 ตัวตอตารางเมตรนาน 16 สัปดาห น้ําหนักเฉลี่ยที่ความหนาแนน 55 ตัว/ตารางเมตรมีความแตกตางกับความหนาแนน 77, 99 และ121 ตัว/ ตารางเมตร สวนความหนาแนนที่ 77, 99 และ 121 ตัว/ตารางเมตรไมมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ สวนน้ํา หนักรวมระหวางความหนาแนนไมมีความแตกอยางมีนัยสําคัญ อัตราการรอดตายที่ความหนาแนน 55, 77 และ 99 ตัว/ตารางเมตรไมมีความแตกตางกันแตมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญกับความหนาแนน 121 ตัว/ตาราง เมตร (Table 1) คาความเปนกรดเปนดางอยูระหวาง 7.4-8.1 อุณหภูมิน้ําอยูในชวง 24-27 องศาเซลเซียส ตลอด การทดลอง Table 1 Average weight, Total weight and survival rate of climbing perch at densities of 55, 77, 99 and 121 fish/m2 fed with pellet food for 16 weeks. Density (fish/ m2 ) Average 55 77 99 121 Weight* (g/fish) 2.4472a 1.8242b 1.7719b 1.6765b Total weight (%) 24.7723a 23.7151a 28.3504a 24.4190a Survival rate* (%) 100.00a 92.86a 88.89a 66.67b * = significantly different(F-value and p-value) ab=Mean within row with the same letter are not significantly different. 2. การเลี้ยงปลาหมอไทยในคอกอวนที่ความหนาแนน15-60 ตัวตอตารางเมตรนาน 16 สัปดาห น้ําหนักเฉลี่ยและน้ําหนักรวมที่ความหนาแนน 15 และ 30 ตัว/ตารางเมตรมีความแตกตางกับความหนา แนน 45 และ 60 ตัว/ตารางเมตร อัตราการรอดตายที่ความหนาแนน 15, 30 และ 45 ตัว/ตารางเมตรมีความแตก ตางกันแตมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญกับความหนาแนน 60 ตัว/ตารางเมตร อัตราการรอดตายที่ความหนา แนน 45 ตัว/ตารางเมตร ไมมีความแตกตางกับที่ความหนาแนน 15 และ 30 ตัว/ตารางเมตร แตอัตราการรอดตาย ที่ความหนาแนน 15 และ 30 ตัว/ตารางเมตรมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ (Table 2) คาความเปนกรดเปน ดางอยูระหวาง 7.8-8.4 อุณหภูมิน้ําอยูในชวง 25-29 องศาเซลเซียส ตลอดการทดลอง
  • 6. Table 2 Average weight, Total weight and survival rate of climbing perch at densities of 15, 30, 45 and 60 fish/m2 fed with pellet food for 16 weeks. Density (fish/ m2 ) Average 15 30 45 60 Weight* (g/fish) 20.93a 18.66b 17.39c 16.72c Total weight* (g) 683.33a 1001.67b 1520.00c 1500.00c Survival rate* (%) 90.74a 73.51b 80.31ab 60.77c * = significantly different(F-value and p-value) abc=Mean within row with the same letter or subset are not significantly different. 3. การเลี้ยงปลาหมอไทยในคอกอวนที่ความหนาแนน10-30 ตัวตอตารางเมตรนาน 12 สัปดาห น้ําหนักเฉลี่ยที่ความหนาแนน 10, 20 และ 30 ตัว/ตารางเมตรมีความแตกตางอยางมีนัยสําคัญ สวนน้ํา หนักรวมและอัตาการรอดตายเฉลี่ยระหวางความหนาแนนไมมีความแตกอยางมีนัยสําคัญ (Table 3) ไดทําการ คัดแยกเพศและชั่งน้ําหนัก พบวาปลาเพศเมีย และปลาเพศผู มีน้ําหนักเฉลี่ยดังตารางที่ 4 คาน้ําหนักเฉลี่ยของ ปลาเพศเมียและเพศผู (Table 4) คาความเปนกรดเปนดางอยูระหวาง 7.8-8.5 อุณหภูมิน้ําอยูในชวง 26-29 องศา เซลเซียส ตลอดการทดลอง Table 3 Average weight, Total weight and survival rate of climbing perch at densities of 10, 20 and 30 fish/m2 fed with pellet food for 12 weeks. Density (fish/ m2 ) Performance 10 20 30 Weight* (g/fish) 48.67a 41.28b 38.93c Total weight (g) 937.5a 1522.5a 2007.5a Survival rate (%) 79.16a 78.64a 70.95a * = significantly different(F-value and p-value) abc=Mean within row with the same letter are not significantly different. Table 4 Average weight of female and male of climbing perch at densities of 10, 20 and 30 fish/m2 fed with pellet food for 12 weeks.(SE = standard error) Average weight in different density (fish/ m2 ) Sex 10 20 30 Female±1SE 58.40±2.98 57.34±9.80 55.24±1.19 Male±1SE 32.39±1.27 27.78±2.37 30.42±1.65
  • 7. สรุปและวิจารณ การทดลองเลี้ยงปลาหมอไทยที่ความหนาแนน 55, 77, 99 และ 121 ตัว/ตารางเมตรในถังพลาสติกกลม พบวาที่ความหนาแนน 55 ตัว/ตารางเมตรเปนความหนาแนนที่มีอัตราการเจริญเติบโตดีที่สุด สวนการทดลอง เลี้ยงปลาที่ความหนาแนน 15, 30, 45 และ 60 ตัว/ตารางเมตรในคอกอวน พบวาความหนาแนนที่เหมาะสม 15 และ30 ตัว/ตารางเมตร หลังจากนั้นไดทดลองเลี้ยงปลาที่ความหนาแนน 10-30 ตัว/ตารางเมตรในคอกอวน พบวา ที่ความหนาแนน 10 ตัว/ตารางเมตร มีอัตราการเจริญเติบโตและอัตราการรอดตายดีที่สุด สรุปไดวาความหนา แนนที่เหมาะสมคือ 10 ตัว/ตารางเมตร แตถาตองการเลี้ยงที่ความหนาแนนที่สูงขึ้นตองมีการเพิ่มน้ําใหมเขาสูบอ เลี้ยง จากการสุมตัวอยางเพื่อหาคาน้ําหนักเฉลี่ย น้ําหนักรวม และอัตราการรอดตาย พบวาหลังจากปลอยปลา ลงบอทดลองปลาจะใชเวลาในการปรับการกินอาหารนาน 3-4 วัน ปลาจึงมีการกินอาหารไดตามปกติ จากการทดลองนี้มีขอเสนอแนะวาอัตราการเจริญเติบโตของปลาหมอไทย พบวาปลาเพศเมียมีการเจริญ เติบโตมากกวาปลาเพศผูถึง 2-3 เทาในการทดลองที่ระดับความหนาแนน 10-30 ตัว/ตารางเมตร และพบวาปลา เพศเมียจํานวนหนึ่งมีน้ําหนักถึง 100 กรัม แสดงใหเห็นวาสัดสวนเพศของปลาที่ใชทดลองมีผลตอการทดลองเนื่อง จากปลาเพศเมียมีการเจริญเติบโตมากกวาปลาเพศผู คํานิยม ขอขอบคุณมหาวิทยาลัยขอนแกนที่ใหการสนับสนุนเงินทุนวิจัย จากหมวดเงินอุดหนุนทั่วไป ซึ่งทําใหงานวิจัยนี้ลุลวงไปไดดวยดี เอกสารอางอิง กําธร โพธิ์ทองคํา. 2514. ชีววิทยาของปลาหมอไทย. แผนกทดลองและเพาะเลี้ยงสัตวน้ํา กองบํารุงพันธุสัตวน้ํา กรุงเทพฯ. สมพงษ ดุลยจินดาชบาพร. 2531. การเพาะพันธุปลาหมอไทย. วิทยานิพนธปริญญาโท. มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ. สมพงษ ดุลยจินดาชบาพร. 2542. การเพาะเลี้ยงปลาหมอไทย. ภาควิชาประมง คณะเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัย ขอนแกน. 38หนา. Doolgindachbaporn, S. 1994. Development of Optimal Rearing and Culturing Systems for Climbing Perch, Anabas testudineus (Bloch) (Perciformes, Anabantidae). Ph.D. Thesis, Department of Zoology, University of Manitoba, Winnipeg, Manitoba. Kohinoor, A.H.M., M.Z. Haque, and M.H. Osmani. 1995. Food Size Preferences of the Climbing Perch, Anabas testudineus Bloch and the African Cat fish, Clarias gariepinus Burchell larvae. Bangladesh J.Zool. 23(2):159-166.