SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
รายละเอียดของรายวิชา
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา
รหัสวิชา 2500115 ชื่อรายวิชา เหตุการณโลกรวมสมัย
2. จํานวนหนวยกิต
3 หนวยกิต 3 (3-0-6)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
4. อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาและอาจารยผูสอน
ดร.ดวงกมล อัศวมาศ ผูประสานงานวิชาและอาจารยผูสอน
ดร.สาระ มีผลกิจ อาจารยผูสอน
อ.ธนันทวัฒน สภานุรัตน อาจารยผูสอน
อ.ฐานวลัญช เว็บบ อาจารยผูสอน
อ.เอกอนงค ศรีสําอาง อาจารยผูสอน
อ.โลมดาว ภุชงคกุล อาจารยผูสอน
อ.อานุภาพ รักษสุวรรณ อาจารยผูสอน
อ.ศุภวัฒน ปภัสสรากาญจน อาจารยผูสอน
อ.ยอดชาย ชุติกาโม อาจารยผูสอน
อ.ภาวินี รอดประเสริฐ อาจารยผูสอน
อ.วสันต มหากาญจนะ อาจารยผูสอน
อ.เยาวลักษณ วัยมุข อาจารยผูสอน
ดร.สุรพงษ นิ่มเกิดผล อาจารยผูสอน
อ.อิสรีย บอวารี อาจารยผูสอน
อ.พรพิมล ลอแท อาจารยผูสอน
อ.วิณาภรณ แตงจุย อาจารยผูสอน
อ.ธนิต แสงกระจาง อาจารยผูสอน
อ.วาสนา จักรแกว อาจารยผูสอน
อ.ธนะวิทย เพียรดี อาจารยผูสอน
อ.ขวัญใจ ฤทธิ์หมุน อาจารยผูสอน
อ.เศวตฉัตร นาคะชาต อาจารยผูสอน
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปที่เรียน
เปนไปตามแผนการศึกษาของหลักสูตร
6. รายวิชาที่ตองเรียนมากอน (Pre-requisite) (ถามี)
ไมมี
มคอ. 3
2
7. รายวิชาที่ตองเรียนพรอมกัน (Co-requisites) (ถามี)
ไมมี
8. สถานที่เรียน
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งลาสุด
วันที่ 12 มกราคม 2558
หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค
1. จุดมุงหมายของรายวิชา
เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แลว นักศึกษาจะเกิดการเรียนรู/ความสามารถ/สมรรถนะที่ตองการในดาน
ตาง ๆ ไดแก
1.1 นักศึกษาสามารถอธิบายถึงพัฒนาการทางสังคมโลกในแตละสมัยไดอยางถูกตอง
1.2 นักศึกษาสามารถอธิบายถึงเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกทั้งดานสังคม วัฒนธรรม การเมือง
เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอมและภัยคุกคามตางๆ ได
1.3 นักศึกษาใหความสําคัญในการสรางจิตสํานึกในความรับผิดชอบตอตนเองและตอสังคม ตลอด
ทั้งการมีจิตสาธารณะ
1.4 นักศึกษาสามารถปฏิบัติตนตามหนาที่พลเมืองและเคารพสิทธิมนุษยชน
1.5 นักศึกษาสามารถเลือกใชขอมูลจากแหลงขอมูลและสารสนเทศตางๆ ที่นาเชื่อถือได
1.6 นักศึกษาสามารถวิเคราะหและแกปญหาตนเอง รวมทั้งการประยุกตความรูในรายวิชา เพื่อใช
ในชีวิตประจําวันของตนเอง ตลอดทั้งการดําเนินชีวิตไดตอไปในอนาคต
2. วัตถุประสงคในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
เพื่อใหเปนรายวิชาที่ทันสมัยและทันตอสถานการณการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและสังคมโลก
การพัฒนาสื่อในรายวิชาอาทิ ตํารา และแบบฝกปฏิบัติ ตองมีการปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ ตลอดทั้งการ
คัดเลือกสื่อขอมูลจากแหลงขอมูลตางๆ หลากหลายประเภทที่เชื่อถือได โดยใชประกอบการเรียนการสอนแก
นักศึกษาเพื่อใหนักศึกษาเทาทันตอกระแสแหงสังคมโลกปจจุบัน นอกจากนี้ยังไดมีการประเมินผลการเรียนการ
สอนที่สอดคลองกับสภาพการเรียนรูที่จัดใหผูเรียนและอิงพัฒนาการของผูเรียนรวมดวย
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ
1. คําอธิบายรายวิชา
ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกจากอดีตถึงปจจุบันและแนวโนมในอนาคต ทั้งดานการเมือง
เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดลอมและภัยคุกคามตางๆ สรางความรูความเขาใจและความสามารถใน
การคิดวิเคราะห เพื่อปรับตัวและการแกไขปญหาดวยความรับผิดชอบตอสังคม โดยเคารพในศักดิ์ศรีความ
เปนมนุษยและความหลากหลายทางวัฒนธรรม
Study the changing of the society in the past, present and future with knowledge
of the world movement, and important situation in term of politics, economy, natural
มคอ. 3
3
environment, human security and socio-cultural issues. These include trends in the future
in order to make use of this knowledge in daily life for the benefit of the learner to
increase awareness of and respect for human rights and cultural diversity across local and
global communities.
2. จํานวนชั่วโมงที่ใชตอภาคการศึกษา
บรรยาย การฝก สอนเสริม ปฏิบัติ/งาน
ภาคสนาม/การฝกงาน
การศึกษาดวยตนเอง
45 สอนเสริมตามความ
ตองการของนักศึกษา
เฉพาะราย
โครงการศึกษาดูงานแหลง
เรียนรูนอกหองเรียน
90 ชั่วโมง
3. จํานวนชั่วโมงตอสัปดาหที่อาจารยใหคําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนักศึกษาเปน
รายบุคคล ตามความตองการของนักศึกษา อยางนอย 6 ชั่วโมง/ตอสัปดาห
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรูของนักศึกษา
วิชาเหตุการณโลกรวมสมัยเนนความรับผิดชอบหลักดานคุณธรรม จริยธรรม ขอ 2 และ ขอ 4
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ตองพัฒนา
1) ตระหนักถึงคุณคาของคุณธรรม และจริยธรรม
1.1) มีความรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย ซึ่งเปนสถาบันหลักของชาติในปจจุบัน
1.2) ใหความสําคัญตอการสรางจิตสํานึกและตระหนักในปญหาดานตางๆ ของสังคมโลก
1.3) ใหความสําคัญตอความรับผิดชอบทั้งตนเองและตอสังคมโลกโดยรวม
1.4) มีใจใฝหาความรู ศึกษาเลาเรียนในทุกทางทั้งทางตรงและทางออม
2) มีพฤติกรรมที่มีความรับผิดชอบตอตนเอง สังคม และมีจิตสาธารณะ
2.1) ใหความสําคัญตอความรับผิดชอบ การมีระเบียบวินัยตอตนเองและในกิจกรรมตางๆ ที่ไดรับ
มอบหมาย ตลอดทั้ง
2.2) ใหความสําคัญตอมีสวนรวมในการปฏิบัติหนาที่เปนพลเมืองที่ดีและประพฤติตนเปนคนที่มี
คุณภาพ
2.3) มีสวนรวมตอบทบาทหนาที่และความรับผิดชอบอันเปนประโยชนตอสังคมสวนรวม
2.4) ซื่อสัตย เสียสละ อดทน และเอื้อเฟอเผื่อแผ รวมทั้งมีอุดมการณในสิ่งที่ดีงามตอสวนรวม
2.5) สรางจิตสาธารณะตอสังคมโดยสวนรวม
2.6) กตัญูตอพอแม ผูปกครองและครูอาจารย
2.7) มีศีลธรรม รักษาความสัตย
2.8) มีความละอายและเกรงกลัวตอบาปตามหลักศาสนา
3) มีภาวะผูนําเอื้อเฟอเผื่อแผตอผูอื่น และสามารถทํางานรวมกับผูอื่นได
3.1) สรางความเปนผูนําและผูตามที่ดี รวมทั้งการมีสัมมาคารวะเคารพผูใหญ
มคอ. 3
4
3.2) ใหความสําคัญตอการอยูรวมกับบุคคลตางๆ ได
4) มีความเคารพในสิทธิ และความมีคุณคาของตนเอง และผูอื่น
4.1) เคารพและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น
4.2) เคารพสิทธิ และศักดิ์ศรีในความเปนมนุษยไมเบียดเบียนซึ่งกันและกัน
4.3) เคารพกฎเกณฑและกติกาตางๆ ของทางสังคมโดยสวนรวม
4.4) ปฏิบัติตนใหเปนผูที่เห็นแกประโยชนสวนรวมตอชาติและตอโลก
1.2 วิธีการสอน
จัดการเรียนรูโดยการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบ ประกอบการบรรยาย
พรอมยกกรณีศึกษาเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และใหนักศึกษาไดใชกระบวนการแกปญหา (Problem
Based Learning) จากกรณีศึกษา (Case Study) ที่ยกตัวอยาง นอกจากนี้ยังใชวิธี
1) อาจารยผูสอนเปนแบบอยางที่ดีในดานคุณธรรม จริยธรรมและความรับผิดชอบ
2) เพิ่มการอบรมจิตสํานึกคุณธรรม จริยธรรม สรางจิตสาธารณะ และความรับผิดชอบโดย
สอดแทรกอยูในเนื้อหารายวิชา
3) ใชกรณีศึกษาจากสื่อจากเหตุการณ และขาวตางๆ เนนใหนักศึกษามีความเคารพในเรื่อง สิทธิ
มนุษยชนทั้งตอตนเองและบุคคลอื่นๆ
4) มอบหมายงานกลุมใหเกิดการระดมสมอง (Focus group)
1.3 วิธีการประเมินผล
1) ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเขาชั้นเรียน การสงงานตามกําหนด ระยะเวลาที่
มอบหมาย การรวมกิจกรรมและการสังเกตพฤติกรรมในระหวางเรียน
2) จากการสังเกตการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางความคิด อารมณ และการแสดงออกภายหลังจาก
การเรียนการสอน การบรรยายและสื่อที่ใชประกอบในการเรียน
3) ประเมินจากความรับผิดชอบในหนาที่ที่ไดรับมอบหมายในชั้นเรียน
วิชาเหตุการณโลกรวมสมัยเนนความรับผิดชอบหลักดานความรู ขอ 1 ขอ 3 และขอ 4
2. ความรู
2.1 ความรูที่ตองไดรับ
1) มีความรูความเขาใจในศาสตรที่เปนพื้นฐานในการดํารงชีวิต
1.1) อธิบายถึงพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมโลกทั้งทางดานสังคม วัฒนธรรม
เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง สิ่งแวดลอมและภัยคุกคามตางๆ ได
1.2) อธิบายถึงความสัมพันธระหวางวิถีการดํารงชีวิตของสังคมไทยในบริบทของสังคมโลก
1.3) ยึดมั่นรักษาวัฒนธรรมและประเพณีไทยใหควบคูกับวัฒนธรรมโลก
1.3) วิเคราะหถึงปญหา สาเหตุ ผลกระทบ และเทคนิควิธี เพื่อการเรียนรูในการดํารงชีวิตใน
สังคมไทยและสังคมโลก
2) สามารถจําแนก และอธิบายองคความรูที่ศึกษา
2.1) อธิบายถึงองคความรูที่ไดรับและปรับใชในการดํารงชีวิตประจําวันได
3) มีความรูเกี่ยวของกับชุมชน และความเปนไปของชาติและสังคมโลก
มคอ. 3
5
3.1) วิเคราะหถึงพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ที่เปนผลตอสังคมไทยอันไดแก
สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง และการปกครอง
3.2) อธิบายถึงความสัมพันธของสังคมไทยในบริบทของสังคมโลก
3.3) อธิบายถึงลักษณะของระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข
4) สามารถบูรณาการและประยุกตใชกับศาสตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ รวมถึงดําเนินชีวิตไดอยางมี
คุณภาพ
4.1 สามารถประยุกตใชความรูที่ได เพื่อการพัฒนาและปรับตัวใหดํารงอยูไดในสถานการณที่
เปลี่ยนแปลงไป
4.2 สามารถดําเนินชีวิตในทุกดานไดอยางเหมาะสม พอเพียง และมีคุณภาพตามพระราชดํารัส
ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ตลอดทั้งประพฤติตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
2.2 วิธีการสอน
1) ใชการเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ ทั้งการบรรยายเนื้อหาสวนที่เปนแนวคิดทฤษฎีและ
การวิเคราะหจากหลายสถานการณ
2) ฝกทักษะกระบวนการแสวงหาความรูและสงเสริมใหผูเรียนสรางความรู ความเขาใจในเรื่องที่
ศึกษาดวยตนเอง โดย จัดกิจกรรมแบบผูเรียนมีสวนรวม เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง (Student Center) การ
อภิปรายกลุม (Group Discussion) และการระดมสมอง (Focus group) ทั้งจากการคนควาดวยตนเอง
(Self Study) ผานระบบเครือขายขอมูลสารสนเทศ (internet) และสื่อตางๆ
3) ใชกรณีศึกษา (Case Study) โดยบรรยายประกอบสื่อสิ่งพิมพ สื่อวีดีทัศน และสื่อสารสนเทศ
ตางๆ ที่เกี่ยวของกับสังคมโลก เพื่อใหนักศึกษานําความรูจากบทเรียน และประสบการณ วิเคราะหถึง
สาเหตุ ผลกระทบ และแนวในการเรียนรู
4) การจัดการเรียนรูจากสถานการณจริงโดยเชิญผูเชี่ยวชาญที่มีประสบการณตรงมาเปนวิทยากร
พิเศษเฉพาะเรื่อง
5) การทําโครงการ (Project Based Learning)/รายงาน ใหนักศึกษาทําโครงการหรือรายงานดัง
รายละเอียดตามหัวขอที่กําหนด เพื่อเปนการเพิ่มพูนความรูจากเนื้อหาในรายวิชา
2.3 วิธีการประเมินผล
1) การทําแบบทดสอบกอนและหลังเรียน (Pre-test and Post-test)
2) พิจารณาจากการอภิปรายประเด็นเนื้อหาในบทเรียนรวมกัน
3) การสอบเก็บคะแนนยอยแบบทดสอบจากเนื้อหาในบทเรียน
4) การสอบปลายภาค
5) การทําแบบฝกปฏิบัติ
6) จากผลสัมฤทธิ์ของรายงาน/โครงการ ฯ โดยพิจารณาจาก Rubric
7) จากการนําเสนอผลงานในชั้นเรียน
8) จากคาระดับคะแนนที่ไดรับเมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา
มคอ. 3
6
วิชาเหตุการณโลกรวมสมัยเนนความรับผิดชอบหลักดานทักษะทางปญญา ขอ 3 และขอ 4
3. ทักษะทางปญญา
3.1 ทักษะทางปญญาที่ตองพัฒนา
1) สามารถคิดอยางเปนระบบ
1.1) สามารถพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง และ
สภาพแวดลอมในบริบทสังคมโลกที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง
1.2) สามารถรวบรวมและวิเคราะหขอมูล โดยบูรณาการจัดทําเปนรายงาน/โครงการ ฯ ได
2) สามารถคนควา ศึกษาวิเคราะหขอมูลตาง ๆ ไดเปนอยางดี
2.1) สามารถรวบรวมและวิเคราะหขอมูลที่เกี่ยวกับบริบทของสังคมโลกได
2.2) สามารถเลือกแหลงขอมูลประเภทตางๆ ที่นาเชื่อถือใชในการศึกษาคนควาได
3) สามารถประยุกตความรูและทักษะของตนเองในการดําเนินชีวิตได
3.1) ประยุกตใชขอมูลจากแหลงตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ
3.2) สรางแนวความคิดใหมๆ อยางสรางสรรค
3.3) ถายทอดขอมูลรวมทั้งแลกเปลี่ยนความรูกับผูอื่นได
3.4) ใชความรูในการพัฒนาสังคมและชุมชนของตนได
4) สามารถวิเคราะหและแกไขปญหาในการดําเนินชีวิตไดอยางสรางสรรค
4.1) สามารถจําแนกขอมูลแยกแยะความนาเชื่อถือของขอมูลความรูตางๆ ได
4.2) สามารถนําความรูไปประยุกตใชเพื่อแกปญหาในชีวิตประจําวันไดเปนอยางดี
3.2 วิธีการสอน
1) เปดประเด็น/สรางคําถามในชั้นเรียนอยางตอเนื่อง
2) จัดกิจกรรมแบบผูเรียนมีสวนรวม มีการอภิปรายกลุม (Group Discussion) และการระดมสมอง
(Focus group) เชน ระบุกรณีศึกษาปญหาในชีวิตประจําวัน เพื่อฝกใหนักศึกษาหาแนวทางแกไข
3) การทําโครงการ (Project Based Learning) หรือ รายงาน ซึ่งเปนกระบวนการเรียนรูของผูเรียนที่
จะตองสืบคน เสาะหา สํารวจ ตรวจสอบ และคนควา ดวยวิธีการตาง ๆ ทําใหผูเรียนตองใช กรณีศึกษา (Case
Study) กรณีปญหา (Problem Based Learning) รวมทั้ง การอภิปรายกลุม (Group Discussion) และ การระดม
สมอง (Focus group) เพื่อใหผูเรียนสามารถแกปญหาเฉพาะหนาได มีความคิดริเริ่มในการทํางานใหมีประสิทธิภาพ
และประสิทธิผลมากขึ้นและ สามารถสรางเปนองคความรูของผูเรียนเองได
4) แนะนําแหลงขอมูลประเภทตางๆ และวิธีการเลือกขอมูลที่นาเชื่อถือในการคนควาประกอบการ
ทําโครงการ ฯ หรือรายงาน และสําหรับการศึกษาคนควาดวยตนเอง ไดแก เอกสาร หนวยงาน องคกร สื่อ
สิ่งพิมพ สื่ออิเลกโทรนิกส เชน ระบบเครือขายขอมูลสารสนเทศ (Internet) และบุคคลตัวอยาง หรือผูมี
ประสบการณ
5) พานักศึกษาไปทัศนศึกษาสถานที่ที่เกี่ยวของกับสัมพันธกับเนื้อหาในรายวิชา
3.3 วิธีการประเมินผล
1) ประเมินตามสภาพจริงจากการแสดงความคิดเห็น การแกปญหา ผลงาน และการนําเสนอ
ผลงานในชั้นเรียน
2) การทดสอบโดยใชการสัมภาษณ
มคอ. 3
7
วิชาเหตุการณโลกรวมสมัยเนนความรับผิดชอบหลักดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและ
ความรับผิดชอบ ขอ 1 และขอ 4
4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบที่ตองพัฒนา
1) มีความสามารถทํางานเปนกลุมในฐานะผูนําและผูตามได
1.1 มีความสามารถในการปฏิบัติตนเปนผูนําและผูตามที่ดีมีความรับผิดชอบ รวมทั้งทํางานเปน
กลุมได
1.2 ใหความสําคัญตอการรับรูถึงความรูสึกของผูอื่น เขาใจผูอื่น มีมุมมองเชิงบวกและมีวุฒิภาวะ
ทางอารมณ
2) สามารถริเริ่มสรางสรรค แนวทางที่เปนประโยชนตอการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ได
2.1) เปนผูใฝหาความรูอยูตลอดเวลา
3) มีมนุษยสัมพันธที่ดีสามารถสื่อสารกับผูอื่นไดเปนอยางดี ทั้งภาษาไทย และภาษาตางประเทศ
3.1) สามารถสื่อสารไดอยางมีกาลเทศะและรูจักเคารพผูใหญ
4) มีการคนควาและวางแผนในการเรียนรู และพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง
4.1) สามารถวางแผนชีวิตตนเองได
4.2) สามารถคนควาขอมูลตางๆ อันเปนประโยชนตอตนเองและสังคมไดอยางตอเนื่อง
4.3) สามารถพัฒนาตนเองจากงานและกิจกรรมที่มอบหมายใหมีคุณภาพ
4.2 วิธีการสอน
1) เปดโอกาสซักถามผูสอนในเนื้อหาบทเรียน และเกณฑในการเรียนตางๆ
2) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบมีสวนรวมเพื่อสรางความรวมมือ
3) การมอบหมายงานกลุม ที่ใชการทําโครงการ (Project Based Learning) หรือ รายงานให
ผูเรียนไดใชการระดมสมอง (Focus group) ในการแสวงหาความรู การคนควาหาคําตอบ การแกปญหา
หรือการตอบขอสงสัยตามความสนใจของตนเองหรือกลุม โดยใชทักษะกระบวนกลุมในการดําเนินงาน
ตลอดทั้งการพัฒนาคุณภาพของผลงาน
4) เปดโอกาสใหนักศึกษาที่ไมเขาชั้นเรียน ทําแบบประเมินผลการเรียนรู หรือแบบทดสอบความรู
ความเขาใจประจําบท ฉบับใหมที่แตกตางจากนักศึกษาที่เขาชั้นเรียนตามปกติ
4.3 วิธีการประเมินผล
1) จากการพฤติกรรมและการแสดงออก เชน ซักถามระหวางผูสอนและผูเรียน
2) สังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการรวมกิจกรรมตาง ๆ
3) พิจารณาจากผลงานโครงการฯ หรือ รายงาน ความครบถวนชัดเจนตรงประเด็นของขอมูลที่ได
มอบหมาย
วิชาเหตุการณโลกรวมสมัยเนนความรับผิดชอบหลักดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การ
สื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ขอ 1 ขอ 2 และขอ 5
5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่ตองพัฒนา
มคอ. 3
8
1) มีทักษะในการใชเครื่องมือที่จําเปนเกี่ยวของกับคอมพิวเตอร
1.1 ทําการการสืบคนสื่อจากแหลงขอมูลตางๆ ที่หลากหลาย อาทิทางอินเทอรเน็ต เครือขาย
สังคมออนไลน และจากแหลงเรียนรูนอกหองเรียนแหลงตางๆ
1.2) ทําสื่อประเภทตาง ๆ ประกอบการนําเสนอโครงการ ฯ หรือ รายงานและผลงานตาง ๆ ได
อยางมีประสิทธิภาพ
2) สามารถสืบคนขอมูล วิเคราะหเพื่อนํามาประยุกตใชในชีวิตประจําวันได
2.1) วิเคราะหสถานการณตางๆ ในบริบทสังคมโลกไดอยางมีคุณภาพ
2.2) ทําการสืบคนและคัดเลือกขอมูลที่นาเชื่อถือเพื่อใชประโยชนได
3) สามารถใชภาษาในการสื่อสาร ถายทอดและแลกเปลี่ยนความรูกับผูอื่นไดเปนอยางดี
4) สามารถนําเสนอและสื่อสารโดยใชสารสนเทศทางคณิตศาสตรหรือการแสดงสถิติได
5) สามารถเลือกใชขอมูลและสารสนเทศเพื่อประยุกตใชในการดํารงชีวิตและแกไขปญหาของ
ตนเองไดอยางเหมาะสม
5.1) ใหความสําคัญตอเทคโนโลยีตางๆ อันเปนประโยชนตอการดํารงชีวิต
5.2) ใชขอมูลประเภทตางๆ ในการปรับประยุกตใชและแกไขสําหรับชีวิตประจําวันไดอยาง
เหมาะสม
5.2 วิธีการสอน
1) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหรูจักการวิเคราะหสถานการณตางๆ จากกรณีศึกษาและตัวอยาง
จากขอมูลและสื่อสารสนเทศตางๆ
2) แนะนําเทคนิคการสืบคนขอมูล แหลงขอมูล และวิธีการเลือกขอมูลที่นาเชื่อถือ
3) มอบหมายงานใหนักศึกษาคนควาดวยตนเอง (Case Study) โครงการฯ หรือ รายงานตามหัวขอ
ที่กําหนดใหและนํามานําเสนอ โดยสืบคนจากสื่ออิเลกทรอนิกส
5.3 วิธีการประเมินผล
1) การอภิปรายและการมีสวนรวมในระหวางชั้นเรียน
2) สังเกตพฤติกรรมในการแสดงออกในเรื่องการวิเคราะหและการใชเหตุผล
3) การจัดทํา โครงการฯ หรือ รายงาน ตลอดทั้งการนําเสนอดวยสื่อเทคโนโลยีประเภทตาง
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
สัปดาห
ที่
หัวขอ/รายละเอียด จํานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน
สื่อที่ใช (ถามี)
ผูสอน
1 • ปฐมนิเทศและแนะนําแนวทาง
จัดการเรียนการสอนในรายวิชา
• พัฒนาการทางสังคมโลก
• มนุษยชาติกับพัฒนาการทาง
สังคม
3 - ชี้แจงแนวการสอน
- ทดสอบความรูกอนเรียน
- เอกสารแนวการสอนและทดสอบความรู (Pretest)
- สื่อ Power point Computer และ Overhead
Projector
คณาจารย
ผูสอน
มคอ. 3
9
สัปดาห
ที่
หัวขอ/รายละเอียด จํานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน
สื่อที่ใช (ถามี)
ผูสอน
2 • ภูมิหลังพัฒนาการทางสังคม
โลก
• พัฒนาการทางสังคมวัฒนธรรม
โลกกอนป ค.ศ.1492
3 - บรรยายเนื้อหาครั้งที่ 1 และนําเสนอกรณีศึกษา
- การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนรวมกัน
- เอกสารแนวการสอน
- สื่อ Power point , Computer, Overhead,
Projector
คณาจารย
ผูสอน
3 • สังคมโลกหลังการปฏิวัติ
อุตสาหกรรม
• พั ฒ น า ก า ร ท า ง สั ง ค ม
วัฒนธรรมโลกสมัย ใหม
3 - บรรยายเนื้อหา และนําเสนอกรณีศึกษา
- การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนรวมกัน
-สื่อPowerpoint, สื่อ online จาก YouTube
-ComputerและOverheadProjector
คณาจารย
ผูสอน
4 • สถานการณโลกปจจุบันและ
แนวโนมในอนาคต
• พัฒนาการทางสังคมวัฒนธรรม
โลกสมัย ใหม
3 - บรรยายเนื้อหา และนําเสนอกรณีศึกษา
- การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนรวมกัน
-สื่อPowerpoint, สื่อ online จาก YouTube
-ComputerและOverheadProjector
คณาจารย
ผูสอน
5 • กิจกรรมที่ 1 แบงกลุมยอย เพื่อ
ฝกวิเคราะหสถานการณที่โดยการ
อภิปรายกลุมและมอบหมาย
คนควาโครงการฯ/รายงาน)
3 - แบงกลุมยอยและการศึกษาเชิงวิเคราะหทํา
กิจกรรมอภิปรายแบบมีสวนรวมและสรุปสิ่งที่ได
เรียนรูรวมกัน
- กระดาษ และอุปกรณเครื่องเขียน
คณาจารย
ผูสอน
6 • การเปลี่ยนแปลงทางสังคม
และวัฒนธรรมโลกรวมสมัย
3 - บรรยายเนื้อหา และการศึกษาเชิงวิเคราะห
- การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนรวมกัน
- สื่อPowerpoint, สื่อ online จาก YouTube
- Computer และOverhead Projector
คณาจารย
ผูสอน
7 • ระบบเศรษฐกิจโลกกับการ
กาวสูระบบทุนนิยมโลกและ
การคาเสรี
3 - บรรยายเนื้อหา และนําเสนอกรณีศึกษา
- การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนรวมกัน
-สื่อPowerpoint, สื่อ online จาก YouTube
-ComputerและOverheadProjector
คณาจารย
ผูสอน
8 • กิจกรรมที่ 2 ทัศนศึกษานอก
สถานที่
3 - แบบทดสอบความรูจากแหลงเรียนรูนอกสถานที่
- กระดาษ และอุปกรณเครื่องเขียน
- ฟงบรรยายจากวิทยากรผูใหความรูในสถานที่จริง
คณาจารย
ผูสอน
และวิทยากร
9 • การปรับตัวของรัฐชาติใน
กระแสแหงการเปลี่ยนแปลง
3 - บรรยายเนื้อหา และนําเสนอกรณีศึกษา
- การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนรวมกัน
-สื่อPowerpoint, สื่อ online จาก YouTube
-ComputerและOverheadProjector
คณาจารย
ผูสอน
10 • สันติภาพกับมนุษยชาติ 3 - บรรยายเนื้อหา และนําเสนอกรณีศึกษา
- การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนรวมกัน
-สื่อPowerpoint, สื่อ online จาก YouTube
-ComputerและOverheadProjector
คณาจารย
ผูสอน
11 • กิจกรรมที่ 3 แบงกลุมยอย
เพื่อฝกวิเคราะหสถานการณ
(จากตัวอยางกรณีศึกษา)
3 - แบงกลุมยอยและการศึกษาเชิงวิเคราะหทํา
กิจกรรมอภิปรายแบบมีสวนรวมและสรุปสิ่งที่ได
เรียนรูรวมกันจากวิทยากรบรรยาย
- กระดาษ และอุปกรณเครื่องเขียน
คณาจารย
ผูสอน
มคอ. 3
10
สัปดาห
ที่
หัวขอ/รายละเอียด จํานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการสอน
สื่อที่ใช (ถามี)
ผูสอน
12 • สถานการณสิ่งแวดลอมและ
ทรัพยากร ธรรมชาติ
• กิจกรรมที่ 5 ทําแบบทดสอบ
3 - บรรยายเนื้อหา และการศึกษาเชิงวิเคราะห
- การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนรวมกัน
- สื่อ Powerpoint Computer และOverhead Projecto
- แบบทดสอบ
คณาจารย
ผูสอน
13 • การนําเสนอโครงการ/
รายงานของนักศึกษา
3 - การซักถาม แสดงความคิดเห็น และอภิปราย
เนื้อหาที่ฟงรวมกัน
คณาจารย
ผูสอน
14 • กิจกรรมที่ 5 แบบฝกปฏิบัติ 3 - การซักถาม แสดงความคิดเห็น
- แบบฝกปฏิบัติ
คณาจารย
ผูสอน
15 • ปจฉิมนิเทศ ทบทวนบทเรียน 3 - การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนรวมกัน
- ตําราหลักและแบบฝกปฏิบัติ
- ทดสอบความรู (Post-test)
* นําเสนอพรอมสงรายงาน/โครงการที่สําเร็จ
คณาจารย
ผูสอน
16 สอบปลายภาค - การผานเกณฑการประเมินของมหาวิทยาลัย
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู
กิจกรรม
ที่
ผลการเรียนรู วิธีการประเมิน สัปดาหที่
ประเมิน
สัดสวนของการ
ประเมินผล
1 1.1, 2.1, 3.1, 4.1 และ 5.1 1. พฤติกรรม ระเบียบวินัย การแสดงออก
ความรับผิดชอบ และการมีสวนรวม
2. ประเด็นองคความรู ทักษะ การบูรณาการ
การสืบคนขอมูล และการประยุกตไปใช
3.การนําเสนองานผลงานตางๆ และ
สัมฤทธิผลของงาน
โดยไดแสดงเกณฑการใหคะแนนในตารางที่ 3
13,15 20%
2 2.1, 3.1 และ 5.1 แบบทดสอบความรูจากการทัศนศึกษานอก
สถานที่
8 10%
3 1.1, 2.1, 3.1, 4.1 และ 5.1 1. พฤติกรรม ระเบียบวินัย การแสดงออก
ความรับผิดชอบ และการมีสวนรวม
2. ประเด็นองคความรู ทักษะ การบูรณาการ
การสืบคนขอมูล และการประยุกตไปใช
3.การนําเสนองาน ผลงานตางๆ และ
สัมฤทธิผลของงานโดยไดแสดงเกณฑการให
คะแนนในตารางที่ 1
11 10%
4 2.1 และ 3.1 แบบทดสอบความรู 12 10%
5 1.1, 2.1, 3.1 และ 4.1 1. พฤติกรรม ระเบียบวินัย การแสดงออก
ความรับผิดชอบ และการมีสวนรวม
2. ประเด็นองคความรู ทักษะ การบูรณาการ
การสืบคนขอมูล และการประยุกตไปใช
3. สัมฤทธิผลของงาน
โดยไดแสดงเกณฑการใหคะแนนในตารางที่ 2
14 10%
มคอ. 3
11
กิจกรรม
ที่
ผลการเรียนรู วิธีการประเมิน สัปดาหที่
ประเมิน
สัดสวนของการ
ประเมินผล
6 ขอสอบปลายภาค 1. ตามจุดประสงคจากเนื้อหาในหนวยการ
เรียนของรายวิชาเหตุการณโลกรวมสมัย
2. เกณฑมหาวิทยาลัย
โดยไดแสดงเกณฑการใหคะแนนในตารางที่ 4
และ 5
16 40%
*รายละเอียดการประเมินผล แสดงในเชิง Rubric ดังนี้
ตารางที่ 1 เกณฑในการใหคะแนน กิจกรรมกลุม (10 คะแนน)
ระดับคะแนน เกณฑการใหคะแนน
9-10 = A การวิเคราะหเนื้อหารวมกัน เนื้อหามีความครบถวนสมบูรณ และสงตามกําหนดเวลา
7-8 = B การวิเคราะหเนื้อหารวมกัน เนื้อหาเกือบสมบูรณ และสงตามกําหนดเวลา
5-6 = C การวิเคราะหเนื้อหารวมกัน เนื้อหาไมสมบูรณแตยังสงตามกําหนดเวลา
4-1 = D ไมรวมมือกันในเรื่องการวิเคราะห เนื้อหาไมสมบรูณ-สงลาชากวาระยะเวลาที่กําหนด
0 = F ไมสง
ตารางที่ 2 เกณฑในการใหคะแนนแบบฝกปฏิบัติ (10 คะแนน)
ระดับคะแนน เกณฑการใหคะแนน
9-10 = A ทําแบบฝกปฏิบัติเรียบรอย สะอาด ลายมืออานงาย ถูกตองและครบถวนทั้งหมด และสงตาม
กําหนดเวลา
7-8 = B ทําแบบฝกปฏิบัติ ถูกตองบางสวนแตครบถวนทั้งหมด และสงตามกําหนดเวลา
6 = C ทําแบบฝกปฏิบัติไมถูกตองบางสวน หรือไมครบถวน และสงตามกําหนดเวลา
1-5= D ทําแบบฝกปฏิบัติไมถูกตอง หรือไมครบถวน ลายมืออานไมออก สกปรก ลอกเพื่อน และสงลาชา
0 = F ไมสง
ตารางที่ 3 เกณฑการใหคะแนนรายงาน/โครงการ (20 คะแนน)
เกณฑ
คะแนน
1.ความนาสนใจและ
ประโยชนของโครงการ/
รายงาน และระดับ
ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ข อ ง
โครง การ (5คะแนน)
2.ความสนใจ และ
ความกระตือรือรนใน
การดําเนินกิจกรรม
(5 คะแนน)
3. รูปเลมและเนื้อหา
ของโครงการ/รายงาน
และการใชภาษาเชิง
วิชาการ*
(5 คะแนน)
4.การอภิปราย และ
รูปแบบการนําเสนอ
โครงงาน/รายงานใน
ชั้นเรียน
(5 คะแนน)
5 คะแนน โค ร งกา ร /ร าย ง า น
น า ส น ใ จ แ ล ะ เ ป น
ประโยชนตอสังคม มาก
หรือเปนโครงการที่เปน
ประโยชนในระดับ
ประเทศ
สงแบบเสนอโครงการ /
รายงาน โดยมีการ
รายงานความกาวหนา
ของโครงการครบ 2
ครั้ง และสงรายงาน
ฉ บั บ ส ม บู ร ณ ต า ม
กําหนดเวลา
โครงการ/รายงาน มี
เนื้อหาครบ ถวนและ
ถูกตอง ขอมูลและการ
อางอิงไดจากแหลงที่
นาเชื่อถือ รูปเลมรายงาน
ครบถวนและถูกตอง และ
สามารถใชภาษาทาง
วิชาการไดเหมาะสม
มีความพรอมในการ
นํา เ สน อ นํ า เส น อ
ต า ม ลํ า ดั บ หั ว ข อ
โครงการ/รายงาน
ครบถวน สื่อที่ใชในการ
นําเสนอมีคุณภาพดีและ
เหมาะสม รวมทั้งอยูใน
เวลานําเสนอที่กําหนด
4 คะแนน โครงการนาสนใจ และ
เปนประโยชนตอสังคม
สงแบบเสนอโครงการ/
รายงาน และรายงาน
ฉบับสมบูรณตาม
โครงการ/รายงานมีเนื้อ
หาครบถวน แตไมถูก
ตอง 1- 2 หัวขอขอมูล
มีความพรอมในการนํา
เสนอ แตไมเรียง ลําดับ
หัวขอโครงการ/รายงาน
มคอ. 3
12
เกณฑ
คะแนน
1.ความนาสนใจและ
ประโยชนของโครงการ/
รายงาน และระดับ
ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ข อ ง
โครง การ (5คะแนน)
2.ความสนใจ และ
ความกระตือรือรนใน
การดําเนินกิจกรรม
(5 คะแนน)
3. รูปเลมและเนื้อหา
ของโครงการ/รายงาน
และการใชภาษาเชิง
วิชาการ*
(5 คะแนน)
4.การอภิปราย และ
รูปแบบการนําเสนอ
โครงงาน/รายงานใน
ชั้นเรียน
(5 คะแนน)
กําหนด เวลา แตสง
รายงานความ กาวหนา
ของโครงการ/รายงาน
ตามกําหนดเวลา 1 ครั้ง
และการอางอิงไดจาก
แหลงที่นาเชื่อถือ รูปเลม
รายงานครบถวนและถูก
ตองการใชภาษาสวนใหญ
เหมาะสม
และไมครบ ถวน สื่อที่ใช
ใน การนําเสนอมีคุณภาพ
ดีและเหมาะสมรวมทั้งอยู
ในเวลานําเสนอที่กําหนด
3 คะแนน โ ค ร งก า ร /ร า ย งา น
น า ส น ใ จ แ ล ะ เ ป น
ประโยชนตอสังคม
พอสมควร
สงแบบเสนอโครงการ/
รายงาน และรายงาน
ฉ บั บ ส ม บู ร ณ ต า ม
กําหนดเวลา แตไมไดสง
รายงานความ กาวหนา
ของโครงการ/รายงาน
โครงการ/รายงาน มี
เนื้อหาครบ ถวนแตไม
ถูกตอง 3- 4 หัวขอ
ขอมูลและการอางอิงได
จากแหลงที่นาเชื่อถือ
รูปเลมรายงานครบถวน
และถูกตอง การใชภาษา
เหมาะสมปานกลาง
มีความพรอมในการ
นําเสนอพอสมควร แต
ไมเรียงลําดับหัวขอ
โครงการ/รายงาน และ
ไมครบถวน สื่อที่ใชใน
การนําเสนอมีคุณภาพดี
และเหมาะสมรวมทั้งอยู
ในเวลานําเสนอที่กําหนด
2 คะแนน โ ค ร งก า ร /ร า ย งา น
น า ส น ใ จ แ ล ะ เ ป น
ประโยชนตอสังคมนอย
สงแบบเสนอโครงการ/
รายงานตามกําหนด
เวลา แตสงรายงาน
ฉ บั บ ส ม บู ร ณ เ กิ น
กําหนด และไมไดสง
รายงานความกาวหนา
ของโครงการ/รายงาน
โครงการ/รายงาน มี
เนื้อหาครบถวน แตไม
ถูกตอง 5- 6 หัวขอ
ขอมูลและการอางอิงได
จากแหลงที่ไมนาเชื่อถือ
รูปเลมรายงานไมถูกตอง
การใชภาษาสวนใหญไม
คอยเหมาะสม
ความพรอมในการ
นําเสนอนอยไมเรียง
ลําดับหัวขอโครงการ/
รายงานและไมครบถวน
สื่อที่ใชในการนําเสนอมี
คุณภาพต่ํา และไม
เหมาะสมรวมทั้งไมอยูใน
เวลานําเสนอที่กําหนด
1 คะแนน โครงการ/รายงาน ไม
น า ส น ใ จ แ ล ะ เ ป น
ประโยชนตอสังคม นอย
มาก
สงแบบเสนอโครงการ/
รายงาน และรายงาน
ฉ บั บ ส ม บู ร ณ เ กิ น
กําหนดเวลา และไมได
สงรายงานความกาว
โครงการ/รายงาน มี
เนื้อหาครบถวน แตไม
ถูกตองตั้งแต 7 หัวขอ
ขึ้นไป ขอมูลและการ
อางอิงไดจากแหลงที่ไม
ไมมีความพรอมในการ
นําเสนอ ไมเรียงลําดับ
หัวขอโครงการ/รายงาน
และไมครบถวน สื่อที่ใช
ในการนําเสนอมี
หนาของโครงการ/
รายงาน
นาเชื่อถือรูปเลมรายงาน
ไมถูกตอง การใชภาษา
ตองปรับปรุง
คุณภาพต่ํามาก และไม
เหมาะสมรวมทั้งไมอยูใน
เวลานําเสนอที่กําหนด
เนื้อหาประกอบดวย
• ชื่อโครงการ
• ผูจัดทําและอาจารยผูควบคุม
• ความเปนมาและความสําคัญของโครงการ
• วัตถุประสงค ขอบเขตการศึกษา วิธีการศึกษา ระยะเวลาและแผนการดําเนินโครงการ งบประมาณที่ใช ผลที่
คาดวาจะไดรับและคาเปาหมาย ผลการศึกษา สรุปผลการศึกษา ขอเสนอแนะ และเอกสารอางอิง
มคอ. 3
13
ตารางที่ 4 เกณฑจุดประสงคขอสอบปลายภาคจากเนื้อหาในหนวยการเรียนของรายวิชาเหตุการณโลกรวมสมัย
ตารางที่ 5 เกณฑสรุปการประเมินผลการเรียน
เกรด คะแนน เกณฑการพิจารณา
A 90 – 100 การทําแบบทดสอบความรู สงกิจกรรมกลุม สงแบบฝกปฏิบัติ สงโครงการ ฯ และสอบปลายภาคได 90-100 %
B+ 85-89 การทําแบบทดสอบความรู สงกิจกรรมกลุม สงแบบฝกปฏิบัติ สงโครงการ ฯ และสอบปลายภาคได 85-89 %
B 75-84 การทําแบบทดสอบความรู สงกิจกรรมกลุม สงแบบฝกปฏิบัติ สงโครงการ ฯ และสอบปลายภาคได 75-84 %
C+ 70-74 การทําแบบทดสอบความรู สงกิจกรรมกลุม สงแบบฝกปฏิบัติ สงโครงการ ฯ และสอบปลายภาคได 70-74 %
C 60-69 การทําแบบทดสอบความรู สงกิจกรรมกลุม สงแบบฝกปฏิบัติ สงโครงการ ฯ และสอบปลายภาคได 60-69 %
D+ 55-59 การทําแบบทดสอบความรู สงกิจกรรมกลุม สงแบบฝกปฏิบัติ สงโครงการ ฯ และสอบปลายภาคได 55-59 %
D 50-54 การทําแบบทดสอบความรู สงกิจกรรมกลุม สงแบบฝกปฏิบัติ สงโครงการ ฯ และสอบปลายภาคได 50-54 %
F 0-49 การทําแบบทดสอบความรู สงกิจกรรมกลุม สงแบบฝกปฏิบัติ สงโครงการ ฯ และสอบปลายภาคได 0 -49 %
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. เอกสารและตําราหลัก
รายวิชาเหตุการณโลกรวมสมัย. กรุงเทพมหานคร : โครงการตําราหมวดวิชาการศึกษาทั่วไป ศูนยหนังสือ
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต, 2558.
2. เอกสารและขอมูลสําคัญ
- Power point สาระสําคัญของเนื้อหาแตละสวน
- หัวขอการจัดกิจกรรม
- สื่อ online YouTube สาระสําคัญของเนื้อหาบางสวน
3. เอกสารและขอมูลแนะนํา
1. กาวสูตลาดโลกอยางมั่นใจในเอเชีย. (2549). กรุงเทพฯ : หนาตางสูโลกกวาง.
2. จินตนาสุจจานันท.(2548).“ปญหาความยากจนในศตวรรษที่ 21”.ในวิทยาสารกําแพงแสนปที่ 3 ฉบับที่ 1.
3. จิรากรณ คชเสนี. (2544). มนุษยกับสิ่งแวดลอม. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหง
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
4. ซูซูมุ โยดะ. (2546). ไตรวิกฤต ปญหาหลัก 3 ประการที่กําลังคุกคามการอยูรอดของโลก.
(แปลจากTRILEMMA:ThreeMajorProblemsThreateningWorldSurvival โดย ทวีปชัยสมภพ).
5. ณัฐพงศ บุญเหลือ. 2549. ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับโลกาภิวัตน [Online]. Available:http://www.
midnightuniv .org/ midnight2545/document95184.html
จุดประสงค หัวขอ 1 หัวขอ 2 หัวขอ 3 หัวขอ 4 หัวขอ5 หัวขอ 6 ขอสอบรวม
รู 4 5 6 4 8 10 37
เขาใจ 5 4 3 5 2 3 22
ประยุกต 2 1 0 1 0 0 4
วิเคราะห 2 1 3 3 7 7 23
สังเคราะห 1 2 0 1 0 0 4
ประเมิน 1 1 2 4 2 0 10
ขอสอบรวม 15 14 14 18 19 20 100
มคอ. 3
14
6. นิศารัตน ศิลปเดช. (2540). ประชากรกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต. กรุงเทพฯ : พิศิษฐการพิมพ.
7. บุญเสริม บุญเจริญผล. 2549. คลื่นลูกที่สามของทอฟเฟลอร [Online]. Available:http://www
krirk.ac.th/education/ dr_boonserm/G
8. ปุนภพแหงเอเชีย. กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพคบไฟ, 2545.
10. มารยาท สมุทรสาคร. (2548). “ประเทศไทยจะสรางฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืนไดอยางไร”.
วารสารเศรษฐกิจและสังคม,42 (3), 54-58.
11. ยุค ศรีอาริยะ. (2541). มายาโลกาภิวัตน. กรุงเทพมหานคร: อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง.
12. รอฮีม ปรามาท. 2549. ประชากรโลก: ดุลยภาพที่ผันแปร[Online]. Available: http://www.
rakbankerd.com/01_jam /thaiinfor/ country_info/index.html
13. โลกาภิวัตน : การเปลี่ยนแปลงสังคมโลกสูสังคมไทย [Online]. Available:http:// web.lru.ac.th/
~303006/Grobal.doc
14. เลสเตอร อาร. บราวน. (2545). สิ่งทาทายแหงศตวรรษใหมในสภาวการณโลก 2000 (แปล
จาก STATE OF THE WORLD 2000 โดย ประสาน ตางใจ). กรุงเทพมหานคร: โครงการจัดพิมพคบไฟ.
15. วิถีครอบครัวชาวเอเชียในศตวรรษที่ 21.(2554).กรุงเทพฯ:สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
16. สุพจน บุญวิเศษ. (2546). การเมืองการปกครองไทยในบริบทโลกาภิวัตน. บทความเสนอในการ
ประชุมทางวิชาการรัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตรแหงชาติ ครั้งที่ 4 (พ.ศ. 2546). ศูนยการ
ประชุมไบเทค. กรุงเทพมหานคร. หนา 336-337.
17. สังศิต พิริยะรังสรรค และ ผาสุก พงษไพจิตร. (2538). โลกาภิวัตนกับสังคมเศรษฐกิจไทย. กรุงเทพฯ:
179 การพิมพ.
18. อิสริยา บุญญะศิริ. (2548). การเปลี่ยนแปลงบริบทการพัฒนาของโลกตอทิศทางการพัฒนาประเทศ
ไทย. วารสารเศรษฐกิจและสังคม,42 (3), 50-53.
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในชั้นเรียน สื่อการ
สอน และผลการเรียนรูที่ไดรับ ตลอดจนเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ดวยระบบคอมพิวเตอรของ
มหาวิทยาลัย
2. กลยุทธการประเมินการสอน
1. การประเมินจากผลการเรียนของผูเรียน
2. การสังเกตการสอนของคณาจารย
3. การประเมินผลความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนวิชาเหตุการณโลกรวมสมัย
4. การประเมินประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนโดยนักศึกษา ผานระบบ On-line
3. การปรับปรุงการสอน
1. สัมภาษณนักศึกษาหาขอปรับปรุงการเรียนการสอน
2. มีการวิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เชน การวิจัยเพื่อพัฒนาขอสอบมาตรฐานวิชา
เหตุการณโลกรวมสมัย
3. มีการนําผลการประเมินจาก pre-test และ post มาปรับปรุงเนื้อหาสาระการเรียนการสอน
มคอ. 3
15
4. มีการนําผลการประเมินประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนโดยนักศึกษา ผานระบบ On-line
ดวยระบบคอมพิวเตอรของมหาวิทยาลัย มาปรับปรุงการเรียนการสอน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
โดยใชกระบวนการประชุมคณาจารยผูสอนทุกทานเพื่อชวยกันวิเคราะหขอสอบ และคะแนนสอบ
ปลายภาคของนักศึกษาทุกตอนเรียน เพื่อนําไปปรับปรุงใหไปในทิศทางเดียวกันในปการศึกษาตอไป
5. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
1. จัดการประชุมคณาจารยผูสอนในรายวิชารวมกัน
2. การทบทวนและปรับปรุงการสอนของรายวิชาในทุกภาคการศึกษา โดยนําประสิทธิผลของ
รายวิชา ทั้งวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในชั้นเรียน สื่อการสอน และผลการเรียนรูที่ไดรับ ตลอดจน
เสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา
2. ปรับปรุงรายวิชาทุก 4 ป หรือตามขอเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์

More Related Content

What's hot

รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายJiraporn Chaimongkol
 
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55ไชยยา มะณี
 
ภาคผนวก ก
ภาคผนวก กภาคผนวก ก
ภาคผนวก กkrupornpana55
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่Jiraporn
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทJiraporn Chaimongkol
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนKritsadin Khemtong
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5kruwaeo
 
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์chaiwat vichianchai
 
Abstracts
AbstractsAbstracts
Abstractskruwaeo
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1Hathaichon Nonruongrit
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012tassanee chaicharoen
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1kruthailand
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3tassanee chaicharoen
 

What's hot (20)

มคอ3
มคอ3มคอ3
มคอ3
 
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่ายรายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
รายงานการใช้สื่อCaiแบบง่าย
 
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
 
Intro bio5 2560
Intro bio5 2560Intro bio5 2560
Intro bio5 2560
 
ภาคผนวก ก
ภาคผนวก กภาคผนวก ก
ภาคผนวก ก
 
งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่งานวิจัยเผยแพร่
งานวิจัยเผยแพร่
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
รายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บทรายงานการใช้สื่อ5บท
รายงานการใช้สื่อ5บท
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
Report1 5
Report1 5Report1 5
Report1 5
 
Sarกฤตยาฉบับส่งรรเทอม1ปี57
Sarกฤตยาฉบับส่งรรเทอม1ปี57Sarกฤตยาฉบับส่งรรเทอม1ปี57
Sarกฤตยาฉบับส่งรรเทอม1ปี57
 
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
 
Abstracts
AbstractsAbstracts
Abstracts
 
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
ตอบโจทย์ปัญหา PBL1
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา2012
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
แผนการจัดการเรียนรู้เพศศึกษาหน่วยที่ 3
 

Similar to ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)

แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้10871885581
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนPew Juthiporn
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียนKay Pakham
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)Miss.Yupawan Triratwitcha
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาtassanee chaicharoen
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนNattayaporn Dokbua
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาtassanee chaicharoen
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์supanyasaengpet
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งTaweesak Poochai
 

Similar to ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558) (20)

มาตรฐาน
มาตรฐานมาตรฐาน
มาตรฐาน
 
แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1แผนการเรียนรู้1
แผนการเรียนรู้1
 
Sci 2009 03
Sci 2009 03Sci 2009 03
Sci 2009 03
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
บทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโนบทที่2 ส่งเทคโน
บทที่2 ส่งเทคโน
 
ชุดการเรียน
ชุดการเรียนชุดการเรียน
ชุดการเรียน
 
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาแผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
แผนการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศพัฒนา
 
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียนร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
ร่างหลักสูตรสถานศึกษา เนื้อหาโรงเรียน
 
R61(1)
R61(1)R61(1)
R61(1)
 
มคอ.3 สารสนเทศ
มคอ.3 สารสนเทศมคอ.3 สารสนเทศ
มคอ.3 สารสนเทศ
 
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษาหน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
หน่วยการเรียนรู้เรื่อง เพศศึกษา
 
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์บทความบทที่  2  คณิตศาสตร์
บทความบทที่ 2 คณิตศาสตร์
 
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่งโครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
โครงการนักสำรวจแห่งท้องทุ่ง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 
Astroplan10
Astroplan10Astroplan10
Astroplan10
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
 

ม.ค.อ.3เหตุการณ์โลกฯ 2 52557(2558)

  • 1. รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป 1. รหัสและชื่อรายวิชา รหัสวิชา 2500115 ชื่อรายวิชา เหตุการณโลกรวมสมัย 2. จํานวนหนวยกิต 3 หนวยกิต 3 (3-0-6) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา หมวดวิชาศึกษาทั่วไป 4. อาจารยผูรับผิดชอบรายวิชาและอาจารยผูสอน ดร.ดวงกมล อัศวมาศ ผูประสานงานวิชาและอาจารยผูสอน ดร.สาระ มีผลกิจ อาจารยผูสอน อ.ธนันทวัฒน สภานุรัตน อาจารยผูสอน อ.ฐานวลัญช เว็บบ อาจารยผูสอน อ.เอกอนงค ศรีสําอาง อาจารยผูสอน อ.โลมดาว ภุชงคกุล อาจารยผูสอน อ.อานุภาพ รักษสุวรรณ อาจารยผูสอน อ.ศุภวัฒน ปภัสสรากาญจน อาจารยผูสอน อ.ยอดชาย ชุติกาโม อาจารยผูสอน อ.ภาวินี รอดประเสริฐ อาจารยผูสอน อ.วสันต มหากาญจนะ อาจารยผูสอน อ.เยาวลักษณ วัยมุข อาจารยผูสอน ดร.สุรพงษ นิ่มเกิดผล อาจารยผูสอน อ.อิสรีย บอวารี อาจารยผูสอน อ.พรพิมล ลอแท อาจารยผูสอน อ.วิณาภรณ แตงจุย อาจารยผูสอน อ.ธนิต แสงกระจาง อาจารยผูสอน อ.วาสนา จักรแกว อาจารยผูสอน อ.ธนะวิทย เพียรดี อาจารยผูสอน อ.ขวัญใจ ฤทธิ์หมุน อาจารยผูสอน อ.เศวตฉัตร นาคะชาต อาจารยผูสอน 5. ภาคการศึกษา/ชั้นปที่เรียน เปนไปตามแผนการศึกษาของหลักสูตร 6. รายวิชาที่ตองเรียนมากอน (Pre-requisite) (ถามี) ไมมี
  • 2. มคอ. 3 2 7. รายวิชาที่ตองเรียนพรอมกัน (Co-requisites) (ถามี) ไมมี 8. สถานที่เรียน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต 9. วันที่จัดทําหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งลาสุด วันที่ 12 มกราคม 2558 หมวดที่ 2 จุดมุงหมายและวัตถุประสงค 1. จุดมุงหมายของรายวิชา เมื่อนักศึกษาเรียนรายวิชานี้แลว นักศึกษาจะเกิดการเรียนรู/ความสามารถ/สมรรถนะที่ตองการในดาน ตาง ๆ ไดแก 1.1 นักศึกษาสามารถอธิบายถึงพัฒนาการทางสังคมโลกในแตละสมัยไดอยางถูกตอง 1.2 นักศึกษาสามารถอธิบายถึงเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกทั้งดานสังคม วัฒนธรรม การเมือง เศรษฐกิจ สิ่งแวดลอมและภัยคุกคามตางๆ ได 1.3 นักศึกษาใหความสําคัญในการสรางจิตสํานึกในความรับผิดชอบตอตนเองและตอสังคม ตลอด ทั้งการมีจิตสาธารณะ 1.4 นักศึกษาสามารถปฏิบัติตนตามหนาที่พลเมืองและเคารพสิทธิมนุษยชน 1.5 นักศึกษาสามารถเลือกใชขอมูลจากแหลงขอมูลและสารสนเทศตางๆ ที่นาเชื่อถือได 1.6 นักศึกษาสามารถวิเคราะหและแกปญหาตนเอง รวมทั้งการประยุกตความรูในรายวิชา เพื่อใช ในชีวิตประจําวันของตนเอง ตลอดทั้งการดําเนินชีวิตไดตอไปในอนาคต 2. วัตถุประสงคในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา เพื่อใหเปนรายวิชาที่ทันสมัยและทันตอสถานการณการเปลี่ยนแปลงของสังคมไทยและสังคมโลก การพัฒนาสื่อในรายวิชาอาทิ ตํารา และแบบฝกปฏิบัติ ตองมีการปรับปรุงใหทันสมัยอยูเสมอ ตลอดทั้งการ คัดเลือกสื่อขอมูลจากแหลงขอมูลตางๆ หลากหลายประเภทที่เชื่อถือได โดยใชประกอบการเรียนการสอนแก นักศึกษาเพื่อใหนักศึกษาเทาทันตอกระแสแหงสังคมโลกปจจุบัน นอกจากนี้ยังไดมีการประเมินผลการเรียนการ สอนที่สอดคลองกับสภาพการเรียนรูที่จัดใหผูเรียนและอิงพัฒนาการของผูเรียนรวมดวย หมวดที่ 3 ลักษณะและการดําเนินการ 1. คําอธิบายรายวิชา ศึกษาการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลกจากอดีตถึงปจจุบันและแนวโนมในอนาคต ทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม สิ่งแวดลอมและภัยคุกคามตางๆ สรางความรูความเขาใจและความสามารถใน การคิดวิเคราะห เพื่อปรับตัวและการแกไขปญหาดวยความรับผิดชอบตอสังคม โดยเคารพในศักดิ์ศรีความ เปนมนุษยและความหลากหลายทางวัฒนธรรม Study the changing of the society in the past, present and future with knowledge of the world movement, and important situation in term of politics, economy, natural
  • 3. มคอ. 3 3 environment, human security and socio-cultural issues. These include trends in the future in order to make use of this knowledge in daily life for the benefit of the learner to increase awareness of and respect for human rights and cultural diversity across local and global communities. 2. จํานวนชั่วโมงที่ใชตอภาคการศึกษา บรรยาย การฝก สอนเสริม ปฏิบัติ/งาน ภาคสนาม/การฝกงาน การศึกษาดวยตนเอง 45 สอนเสริมตามความ ตองการของนักศึกษา เฉพาะราย โครงการศึกษาดูงานแหลง เรียนรูนอกหองเรียน 90 ชั่วโมง 3. จํานวนชั่วโมงตอสัปดาหที่อาจารยใหคําปรึกษาและแนะนําทางวิชาการแกนักศึกษาเปน รายบุคคล ตามความตองการของนักศึกษา อยางนอย 6 ชั่วโมง/ตอสัปดาห หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรูของนักศึกษา วิชาเหตุการณโลกรวมสมัยเนนความรับผิดชอบหลักดานคุณธรรม จริยธรรม ขอ 2 และ ขอ 4 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ตองพัฒนา 1) ตระหนักถึงคุณคาของคุณธรรม และจริยธรรม 1.1) มีความรักชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย ซึ่งเปนสถาบันหลักของชาติในปจจุบัน 1.2) ใหความสําคัญตอการสรางจิตสํานึกและตระหนักในปญหาดานตางๆ ของสังคมโลก 1.3) ใหความสําคัญตอความรับผิดชอบทั้งตนเองและตอสังคมโลกโดยรวม 1.4) มีใจใฝหาความรู ศึกษาเลาเรียนในทุกทางทั้งทางตรงและทางออม 2) มีพฤติกรรมที่มีความรับผิดชอบตอตนเอง สังคม และมีจิตสาธารณะ 2.1) ใหความสําคัญตอความรับผิดชอบ การมีระเบียบวินัยตอตนเองและในกิจกรรมตางๆ ที่ไดรับ มอบหมาย ตลอดทั้ง 2.2) ใหความสําคัญตอมีสวนรวมในการปฏิบัติหนาที่เปนพลเมืองที่ดีและประพฤติตนเปนคนที่มี คุณภาพ 2.3) มีสวนรวมตอบทบาทหนาที่และความรับผิดชอบอันเปนประโยชนตอสังคมสวนรวม 2.4) ซื่อสัตย เสียสละ อดทน และเอื้อเฟอเผื่อแผ รวมทั้งมีอุดมการณในสิ่งที่ดีงามตอสวนรวม 2.5) สรางจิตสาธารณะตอสังคมโดยสวนรวม 2.6) กตัญูตอพอแม ผูปกครองและครูอาจารย 2.7) มีศีลธรรม รักษาความสัตย 2.8) มีความละอายและเกรงกลัวตอบาปตามหลักศาสนา 3) มีภาวะผูนําเอื้อเฟอเผื่อแผตอผูอื่น และสามารถทํางานรวมกับผูอื่นได 3.1) สรางความเปนผูนําและผูตามที่ดี รวมทั้งการมีสัมมาคารวะเคารพผูใหญ
  • 4. มคอ. 3 4 3.2) ใหความสําคัญตอการอยูรวมกับบุคคลตางๆ ได 4) มีความเคารพในสิทธิ และความมีคุณคาของตนเอง และผูอื่น 4.1) เคารพและรับฟงความคิดเห็นของผูอื่น 4.2) เคารพสิทธิ และศักดิ์ศรีในความเปนมนุษยไมเบียดเบียนซึ่งกันและกัน 4.3) เคารพกฎเกณฑและกติกาตางๆ ของทางสังคมโดยสวนรวม 4.4) ปฏิบัติตนใหเปนผูที่เห็นแกประโยชนสวนรวมตอชาติและตอโลก 1.2 วิธีการสอน จัดการเรียนรูโดยการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม และความรับผิดชอบ ประกอบการบรรยาย พรอมยกกรณีศึกษาเกี่ยวกับคุณธรรม จริยธรรม และใหนักศึกษาไดใชกระบวนการแกปญหา (Problem Based Learning) จากกรณีศึกษา (Case Study) ที่ยกตัวอยาง นอกจากนี้ยังใชวิธี 1) อาจารยผูสอนเปนแบบอยางที่ดีในดานคุณธรรม จริยธรรมและความรับผิดชอบ 2) เพิ่มการอบรมจิตสํานึกคุณธรรม จริยธรรม สรางจิตสาธารณะ และความรับผิดชอบโดย สอดแทรกอยูในเนื้อหารายวิชา 3) ใชกรณีศึกษาจากสื่อจากเหตุการณ และขาวตางๆ เนนใหนักศึกษามีความเคารพในเรื่อง สิทธิ มนุษยชนทั้งตอตนเองและบุคคลอื่นๆ 4) มอบหมายงานกลุมใหเกิดการระดมสมอง (Focus group) 1.3 วิธีการประเมินผล 1) ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเขาชั้นเรียน การสงงานตามกําหนด ระยะเวลาที่ มอบหมาย การรวมกิจกรรมและการสังเกตพฤติกรรมในระหวางเรียน 2) จากการสังเกตการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมทางความคิด อารมณ และการแสดงออกภายหลังจาก การเรียนการสอน การบรรยายและสื่อที่ใชประกอบในการเรียน 3) ประเมินจากความรับผิดชอบในหนาที่ที่ไดรับมอบหมายในชั้นเรียน วิชาเหตุการณโลกรวมสมัยเนนความรับผิดชอบหลักดานความรู ขอ 1 ขอ 3 และขอ 4 2. ความรู 2.1 ความรูที่ตองไดรับ 1) มีความรูความเขาใจในศาสตรที่เปนพื้นฐานในการดํารงชีวิต 1.1) อธิบายถึงพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงทางสังคมโลกทั้งทางดานสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง สิ่งแวดลอมและภัยคุกคามตางๆ ได 1.2) อธิบายถึงความสัมพันธระหวางวิถีการดํารงชีวิตของสังคมไทยในบริบทของสังคมโลก 1.3) ยึดมั่นรักษาวัฒนธรรมและประเพณีไทยใหควบคูกับวัฒนธรรมโลก 1.3) วิเคราะหถึงปญหา สาเหตุ ผลกระทบ และเทคนิควิธี เพื่อการเรียนรูในการดํารงชีวิตใน สังคมไทยและสังคมโลก 2) สามารถจําแนก และอธิบายองคความรูที่ศึกษา 2.1) อธิบายถึงองคความรูที่ไดรับและปรับใชในการดํารงชีวิตประจําวันได 3) มีความรูเกี่ยวของกับชุมชน และความเปนไปของชาติและสังคมโลก
  • 5. มคอ. 3 5 3.1) วิเคราะหถึงพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ที่เปนผลตอสังคมไทยอันไดแก สังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ การเมือง และการปกครอง 3.2) อธิบายถึงความสัมพันธของสังคมไทยในบริบทของสังคมโลก 3.3) อธิบายถึงลักษณะของระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข 4) สามารถบูรณาการและประยุกตใชกับศาสตรอื่น ๆ ที่เกี่ยวของ รวมถึงดําเนินชีวิตไดอยางมี คุณภาพ 4.1 สามารถประยุกตใชความรูที่ได เพื่อการพัฒนาและปรับตัวใหดํารงอยูไดในสถานการณที่ เปลี่ยนแปลงไป 4.2 สามารถดําเนินชีวิตในทุกดานไดอยางเหมาะสม พอเพียง และมีคุณภาพตามพระราชดํารัส ของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ตลอดทั้งประพฤติตนตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง 2.2 วิธีการสอน 1) ใชการเรียนการสอนในหลากหลายรูปแบบ ทั้งการบรรยายเนื้อหาสวนที่เปนแนวคิดทฤษฎีและ การวิเคราะหจากหลายสถานการณ 2) ฝกทักษะกระบวนการแสวงหาความรูและสงเสริมใหผูเรียนสรางความรู ความเขาใจในเรื่องที่ ศึกษาดวยตนเอง โดย จัดกิจกรรมแบบผูเรียนมีสวนรวม เนนผูเรียนเปนศูนยกลาง (Student Center) การ อภิปรายกลุม (Group Discussion) และการระดมสมอง (Focus group) ทั้งจากการคนควาดวยตนเอง (Self Study) ผานระบบเครือขายขอมูลสารสนเทศ (internet) และสื่อตางๆ 3) ใชกรณีศึกษา (Case Study) โดยบรรยายประกอบสื่อสิ่งพิมพ สื่อวีดีทัศน และสื่อสารสนเทศ ตางๆ ที่เกี่ยวของกับสังคมโลก เพื่อใหนักศึกษานําความรูจากบทเรียน และประสบการณ วิเคราะหถึง สาเหตุ ผลกระทบ และแนวในการเรียนรู 4) การจัดการเรียนรูจากสถานการณจริงโดยเชิญผูเชี่ยวชาญที่มีประสบการณตรงมาเปนวิทยากร พิเศษเฉพาะเรื่อง 5) การทําโครงการ (Project Based Learning)/รายงาน ใหนักศึกษาทําโครงการหรือรายงานดัง รายละเอียดตามหัวขอที่กําหนด เพื่อเปนการเพิ่มพูนความรูจากเนื้อหาในรายวิชา 2.3 วิธีการประเมินผล 1) การทําแบบทดสอบกอนและหลังเรียน (Pre-test and Post-test) 2) พิจารณาจากการอภิปรายประเด็นเนื้อหาในบทเรียนรวมกัน 3) การสอบเก็บคะแนนยอยแบบทดสอบจากเนื้อหาในบทเรียน 4) การสอบปลายภาค 5) การทําแบบฝกปฏิบัติ 6) จากผลสัมฤทธิ์ของรายงาน/โครงการ ฯ โดยพิจารณาจาก Rubric 7) จากการนําเสนอผลงานในชั้นเรียน 8) จากคาระดับคะแนนที่ไดรับเมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา
  • 6. มคอ. 3 6 วิชาเหตุการณโลกรวมสมัยเนนความรับผิดชอบหลักดานทักษะทางปญญา ขอ 3 และขอ 4 3. ทักษะทางปญญา 3.1 ทักษะทางปญญาที่ตองพัฒนา 1) สามารถคิดอยางเปนระบบ 1.1) สามารถพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมืองการปกครอง และ สภาพแวดลอมในบริบทสังคมโลกที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่อง 1.2) สามารถรวบรวมและวิเคราะหขอมูล โดยบูรณาการจัดทําเปนรายงาน/โครงการ ฯ ได 2) สามารถคนควา ศึกษาวิเคราะหขอมูลตาง ๆ ไดเปนอยางดี 2.1) สามารถรวบรวมและวิเคราะหขอมูลที่เกี่ยวกับบริบทของสังคมโลกได 2.2) สามารถเลือกแหลงขอมูลประเภทตางๆ ที่นาเชื่อถือใชในการศึกษาคนควาได 3) สามารถประยุกตความรูและทักษะของตนเองในการดําเนินชีวิตได 3.1) ประยุกตใชขอมูลจากแหลงตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพ 3.2) สรางแนวความคิดใหมๆ อยางสรางสรรค 3.3) ถายทอดขอมูลรวมทั้งแลกเปลี่ยนความรูกับผูอื่นได 3.4) ใชความรูในการพัฒนาสังคมและชุมชนของตนได 4) สามารถวิเคราะหและแกไขปญหาในการดําเนินชีวิตไดอยางสรางสรรค 4.1) สามารถจําแนกขอมูลแยกแยะความนาเชื่อถือของขอมูลความรูตางๆ ได 4.2) สามารถนําความรูไปประยุกตใชเพื่อแกปญหาในชีวิตประจําวันไดเปนอยางดี 3.2 วิธีการสอน 1) เปดประเด็น/สรางคําถามในชั้นเรียนอยางตอเนื่อง 2) จัดกิจกรรมแบบผูเรียนมีสวนรวม มีการอภิปรายกลุม (Group Discussion) และการระดมสมอง (Focus group) เชน ระบุกรณีศึกษาปญหาในชีวิตประจําวัน เพื่อฝกใหนักศึกษาหาแนวทางแกไข 3) การทําโครงการ (Project Based Learning) หรือ รายงาน ซึ่งเปนกระบวนการเรียนรูของผูเรียนที่ จะตองสืบคน เสาะหา สํารวจ ตรวจสอบ และคนควา ดวยวิธีการตาง ๆ ทําใหผูเรียนตองใช กรณีศึกษา (Case Study) กรณีปญหา (Problem Based Learning) รวมทั้ง การอภิปรายกลุม (Group Discussion) และ การระดม สมอง (Focus group) เพื่อใหผูเรียนสามารถแกปญหาเฉพาะหนาได มีความคิดริเริ่มในการทํางานใหมีประสิทธิภาพ และประสิทธิผลมากขึ้นและ สามารถสรางเปนองคความรูของผูเรียนเองได 4) แนะนําแหลงขอมูลประเภทตางๆ และวิธีการเลือกขอมูลที่นาเชื่อถือในการคนควาประกอบการ ทําโครงการ ฯ หรือรายงาน และสําหรับการศึกษาคนควาดวยตนเอง ไดแก เอกสาร หนวยงาน องคกร สื่อ สิ่งพิมพ สื่ออิเลกโทรนิกส เชน ระบบเครือขายขอมูลสารสนเทศ (Internet) และบุคคลตัวอยาง หรือผูมี ประสบการณ 5) พานักศึกษาไปทัศนศึกษาสถานที่ที่เกี่ยวของกับสัมพันธกับเนื้อหาในรายวิชา 3.3 วิธีการประเมินผล 1) ประเมินตามสภาพจริงจากการแสดงความคิดเห็น การแกปญหา ผลงาน และการนําเสนอ ผลงานในชั้นเรียน 2) การทดสอบโดยใชการสัมภาษณ
  • 7. มคอ. 3 7 วิชาเหตุการณโลกรวมสมัยเนนความรับผิดชอบหลักดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและ ความรับผิดชอบ ขอ 1 และขอ 4 4. ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบที่ตองพัฒนา 1) มีความสามารถทํางานเปนกลุมในฐานะผูนําและผูตามได 1.1 มีความสามารถในการปฏิบัติตนเปนผูนําและผูตามที่ดีมีความรับผิดชอบ รวมทั้งทํางานเปน กลุมได 1.2 ใหความสําคัญตอการรับรูถึงความรูสึกของผูอื่น เขาใจผูอื่น มีมุมมองเชิงบวกและมีวุฒิภาวะ ทางอารมณ 2) สามารถริเริ่มสรางสรรค แนวทางที่เปนประโยชนตอการดําเนินกิจกรรมตาง ๆ ได 2.1) เปนผูใฝหาความรูอยูตลอดเวลา 3) มีมนุษยสัมพันธที่ดีสามารถสื่อสารกับผูอื่นไดเปนอยางดี ทั้งภาษาไทย และภาษาตางประเทศ 3.1) สามารถสื่อสารไดอยางมีกาลเทศะและรูจักเคารพผูใหญ 4) มีการคนควาและวางแผนในการเรียนรู และพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง 4.1) สามารถวางแผนชีวิตตนเองได 4.2) สามารถคนควาขอมูลตางๆ อันเปนประโยชนตอตนเองและสังคมไดอยางตอเนื่อง 4.3) สามารถพัฒนาตนเองจากงานและกิจกรรมที่มอบหมายใหมีคุณภาพ 4.2 วิธีการสอน 1) เปดโอกาสซักถามผูสอนในเนื้อหาบทเรียน และเกณฑในการเรียนตางๆ 2) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนแบบมีสวนรวมเพื่อสรางความรวมมือ 3) การมอบหมายงานกลุม ที่ใชการทําโครงการ (Project Based Learning) หรือ รายงานให ผูเรียนไดใชการระดมสมอง (Focus group) ในการแสวงหาความรู การคนควาหาคําตอบ การแกปญหา หรือการตอบขอสงสัยตามความสนใจของตนเองหรือกลุม โดยใชทักษะกระบวนกลุมในการดําเนินงาน ตลอดทั้งการพัฒนาคุณภาพของผลงาน 4) เปดโอกาสใหนักศึกษาที่ไมเขาชั้นเรียน ทําแบบประเมินผลการเรียนรู หรือแบบทดสอบความรู ความเขาใจประจําบท ฉบับใหมที่แตกตางจากนักศึกษาที่เขาชั้นเรียนตามปกติ 4.3 วิธีการประเมินผล 1) จากการพฤติกรรมและการแสดงออก เชน ซักถามระหวางผูสอนและผูเรียน 2) สังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการรวมกิจกรรมตาง ๆ 3) พิจารณาจากผลงานโครงการฯ หรือ รายงาน ความครบถวนชัดเจนตรงประเด็นของขอมูลที่ได มอบหมาย วิชาเหตุการณโลกรวมสมัยเนนความรับผิดชอบหลักดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การ สื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ ขอ 1 ขอ 2 และขอ 5 5. ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศที่ตองพัฒนา
  • 8. มคอ. 3 8 1) มีทักษะในการใชเครื่องมือที่จําเปนเกี่ยวของกับคอมพิวเตอร 1.1 ทําการการสืบคนสื่อจากแหลงขอมูลตางๆ ที่หลากหลาย อาทิทางอินเทอรเน็ต เครือขาย สังคมออนไลน และจากแหลงเรียนรูนอกหองเรียนแหลงตางๆ 1.2) ทําสื่อประเภทตาง ๆ ประกอบการนําเสนอโครงการ ฯ หรือ รายงานและผลงานตาง ๆ ได อยางมีประสิทธิภาพ 2) สามารถสืบคนขอมูล วิเคราะหเพื่อนํามาประยุกตใชในชีวิตประจําวันได 2.1) วิเคราะหสถานการณตางๆ ในบริบทสังคมโลกไดอยางมีคุณภาพ 2.2) ทําการสืบคนและคัดเลือกขอมูลที่นาเชื่อถือเพื่อใชประโยชนได 3) สามารถใชภาษาในการสื่อสาร ถายทอดและแลกเปลี่ยนความรูกับผูอื่นไดเปนอยางดี 4) สามารถนําเสนอและสื่อสารโดยใชสารสนเทศทางคณิตศาสตรหรือการแสดงสถิติได 5) สามารถเลือกใชขอมูลและสารสนเทศเพื่อประยุกตใชในการดํารงชีวิตและแกไขปญหาของ ตนเองไดอยางเหมาะสม 5.1) ใหความสําคัญตอเทคโนโลยีตางๆ อันเปนประโยชนตอการดํารงชีวิต 5.2) ใชขอมูลประเภทตางๆ ในการปรับประยุกตใชและแกไขสําหรับชีวิตประจําวันไดอยาง เหมาะสม 5.2 วิธีการสอน 1) จัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหรูจักการวิเคราะหสถานการณตางๆ จากกรณีศึกษาและตัวอยาง จากขอมูลและสื่อสารสนเทศตางๆ 2) แนะนําเทคนิคการสืบคนขอมูล แหลงขอมูล และวิธีการเลือกขอมูลที่นาเชื่อถือ 3) มอบหมายงานใหนักศึกษาคนควาดวยตนเอง (Case Study) โครงการฯ หรือ รายงานตามหัวขอ ที่กําหนดใหและนํามานําเสนอ โดยสืบคนจากสื่ออิเลกทรอนิกส 5.3 วิธีการประเมินผล 1) การอภิปรายและการมีสวนรวมในระหวางชั้นเรียน 2) สังเกตพฤติกรรมในการแสดงออกในเรื่องการวิเคราะหและการใชเหตุผล 3) การจัดทํา โครงการฯ หรือ รายงาน ตลอดทั้งการนําเสนอดวยสื่อเทคโนโลยีประเภทตาง หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สัปดาห ที่ หัวขอ/รายละเอียด จํานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช (ถามี) ผูสอน 1 • ปฐมนิเทศและแนะนําแนวทาง จัดการเรียนการสอนในรายวิชา • พัฒนาการทางสังคมโลก • มนุษยชาติกับพัฒนาการทาง สังคม 3 - ชี้แจงแนวการสอน - ทดสอบความรูกอนเรียน - เอกสารแนวการสอนและทดสอบความรู (Pretest) - สื่อ Power point Computer และ Overhead Projector คณาจารย ผูสอน
  • 9. มคอ. 3 9 สัปดาห ที่ หัวขอ/รายละเอียด จํานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช (ถามี) ผูสอน 2 • ภูมิหลังพัฒนาการทางสังคม โลก • พัฒนาการทางสังคมวัฒนธรรม โลกกอนป ค.ศ.1492 3 - บรรยายเนื้อหาครั้งที่ 1 และนําเสนอกรณีศึกษา - การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนรวมกัน - เอกสารแนวการสอน - สื่อ Power point , Computer, Overhead, Projector คณาจารย ผูสอน 3 • สังคมโลกหลังการปฏิวัติ อุตสาหกรรม • พั ฒ น า ก า ร ท า ง สั ง ค ม วัฒนธรรมโลกสมัย ใหม 3 - บรรยายเนื้อหา และนําเสนอกรณีศึกษา - การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนรวมกัน -สื่อPowerpoint, สื่อ online จาก YouTube -ComputerและOverheadProjector คณาจารย ผูสอน 4 • สถานการณโลกปจจุบันและ แนวโนมในอนาคต • พัฒนาการทางสังคมวัฒนธรรม โลกสมัย ใหม 3 - บรรยายเนื้อหา และนําเสนอกรณีศึกษา - การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนรวมกัน -สื่อPowerpoint, สื่อ online จาก YouTube -ComputerและOverheadProjector คณาจารย ผูสอน 5 • กิจกรรมที่ 1 แบงกลุมยอย เพื่อ ฝกวิเคราะหสถานการณที่โดยการ อภิปรายกลุมและมอบหมาย คนควาโครงการฯ/รายงาน) 3 - แบงกลุมยอยและการศึกษาเชิงวิเคราะหทํา กิจกรรมอภิปรายแบบมีสวนรวมและสรุปสิ่งที่ได เรียนรูรวมกัน - กระดาษ และอุปกรณเครื่องเขียน คณาจารย ผูสอน 6 • การเปลี่ยนแปลงทางสังคม และวัฒนธรรมโลกรวมสมัย 3 - บรรยายเนื้อหา และการศึกษาเชิงวิเคราะห - การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนรวมกัน - สื่อPowerpoint, สื่อ online จาก YouTube - Computer และOverhead Projector คณาจารย ผูสอน 7 • ระบบเศรษฐกิจโลกกับการ กาวสูระบบทุนนิยมโลกและ การคาเสรี 3 - บรรยายเนื้อหา และนําเสนอกรณีศึกษา - การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนรวมกัน -สื่อPowerpoint, สื่อ online จาก YouTube -ComputerและOverheadProjector คณาจารย ผูสอน 8 • กิจกรรมที่ 2 ทัศนศึกษานอก สถานที่ 3 - แบบทดสอบความรูจากแหลงเรียนรูนอกสถานที่ - กระดาษ และอุปกรณเครื่องเขียน - ฟงบรรยายจากวิทยากรผูใหความรูในสถานที่จริง คณาจารย ผูสอน และวิทยากร 9 • การปรับตัวของรัฐชาติใน กระแสแหงการเปลี่ยนแปลง 3 - บรรยายเนื้อหา และนําเสนอกรณีศึกษา - การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนรวมกัน -สื่อPowerpoint, สื่อ online จาก YouTube -ComputerและOverheadProjector คณาจารย ผูสอน 10 • สันติภาพกับมนุษยชาติ 3 - บรรยายเนื้อหา และนําเสนอกรณีศึกษา - การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนรวมกัน -สื่อPowerpoint, สื่อ online จาก YouTube -ComputerและOverheadProjector คณาจารย ผูสอน 11 • กิจกรรมที่ 3 แบงกลุมยอย เพื่อฝกวิเคราะหสถานการณ (จากตัวอยางกรณีศึกษา) 3 - แบงกลุมยอยและการศึกษาเชิงวิเคราะหทํา กิจกรรมอภิปรายแบบมีสวนรวมและสรุปสิ่งที่ได เรียนรูรวมกันจากวิทยากรบรรยาย - กระดาษ และอุปกรณเครื่องเขียน คณาจารย ผูสอน
  • 10. มคอ. 3 10 สัปดาห ที่ หัวขอ/รายละเอียด จํานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการสอน สื่อที่ใช (ถามี) ผูสอน 12 • สถานการณสิ่งแวดลอมและ ทรัพยากร ธรรมชาติ • กิจกรรมที่ 5 ทําแบบทดสอบ 3 - บรรยายเนื้อหา และการศึกษาเชิงวิเคราะห - การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนรวมกัน - สื่อ Powerpoint Computer และOverhead Projecto - แบบทดสอบ คณาจารย ผูสอน 13 • การนําเสนอโครงการ/ รายงานของนักศึกษา 3 - การซักถาม แสดงความคิดเห็น และอภิปราย เนื้อหาที่ฟงรวมกัน คณาจารย ผูสอน 14 • กิจกรรมที่ 5 แบบฝกปฏิบัติ 3 - การซักถาม แสดงความคิดเห็น - แบบฝกปฏิบัติ คณาจารย ผูสอน 15 • ปจฉิมนิเทศ ทบทวนบทเรียน 3 - การซักถามและอภิปรายเนื้อหาที่เรียนรวมกัน - ตําราหลักและแบบฝกปฏิบัติ - ทดสอบความรู (Post-test) * นําเสนอพรอมสงรายงาน/โครงการที่สําเร็จ คณาจารย ผูสอน 16 สอบปลายภาค - การผานเกณฑการประเมินของมหาวิทยาลัย 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู กิจกรรม ที่ ผลการเรียนรู วิธีการประเมิน สัปดาหที่ ประเมิน สัดสวนของการ ประเมินผล 1 1.1, 2.1, 3.1, 4.1 และ 5.1 1. พฤติกรรม ระเบียบวินัย การแสดงออก ความรับผิดชอบ และการมีสวนรวม 2. ประเด็นองคความรู ทักษะ การบูรณาการ การสืบคนขอมูล และการประยุกตไปใช 3.การนําเสนองานผลงานตางๆ และ สัมฤทธิผลของงาน โดยไดแสดงเกณฑการใหคะแนนในตารางที่ 3 13,15 20% 2 2.1, 3.1 และ 5.1 แบบทดสอบความรูจากการทัศนศึกษานอก สถานที่ 8 10% 3 1.1, 2.1, 3.1, 4.1 และ 5.1 1. พฤติกรรม ระเบียบวินัย การแสดงออก ความรับผิดชอบ และการมีสวนรวม 2. ประเด็นองคความรู ทักษะ การบูรณาการ การสืบคนขอมูล และการประยุกตไปใช 3.การนําเสนองาน ผลงานตางๆ และ สัมฤทธิผลของงานโดยไดแสดงเกณฑการให คะแนนในตารางที่ 1 11 10% 4 2.1 และ 3.1 แบบทดสอบความรู 12 10% 5 1.1, 2.1, 3.1 และ 4.1 1. พฤติกรรม ระเบียบวินัย การแสดงออก ความรับผิดชอบ และการมีสวนรวม 2. ประเด็นองคความรู ทักษะ การบูรณาการ การสืบคนขอมูล และการประยุกตไปใช 3. สัมฤทธิผลของงาน โดยไดแสดงเกณฑการใหคะแนนในตารางที่ 2 14 10%
  • 11. มคอ. 3 11 กิจกรรม ที่ ผลการเรียนรู วิธีการประเมิน สัปดาหที่ ประเมิน สัดสวนของการ ประเมินผล 6 ขอสอบปลายภาค 1. ตามจุดประสงคจากเนื้อหาในหนวยการ เรียนของรายวิชาเหตุการณโลกรวมสมัย 2. เกณฑมหาวิทยาลัย โดยไดแสดงเกณฑการใหคะแนนในตารางที่ 4 และ 5 16 40% *รายละเอียดการประเมินผล แสดงในเชิง Rubric ดังนี้ ตารางที่ 1 เกณฑในการใหคะแนน กิจกรรมกลุม (10 คะแนน) ระดับคะแนน เกณฑการใหคะแนน 9-10 = A การวิเคราะหเนื้อหารวมกัน เนื้อหามีความครบถวนสมบูรณ และสงตามกําหนดเวลา 7-8 = B การวิเคราะหเนื้อหารวมกัน เนื้อหาเกือบสมบูรณ และสงตามกําหนดเวลา 5-6 = C การวิเคราะหเนื้อหารวมกัน เนื้อหาไมสมบูรณแตยังสงตามกําหนดเวลา 4-1 = D ไมรวมมือกันในเรื่องการวิเคราะห เนื้อหาไมสมบรูณ-สงลาชากวาระยะเวลาที่กําหนด 0 = F ไมสง ตารางที่ 2 เกณฑในการใหคะแนนแบบฝกปฏิบัติ (10 คะแนน) ระดับคะแนน เกณฑการใหคะแนน 9-10 = A ทําแบบฝกปฏิบัติเรียบรอย สะอาด ลายมืออานงาย ถูกตองและครบถวนทั้งหมด และสงตาม กําหนดเวลา 7-8 = B ทําแบบฝกปฏิบัติ ถูกตองบางสวนแตครบถวนทั้งหมด และสงตามกําหนดเวลา 6 = C ทําแบบฝกปฏิบัติไมถูกตองบางสวน หรือไมครบถวน และสงตามกําหนดเวลา 1-5= D ทําแบบฝกปฏิบัติไมถูกตอง หรือไมครบถวน ลายมืออานไมออก สกปรก ลอกเพื่อน และสงลาชา 0 = F ไมสง ตารางที่ 3 เกณฑการใหคะแนนรายงาน/โครงการ (20 คะแนน) เกณฑ คะแนน 1.ความนาสนใจและ ประโยชนของโครงการ/ รายงาน และระดับ ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ข อ ง โครง การ (5คะแนน) 2.ความสนใจ และ ความกระตือรือรนใน การดําเนินกิจกรรม (5 คะแนน) 3. รูปเลมและเนื้อหา ของโครงการ/รายงาน และการใชภาษาเชิง วิชาการ* (5 คะแนน) 4.การอภิปราย และ รูปแบบการนําเสนอ โครงงาน/รายงานใน ชั้นเรียน (5 คะแนน) 5 คะแนน โค ร งกา ร /ร าย ง า น น า ส น ใ จ แ ล ะ เ ป น ประโยชนตอสังคม มาก หรือเปนโครงการที่เปน ประโยชนในระดับ ประเทศ สงแบบเสนอโครงการ / รายงาน โดยมีการ รายงานความกาวหนา ของโครงการครบ 2 ครั้ง และสงรายงาน ฉ บั บ ส ม บู ร ณ ต า ม กําหนดเวลา โครงการ/รายงาน มี เนื้อหาครบ ถวนและ ถูกตอง ขอมูลและการ อางอิงไดจากแหลงที่ นาเชื่อถือ รูปเลมรายงาน ครบถวนและถูกตอง และ สามารถใชภาษาทาง วิชาการไดเหมาะสม มีความพรอมในการ นํา เ สน อ นํ า เส น อ ต า ม ลํ า ดั บ หั ว ข อ โครงการ/รายงาน ครบถวน สื่อที่ใชในการ นําเสนอมีคุณภาพดีและ เหมาะสม รวมทั้งอยูใน เวลานําเสนอที่กําหนด 4 คะแนน โครงการนาสนใจ และ เปนประโยชนตอสังคม สงแบบเสนอโครงการ/ รายงาน และรายงาน ฉบับสมบูรณตาม โครงการ/รายงานมีเนื้อ หาครบถวน แตไมถูก ตอง 1- 2 หัวขอขอมูล มีความพรอมในการนํา เสนอ แตไมเรียง ลําดับ หัวขอโครงการ/รายงาน
  • 12. มคอ. 3 12 เกณฑ คะแนน 1.ความนาสนใจและ ประโยชนของโครงการ/ รายงาน และระดับ ค ว า ม สํ า เ ร็ จ ข อ ง โครง การ (5คะแนน) 2.ความสนใจ และ ความกระตือรือรนใน การดําเนินกิจกรรม (5 คะแนน) 3. รูปเลมและเนื้อหา ของโครงการ/รายงาน และการใชภาษาเชิง วิชาการ* (5 คะแนน) 4.การอภิปราย และ รูปแบบการนําเสนอ โครงงาน/รายงานใน ชั้นเรียน (5 คะแนน) กําหนด เวลา แตสง รายงานความ กาวหนา ของโครงการ/รายงาน ตามกําหนดเวลา 1 ครั้ง และการอางอิงไดจาก แหลงที่นาเชื่อถือ รูปเลม รายงานครบถวนและถูก ตองการใชภาษาสวนใหญ เหมาะสม และไมครบ ถวน สื่อที่ใช ใน การนําเสนอมีคุณภาพ ดีและเหมาะสมรวมทั้งอยู ในเวลานําเสนอที่กําหนด 3 คะแนน โ ค ร งก า ร /ร า ย งา น น า ส น ใ จ แ ล ะ เ ป น ประโยชนตอสังคม พอสมควร สงแบบเสนอโครงการ/ รายงาน และรายงาน ฉ บั บ ส ม บู ร ณ ต า ม กําหนดเวลา แตไมไดสง รายงานความ กาวหนา ของโครงการ/รายงาน โครงการ/รายงาน มี เนื้อหาครบ ถวนแตไม ถูกตอง 3- 4 หัวขอ ขอมูลและการอางอิงได จากแหลงที่นาเชื่อถือ รูปเลมรายงานครบถวน และถูกตอง การใชภาษา เหมาะสมปานกลาง มีความพรอมในการ นําเสนอพอสมควร แต ไมเรียงลําดับหัวขอ โครงการ/รายงาน และ ไมครบถวน สื่อที่ใชใน การนําเสนอมีคุณภาพดี และเหมาะสมรวมทั้งอยู ในเวลานําเสนอที่กําหนด 2 คะแนน โ ค ร งก า ร /ร า ย งา น น า ส น ใ จ แ ล ะ เ ป น ประโยชนตอสังคมนอย สงแบบเสนอโครงการ/ รายงานตามกําหนด เวลา แตสงรายงาน ฉ บั บ ส ม บู ร ณ เ กิ น กําหนด และไมไดสง รายงานความกาวหนา ของโครงการ/รายงาน โครงการ/รายงาน มี เนื้อหาครบถวน แตไม ถูกตอง 5- 6 หัวขอ ขอมูลและการอางอิงได จากแหลงที่ไมนาเชื่อถือ รูปเลมรายงานไมถูกตอง การใชภาษาสวนใหญไม คอยเหมาะสม ความพรอมในการ นําเสนอนอยไมเรียง ลําดับหัวขอโครงการ/ รายงานและไมครบถวน สื่อที่ใชในการนําเสนอมี คุณภาพต่ํา และไม เหมาะสมรวมทั้งไมอยูใน เวลานําเสนอที่กําหนด 1 คะแนน โครงการ/รายงาน ไม น า ส น ใ จ แ ล ะ เ ป น ประโยชนตอสังคม นอย มาก สงแบบเสนอโครงการ/ รายงาน และรายงาน ฉ บั บ ส ม บู ร ณ เ กิ น กําหนดเวลา และไมได สงรายงานความกาว โครงการ/รายงาน มี เนื้อหาครบถวน แตไม ถูกตองตั้งแต 7 หัวขอ ขึ้นไป ขอมูลและการ อางอิงไดจากแหลงที่ไม ไมมีความพรอมในการ นําเสนอ ไมเรียงลําดับ หัวขอโครงการ/รายงาน และไมครบถวน สื่อที่ใช ในการนําเสนอมี หนาของโครงการ/ รายงาน นาเชื่อถือรูปเลมรายงาน ไมถูกตอง การใชภาษา ตองปรับปรุง คุณภาพต่ํามาก และไม เหมาะสมรวมทั้งไมอยูใน เวลานําเสนอที่กําหนด เนื้อหาประกอบดวย • ชื่อโครงการ • ผูจัดทําและอาจารยผูควบคุม • ความเปนมาและความสําคัญของโครงการ • วัตถุประสงค ขอบเขตการศึกษา วิธีการศึกษา ระยะเวลาและแผนการดําเนินโครงการ งบประมาณที่ใช ผลที่ คาดวาจะไดรับและคาเปาหมาย ผลการศึกษา สรุปผลการศึกษา ขอเสนอแนะ และเอกสารอางอิง
  • 13. มคอ. 3 13 ตารางที่ 4 เกณฑจุดประสงคขอสอบปลายภาคจากเนื้อหาในหนวยการเรียนของรายวิชาเหตุการณโลกรวมสมัย ตารางที่ 5 เกณฑสรุปการประเมินผลการเรียน เกรด คะแนน เกณฑการพิจารณา A 90 – 100 การทําแบบทดสอบความรู สงกิจกรรมกลุม สงแบบฝกปฏิบัติ สงโครงการ ฯ และสอบปลายภาคได 90-100 % B+ 85-89 การทําแบบทดสอบความรู สงกิจกรรมกลุม สงแบบฝกปฏิบัติ สงโครงการ ฯ และสอบปลายภาคได 85-89 % B 75-84 การทําแบบทดสอบความรู สงกิจกรรมกลุม สงแบบฝกปฏิบัติ สงโครงการ ฯ และสอบปลายภาคได 75-84 % C+ 70-74 การทําแบบทดสอบความรู สงกิจกรรมกลุม สงแบบฝกปฏิบัติ สงโครงการ ฯ และสอบปลายภาคได 70-74 % C 60-69 การทําแบบทดสอบความรู สงกิจกรรมกลุม สงแบบฝกปฏิบัติ สงโครงการ ฯ และสอบปลายภาคได 60-69 % D+ 55-59 การทําแบบทดสอบความรู สงกิจกรรมกลุม สงแบบฝกปฏิบัติ สงโครงการ ฯ และสอบปลายภาคได 55-59 % D 50-54 การทําแบบทดสอบความรู สงกิจกรรมกลุม สงแบบฝกปฏิบัติ สงโครงการ ฯ และสอบปลายภาคได 50-54 % F 0-49 การทําแบบทดสอบความรู สงกิจกรรมกลุม สงแบบฝกปฏิบัติ สงโครงการ ฯ และสอบปลายภาคได 0 -49 % หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. เอกสารและตําราหลัก รายวิชาเหตุการณโลกรวมสมัย. กรุงเทพมหานคร : โครงการตําราหมวดวิชาการศึกษาทั่วไป ศูนยหนังสือ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนดุสิต, 2558. 2. เอกสารและขอมูลสําคัญ - Power point สาระสําคัญของเนื้อหาแตละสวน - หัวขอการจัดกิจกรรม - สื่อ online YouTube สาระสําคัญของเนื้อหาบางสวน 3. เอกสารและขอมูลแนะนํา 1. กาวสูตลาดโลกอยางมั่นใจในเอเชีย. (2549). กรุงเทพฯ : หนาตางสูโลกกวาง. 2. จินตนาสุจจานันท.(2548).“ปญหาความยากจนในศตวรรษที่ 21”.ในวิทยาสารกําแพงแสนปที่ 3 ฉบับที่ 1. 3. จิรากรณ คชเสนี. (2544). มนุษยกับสิ่งแวดลอม. พิมพครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพแหง จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย. 4. ซูซูมุ โยดะ. (2546). ไตรวิกฤต ปญหาหลัก 3 ประการที่กําลังคุกคามการอยูรอดของโลก. (แปลจากTRILEMMA:ThreeMajorProblemsThreateningWorldSurvival โดย ทวีปชัยสมภพ). 5. ณัฐพงศ บุญเหลือ. 2549. ความรูพื้นฐานเกี่ยวกับโลกาภิวัตน [Online]. Available:http://www. midnightuniv .org/ midnight2545/document95184.html จุดประสงค หัวขอ 1 หัวขอ 2 หัวขอ 3 หัวขอ 4 หัวขอ5 หัวขอ 6 ขอสอบรวม รู 4 5 6 4 8 10 37 เขาใจ 5 4 3 5 2 3 22 ประยุกต 2 1 0 1 0 0 4 วิเคราะห 2 1 3 3 7 7 23 สังเคราะห 1 2 0 1 0 0 4 ประเมิน 1 1 2 4 2 0 10 ขอสอบรวม 15 14 14 18 19 20 100
  • 14. มคอ. 3 14 6. นิศารัตน ศิลปเดช. (2540). ประชากรกับการพัฒนาคุณภาพชีวิต. กรุงเทพฯ : พิศิษฐการพิมพ. 7. บุญเสริม บุญเจริญผล. 2549. คลื่นลูกที่สามของทอฟเฟลอร [Online]. Available:http://www krirk.ac.th/education/ dr_boonserm/G 8. ปุนภพแหงเอเชีย. กรุงเทพฯ : โครงการจัดพิมพคบไฟ, 2545. 10. มารยาท สมุทรสาคร. (2548). “ประเทศไทยจะสรางฐานเศรษฐกิจที่มั่นคงและยั่งยืนไดอยางไร”. วารสารเศรษฐกิจและสังคม,42 (3), 54-58. 11. ยุค ศรีอาริยะ. (2541). มายาโลกาภิวัตน. กรุงเทพมหานคร: อมรินทรพริ้นติ้งแอนดพับลิชชิ่ง. 12. รอฮีม ปรามาท. 2549. ประชากรโลก: ดุลยภาพที่ผันแปร[Online]. Available: http://www. rakbankerd.com/01_jam /thaiinfor/ country_info/index.html 13. โลกาภิวัตน : การเปลี่ยนแปลงสังคมโลกสูสังคมไทย [Online]. Available:http:// web.lru.ac.th/ ~303006/Grobal.doc 14. เลสเตอร อาร. บราวน. (2545). สิ่งทาทายแหงศตวรรษใหมในสภาวการณโลก 2000 (แปล จาก STATE OF THE WORLD 2000 โดย ประสาน ตางใจ). กรุงเทพมหานคร: โครงการจัดพิมพคบไฟ. 15. วิถีครอบครัวชาวเอเชียในศตวรรษที่ 21.(2554).กรุงเทพฯ:สํานักพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย 16. สุพจน บุญวิเศษ. (2546). การเมืองการปกครองไทยในบริบทโลกาภิวัตน. บทความเสนอในการ ประชุมทางวิชาการรัฐศาสตรและรัฐประศาสนศาสตรแหงชาติ ครั้งที่ 4 (พ.ศ. 2546). ศูนยการ ประชุมไบเทค. กรุงเทพมหานคร. หนา 336-337. 17. สังศิต พิริยะรังสรรค และ ผาสุก พงษไพจิตร. (2538). โลกาภิวัตนกับสังคมเศรษฐกิจไทย. กรุงเทพฯ: 179 การพิมพ. 18. อิสริยา บุญญะศิริ. (2548). การเปลี่ยนแปลงบริบทการพัฒนาของโลกตอทิศทางการพัฒนาประเทศ ไทย. วารสารเศรษฐกิจและสังคม,42 (3), 50-53. หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดําเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา นักศึกษาทุกคนประเมินประสิทธิผลของรายวิชา ทั้งวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในชั้นเรียน สื่อการ สอน และผลการเรียนรูที่ไดรับ ตลอดจนเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา ดวยระบบคอมพิวเตอรของ มหาวิทยาลัย 2. กลยุทธการประเมินการสอน 1. การประเมินจากผลการเรียนของผูเรียน 2. การสังเกตการสอนของคณาจารย 3. การประเมินผลความพึงพอใจในการจัดการเรียนการสอนวิชาเหตุการณโลกรวมสมัย 4. การประเมินประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนโดยนักศึกษา ผานระบบ On-line 3. การปรับปรุงการสอน 1. สัมภาษณนักศึกษาหาขอปรับปรุงการเรียนการสอน 2. มีการวิจัยชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน เชน การวิจัยเพื่อพัฒนาขอสอบมาตรฐานวิชา เหตุการณโลกรวมสมัย 3. มีการนําผลการประเมินจาก pre-test และ post มาปรับปรุงเนื้อหาสาระการเรียนการสอน
  • 15. มคอ. 3 15 4. มีการนําผลการประเมินประสิทธิภาพการจัดการเรียนการสอนโดยนักศึกษา ผานระบบ On-line ดวยระบบคอมพิวเตอรของมหาวิทยาลัย มาปรับปรุงการเรียนการสอน 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา โดยใชกระบวนการประชุมคณาจารยผูสอนทุกทานเพื่อชวยกันวิเคราะหขอสอบ และคะแนนสอบ ปลายภาคของนักศึกษาทุกตอนเรียน เพื่อนําไปปรับปรุงใหไปในทิศทางเดียวกันในปการศึกษาตอไป 5. การดําเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา 1. จัดการประชุมคณาจารยผูสอนในรายวิชารวมกัน 2. การทบทวนและปรับปรุงการสอนของรายวิชาในทุกภาคการศึกษา โดยนําประสิทธิผลของ รายวิชา ทั้งวิธีการสอน การจัดกิจกรรมในชั้นเรียน สื่อการสอน และผลการเรียนรูที่ไดรับ ตลอดจน เสนอแนะเพื่อการปรับปรุงรายวิชา 2. ปรับปรุงรายวิชาทุก 4 ป หรือตามขอเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์