SlideShare a Scribd company logo
1 of 31
Download to read offline
1



                                       คู่มือการใช้
                        บทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส

จุดประสงค์ของบทเรียน
       บทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัสนี้ ได้พัฒนาขึ้นเพื่อประกอบการจัดการเรียน
การสอนวิชาคณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเสนศิริอนุสรณ์
ตาบลอิสาณ อาเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ โดยใช้กระบวนการวิจัยในหาประสิทธิภาพของ
บทเรียน เมื่อผ่านการทดลองตามกระบวนการวิจัยและตามหลักวิชาการแล้ว สามารถนาบทเรียนนี้
ไปประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอน ดังนี้

           1. เป็นสื่อประกอบการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 2 ของโรงเรียนเสนศิริอนุสรณ์ ตาบลอิสาณ อาเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ ตลอดจน
สถานศึกษาอื่น ๆ ที่เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษา หรือให้นักเรียนเรียนด้วยตนเอง
           2. ใช้สอนเสริม เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส
           3. ใช้สอนในกรณีที่ครูผู้สอนไม่อยู่หรือขาดครูผู้สอนที่มีความถนัดในเนื้อหาวิชานี้
           4. ใช้เป็นโปรแกรมแบบฝึกหัดให้นักเรียนได้วัดและทบทวนความรู้
2



                       คาแนะนาการใช้บทเรียนออนไลน์

ข้อควรปฏิบัติสาหรับครูผู้สอน
        1.   ศึกษาคู่มืออย่างละเอียด
        2.   เตรียมเครื่องมือที่ต้องใช้กับบทเรียนตามข้อจากัดต่าง ๆ ให้ครบ
        3.   ศึกษาและทดลองใช้บทเรียนก่อนใช้ในการเรียนการสอนให้เข้าใจ
        4.   แนะนาการใช้บทเรียนให้นักเรียนเข้าใจและใช้ได้อย่างถูกต้องเสียก่อน
        5.   ในขณะที่นักเรียนกาลังศึกษาบทเรียน ครูต้องคอยดูแลให้ความช่วยเหลือ
             เมื่อนักเรียนมีปัญหา

เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้บทเรียนออนไลน์
        1.   CPU IntelM CoreTM2 Duo processor T6500 ขึ้นไป
        2.   ใช้กับ Window XP ขึ้นไป
        3.   หน่วยความจาไม่น้อยกว่า 1 Gb
        4.   Sound 16 bit พร้อมลาโพง
        5.   ปรับหน้าจอที่เหมาะสม ขนาด 800  600 pixels
        6.   มีการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายหรือระบบอินเทอร์เน็ต

คาแนะนาในการเรียนรู้
        1.   เปิดอินเทอร์เน็ตที่เว็บไซต์ http://youtachai.wordpress.com
        2.   คลิกเลือกเรียนหัวข้อทฤษฎีบทพีทาโกรัส
        3.   โปรแกรมจะเข้าสู่บทเรียนออนไลน์โดยอัตโนมัติ
        4.   โปรแกรมจะเข้าสู่หน้าเมนูหลักซึ่งประกอบไปด้วยปุ่มต่าง ๆ ดังนี้
             4.1 คาแนะนาวิธีใช้บทเรียน (Help)
             4.2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง
             4.3 แบบทดสอบก่อนเรียน
             4.4 สาระการเรียนรู้เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส
             4.5 แบบทดสอบหลังเรียน
             4.6 ผู้จัดทา
             4.7 ออกจากโปรแกรม (Exit)
3



5. นักเรียนควรศึกษาคาแนะนาวิธีใช้บทเรียนให้เข้าใจเสียก่อนแล้วทดสอบก่อนเรียน
6. สาระการเรียนรู้ มี 3 หน่วยการเรียนรู้ ได้แก่
   หน่วยที่ 1 ความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
   หน่วยที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
   หน่วยที่ 3 บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส
7. ศึกษาเนื้อหาบทเรียนและทาความเข้าใจในแต่ละหน่วยการเรียนรู้
8. ทาแบบทดสอบและแบบฝึกปฏิบัติในแต่ละหน่วยการเรียนรู้
9. เมื่อเรียนครบทุกหน่วยการเรียนรู้แล้วทาแบบทดสอบหลังเรียน
4



                                                  แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์                                                                     สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2                                                                เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
หน่วยที่ 1 ความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
    ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้
แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
    ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา
2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
    2.1 ความสามารถในการคิด
    2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา
    2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
3. จุดเน้น
    3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
4. สาระสาคัญ
          ในชีวิตประจาวันของเราเกี่ยวข้องกับรูปเรขาคณิตเสมอ เราใช้สมบัติของรูปเรขาคณิต
ในงานก่อสร้าง เช่น ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมในการประกอบโครงสร้างบ้านหรืออาคาร
ให้มีความแข็งแรง ใช้มุมฉากในการตั้งเสาบ้านให้ตั้งฉากกับพื้นดิน เพื่อให้บ้านเราแข็งแรง
และรับน้าหนักได้ดี สร้างหน้าต่างและประตูให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เพื่อความสวยงาม และ
มองเห็นภายนอกได้กว้าง หรือสร้างไม้ค้าประกอบเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากค้าชายคา
บ้านให้แข็งแรง มั่นคงและการตั้งเสาเอกต้องใช้ไม้ค้าเพื่อให้เสาเอกตั้งฉาก
          สาหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ กาลังสองของความยาว ของด้านตรงข้ามมุมฉากเท่ากับ
ผลบวกของกาลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก สมบัตินี้เรียกว่า ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
และเชื่อกันว่า นักคณิตศาสตร์ชาวกรีกชื่อพีทาโกรัสเป็นผู้พิสูจน์ได้เป็นคนแรก
5. จุดประสงค์การเรียนรู้
    5.1 อธิบายความสัมพันธ์ตามทฤษฎีบทพีทาโกรัสได้
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
    6.1 ใฝ่เรียนรู้
5



      6.2 มุ่งมั่นในการทางาน
7.    สาระการเรียนรู้
      7.1 ทดสอบก่อนเรียน 30 ข้อ
      7.2 ประวัติของพีทาโกรัส
      7.3 ความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (กิจกรรมที่ 1)
8.    กิจกรรมการเรียนรู้
      8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต
      8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com
      8.3 ก่อนเรียนให้นักเรียนศึกษาคาชี้แจงการใช้บทเรียนให้เข้าใจ แล้วทาแบบทดสอบก่อนเรียน
           มี 30 ข้อ
      8.4 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจประวัติของพีทาโกรัส และความสัมพันธ์ของรูป
           สามเหลี่ยมมุมฉาก กิจกรรมที่ 1
      8.5 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน
      8.6 ทดสอบหลังเรียน และฝึกทากิจกรรมท้ายบท
9.    สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
      9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
      9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com
10.   การวัดและประเมินผล
      ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท
11.   เกณฑ์การประเมิน
      เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80%
           (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)
6



                                                  แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์                                                                     สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2                                                                เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
หน่วยที่ 1 ความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
    ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้
แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
    ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา
2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
    2.1 ความสามารถในการคิด
    2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา
    2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
3. จุดเน้น
    3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
4. สาระสาคัญ
        ในชีวิตประจาวันของเราเกี่ยวข้องกับรูปเรขาคณิตเสมอ เราใช้สมบัติของรูปเรขาคณิต
ในงานก่อสร้าง เช่น ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมในการประกอบโครงสร้างบ้านหรืออาคาร
ให้มีความแข็งแรง ใช้มุมฉากในการตั้งเสาบ้านให้ตั้งฉากกับพื้นดิน เพื่อให้บ้านเราแข็งแรง
และรับน้าหนักได้ดี สร้างหน้าต่างและประตูให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เพื่อความสวยงาม และ
มองเห็นภายนอกได้กว้าง หรือสร้างไม้ค้าประกอบเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากค้าชายคา
บ้านให้แข็งแรง มั่นคงและการตั้งเสาเอกต้องใช้ไม้ค้าเพื่อให้เสาเอกตั้งฉาก
        สาหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ กาลังสองของความยาว ของด้านตรงข้ามมุมฉากเท่ากับ
ผลบวกของกาลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก สมบัตินี้เรียกว่า ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
และเชื่อกันว่า นักคณิตศาสตร์ชาวกรีกชื่อพีทาโกรัสเป็นผู้พิสูจน์ได้เป็นคนแรก
5. จุดประสงค์การเรียนรู้
    5.1 บอกความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากไปใช้ใน
การพิจารณาว่าสามเหลี่ยมใดเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่และใช้ในการคานวณหาความยาว
ของด้านของสามเหลี่ยมมุมฉาก
7



6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
   6.1 ใฝ่เรียนรู้
   6.2 มุ่งมั่นในการทางาน
7. สาระการเรียนรู้
   7.1 ความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (ตัวอย่างที่ 1)
8. กิจกรรมการเรียนรู้
   8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต
   8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com
   8.3 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ตัวอย่างที่ 1




    8.4 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน
    8.5 ทดสอบหลังเรียน
9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
    9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
    9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com
10. การวัดและประเมินผล
    ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท
11. เกณฑ์การประเมิน
    เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80%
        (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)
8



                                                  แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์                                                                     สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2                                                                เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
หน่วยที่ 1 ความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
    ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้
แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
    ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา
2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
    2.1 ความสามารถในการคิด
    2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา
    2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
3. จุดเน้น
    3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
4. สาระสาคัญ
        ในชีวิตประจาวันของเราเกี่ยวข้องกับรูปเรขาคณิตเสมอ เราใช้สมบัติของรูปเรขาคณิต
ในงานก่อสร้าง เช่น ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมในการประกอบโครงสร้างบ้านหรืออาคาร
ให้มีความแข็งแรง ใช้มุมฉากในการตั้งเสาบ้านให้ตั้งฉากกับพื้นดิน เพื่อให้บ้านเราแข็งแรง
และรับน้าหนักได้ดี สร้างหน้าต่างและประตูให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เพื่อความสวยงาม และ
มองเห็นภายนอกได้กว้าง หรือสร้างไม้ค้าประกอบเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากค้าชายคา
บ้านให้แข็งแรง มั่นคงและการตั้งเสาเอกต้องใช้ไม้ค้าเพื่อให้เสาเอกตั้งฉาก
        สาหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ กาลังสองของความยาว ของด้านตรงข้ามมุมฉากเท่ากับ
ผลบวกของกาลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก สมบัตินี้เรียกว่า ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
และเชื่อกันว่า นักคณิตศาสตร์ชาวกรีกชื่อพีทาโกรัสเป็นผู้พิสูจน์ได้เป็นคนแรก
5. จุดประสงค์การเรียนรู้
    5.1 บอกความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากไปใช้ใน
การพิจารณาว่าสามเหลี่ยมใดเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่และใช้ในการคานวณหาความยาว
ของด้านของสามเหลี่ยมมุมฉาก
9



6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
   6.1 ใฝ่เรียนรู้
   6.2 มุ่งมั่นในการทางาน
7. สาระการเรียนรู้
   7.1 ความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (ตัวอย่างที่ 2)
8. กิจกรรมการเรียนรู้
   8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต
   8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com
   8.3 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ตัวอย่างที่ 2




    8.4 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน
    8.5 ทดสอบหลังเรียน
9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
    9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
    9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com
10. การวัดและประเมินผล
    ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท
11. เกณฑ์การประเมิน
    เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80%
        (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)
10



                                                  แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์                                                                     สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2                                                                เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
หน่วยที่ 1 ความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
    ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้
แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
    ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา
2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
    2.1 ความสามารถในการคิด
    2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา
    2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
3. จุดเน้น
    3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
4. สาระสาคัญ
        ในชีวิตประจาวันของเราเกี่ยวข้องกับรูปเรขาคณิตเสมอ เราใช้สมบัติของรูปเรขาคณิต
ในงานก่อสร้าง เช่น ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมในการประกอบโครงสร้างบ้านหรืออาคาร
ให้มีความแข็งแรง ใช้มุมฉากในการตั้งเสาบ้านให้ตั้งฉากกับพื้นดิน เพื่อให้บ้านเราแข็งแรง
และรับน้าหนักได้ดี สร้างหน้าต่างและประตูให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เพื่อความสวยงาม และ
มองเห็นภายนอกได้กว้าง หรือสร้างไม้ค้าประกอบเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากค้าชายคา
บ้านให้แข็งแรง มั่นคงและการตั้งเสาเอกต้องใช้ไม้ค้าเพื่อให้เสาเอกตั้งฉาก
        สาหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ กาลังสองของความยาว ของด้านตรงข้ามมุมฉากเท่ากับ
ผลบวกของกาลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก สมบัตินี้เรียกว่า ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
และเชื่อกันว่า นักคณิตศาสตร์ชาวกรีกชื่อพีทาโกรัสเป็นผู้พิสูจน์ได้เป็นคนแรก
5. จุดประสงค์การเรียนรู้
    5.1 บอกความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากไปใช้ใน
การพิจารณาว่าสามเหลี่ยมใดเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่และใช้ในการคานวณหาความยาว
ของด้านของสามเหลี่ยมมุมฉาก
11



6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
   6.1 ใฝ่เรียนรู้
   6.2 มุ่งมั่นในการทางาน
7. สาระการเรียนรู้
   7.1 ความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (ตัวอย่างที่ 3)
8. กิจกรรมการเรียนรู้
   8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต
   8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com
   8.3 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ตัวอย่างที่ 3




    8.4 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน
    8.5 ทดสอบหลังเรียน
9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
    9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
    9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com
10. การวัดและประเมินผล
    ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท
11. เกณฑ์การประเมิน
    เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80%
        (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)
12



                                                  แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์                                                                     สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2                                                                เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
หน่วยที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
   ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้
แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
   ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา
2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
   2.1 ความสามารถในการคิด
   2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา
   2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
3. จุดเน้น
   3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
4. สาระสาคัญ
       ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับ
ผลบวกของพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านประกอบมุมฉาก
5. จุดประสงค์การเรียนรู้
   5.1 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสในการให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
   6.1 ใฝ่เรียนรู้
   6.2 มุ่งมั่นในการทางาน
7. สาระการเรียนรู้
   7.1 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
   7.2 พิสูจน์ทฤษฎีบทพีทาโกรัส วิธีที่ 1
   7.3 พิสูจน์ทฤษฎีบทพีทาโกรัส วิธีที่ 2
13



8. กิจกรรมการเรียนรู้
   8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต
   8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com
   8.3 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส และการพิสูจน์ทฤษฎีบท
       พีทาโกรัสวิธีที่ 1-2




    8.4 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน
    8.5 ทดสอบหลังเรียนทฤษฎีบทพีทาโกรัส และทากิจกรรมท้ายบท
9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
    9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
    9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com
10. การวัดและประเมินผล
    ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท
11. เกณฑ์การประเมิน
    เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80%
        (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)
14



                                                  แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์                                                                     สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2                                                                เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
หน่วยที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
   ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้
แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
   ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา
2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
   2.1 ความสามารถในการคิด
   2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา
   2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
3. จุดเน้น
   3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
4. สาระสาคัญ
       ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับ
ผลบวกของพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านประกอบมุมฉาก
5. จุดประสงค์การเรียนรู้
   5.1 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสในการให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
   6.1 ใฝ่เรียนรู้
   6.2 มุ่งมั่นในการทางาน
7. สาระการเรียนรู้
   7.1 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (ตัวอย่างที่ 1 - 3)
8. กิจกรรมการเรียนรู้
   8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต
   8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com
15



8.3 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตัวอย่างที่ 1 -3




8.4 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน
8.5 ทดสอบหลังเรียนทฤษฎีบทพีทาโกรัส ชุดที่ 1
16



9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
    9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
    9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com
10. การวัดและประเมินผล
    ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท
11. เกณฑ์การประเมิน
    เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80%
        (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)
17



                                                  แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์                                                                     สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2                                                                เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
หน่วยที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
   ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้
แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
   ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา
2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
   2.1 ความสามารถในการคิด
   2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา
   2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
3. จุดเน้น
   3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
4. สาระสาคัญ
       ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับ
ผลบวกของพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านประกอบมุมฉาก
5. จุดประสงค์การเรียนรู้
   5.1 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสในการให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
   6.1 ใฝ่เรียนรู้
   6.2 มุ่งมั่นในการทางาน
7. สาระการเรียนรู้
   7.1 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (ตัวอย่างที่ 4-6)
18




8. กิจกรรมการเรียนรู้
   8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต
   8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com
   8.3 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตัวอย่างที่ 4-6
19



    8.4 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน
    8.5 ทดสอบหลังเรียนทฤษฎีบทพีทาโกรัส ชุดที่ 2
9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
    9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
    9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com
10. การวัดและประเมินผล
    ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท
11. เกณฑ์การประเมิน
    เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80%
        (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)
20



                                                  แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์                                                                     สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2                                                                เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
หน่วยที่ 2 บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส
วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
     ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้
แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
     ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา
2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
     2.1 ความสามารถในการคิด
     2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา
     2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
3. จุดเน้น
     3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
4. สาระสาคัญ
          ในสมัยอียิปต์โบราณ เกษตรกรที่อาศัยอยู่ริมฝั่ง แม่น้าไนล์มักประสบปัญหาน้าท่วมที่ดิน
จนไม่สามารถ ชี้แนวเขตที่ดินของตนได้ จึงต้องรังวัดที่ดินใหม่เกือบทุกปี ในสมัยนั้นเมื่อต้องการ
รังวัดที่ดินให้เป็นมุมฉาก ชาวบ้าน จะใช้เชือก 13 ปม ระยะห่างระหว่างปมเป็น 1 หน่วย เท่ากัน มา
ขึงเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีด้านยาวเป็น 3, 4 และ 5 หน่วย จะได้รูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีด้านตรงข้าม
มุมฉากเป็น 5 หน่วย
          แม้แต่ในปัจจุบันถ้าช่างรังวัดไม่มีเครื่องมือวัดมุมฉาก เขาจะใช้เชือก 13 ปม มาขึง สร้างมุม
ฉากวิธีดังกล่าวนี้ชี้ให้เห็นว่าช่างรังวัดทราบว่ารูปสามเหลี่ยมที่มี ความยาวของด้านทั้งสามเป็น 3, 4
และ 5 หน่วย จะต้องเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
          ถ้ารูปสามเหลี่ยม ABC มีด้านยาว a, b และ c หน่วย และ c2 = a2 + b2 จะได้ว่า  ABC
เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และมีด้านที่ยาว c หน่วย เป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก
          สรุปได้ว่า สาหรับรูปสามเหลี่ยมใดๆ ถ้ากาลังสองของความยาวของด้านด้านหนึ่ง เท่ากับ
ผลบวกของกาลังสองของความยาวของด้านอีกสองด้านแล้ว รูปสามเหลี่ยมนั้นจะเป็นรูป
สามเหลี่ยมมุมฉาก ข้อสรุปนี้เป็นจริงตามบทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส
21



        บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัสเป็นการนาผลของทฤษฎีบทพีทาโกรัสมา เป็นเหตุ และนา
เหตุมาเป็นผล ซึ่งอธิบายได้ ดังนี้
        เหตุ : มีรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
        ผล : กาลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับผลบวกของกาลังสอง
               ของความยาวของด้านประกอบมุมฉากของรูปสามเหลี่ยม
        เมื่อนาผลข้างต้นมาเป็นเหตุ และเหตุมาเป็นผล ก็จะได้บทกลับของ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ดังกล่าวมาข้างต้น
5. จุดประสงค์การเรียนรู้
    5.1 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
    6.1 ใฝ่เรียนรู้
    6.2 มุ่งมั่นในการทางาน
7. สาระการเรียนรู้
    7.1 กิจกรรมบทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส
8. กิจกรรมการเรียนรู้
    8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต
    8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com
    8.3 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจ กิจกรรมบทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส




   8.4 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน
   8.5 ทดสอบหลังเรียนกิจกรรมบทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส
22



9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
    9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
    9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com
10. การวัดและประเมินผล
    ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท
11. เกณฑ์การประเมิน
    เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80%
        (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)
23



                                                  แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์                                                                     สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2                                                                เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
หน่วยที่ 2 บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส
วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
     ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้
แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
     ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา
2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
     2.1 ความสามารถในการคิด
     2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา
     2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
3. จุดเน้น
     3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
4. สาระสาคัญ
          ในสมัยอียิปต์โบราณ เกษตรกรที่อาศัยอยู่ริมฝั่ง แม่น้าไนล์มักประสบปัญหาน้าท่วมที่ดิน
จนไม่สามารถ ชี้แนวเขตที่ดินของตนได้ จึงต้องรังวัดที่ดินใหม่เกือบทุกปี ในสมัยนั้นเมื่อต้องการ
รังวัดที่ดินให้เป็นมุมฉาก ชาวบ้าน จะใช้เชือก 13 ปม ระยะห่างระหว่างปมเป็น 1 หน่วย เท่ากัน มา
ขึงเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีด้านยาวเป็น 3, 4 และ 5 หน่วย จะได้รูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีด้านตรงข้าม
มุมฉากเป็น 5 หน่วย
          แม้แต่ในปัจจุบันถ้าช่างรังวัดไม่มีเครื่องมือวัดมุมฉาก เขาจะใช้เชือก 13 ปม มาขึง สร้างมุม
ฉากวิธีดังกล่าวนี้ชี้ให้เห็นว่าช่างรังวัดทราบว่ารูปสามเหลี่ยมที่มี ความยาวของด้านทั้งสามเป็น 3, 4
และ 5 หน่วย จะต้องเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
          ถ้ารูปสามเหลี่ยม ABC มีด้านยาว a, b และ c หน่วย และ c2 = a2 + b2 จะได้ว่า  ABC
เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และมีด้านที่ยาว c หน่วย เป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก
          สรุปได้ว่า สาหรับรูปสามเหลี่ยมใดๆ ถ้ากาลังสองของความยาวของด้านด้านหนึ่ง เท่ากับ
ผลบวกของกาลังสองของความยาวของด้านอีกสองด้านแล้ว รูปสามเหลี่ยมนั้นจะเป็นรูป
สามเหลี่ยมมุมฉาก ข้อสรุปนี้เป็นจริงตามบทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส
24



        บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัสเป็นการนาผลของทฤษฎีบทพีทาโกรัสมา เป็นเหตุ และนา
เหตุมาเป็นผล ซึ่งอธิบายได้ ดังนี้
        เหตุ : มีรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
        ผล : กาลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับผลบวกของกาลังสอง
               ของความยาวของด้านประกอบมุมฉากของรูปสามเหลี่ยม
        เมื่อนาผลข้างต้นมาเป็นเหตุ และเหตุมาเป็นผล ก็จะได้บทกลับของ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ดังกล่าวมาข้างต้น
5. จุดประสงค์การเรียนรู้
    5.1 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
    6.1 ใฝ่เรียนรู้
    6.2 มุ่งมั่นในการทางาน
7. สาระการเรียนรู้
    7.1 การพิสูจน์บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส
    7.2 บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส (ตัวอย่างที่ 1)
8. กิจกรรมการเรียนรู้
    8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต
    8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com
    8.3 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจ การพิสูจน์บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส และ
        ตัวอย่างที่ 1




   8.4 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน
   8.5 ทดสอบหลังเรียนบทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตัวอย่างที่ 1
25



9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
    9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
    9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com
10. การวัดและประเมินผล
    ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท
11. เกณฑ์การประเมิน
    เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80%
        (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)
26



                                                 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์                                                                     สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2                                                                เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
หน่วยที่ 2 บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส
วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
     ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้
แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
     ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา
2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
     2.1 ความสามารถในการคิด
     2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา
     2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
3. จุดเน้น
     3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
4. สาระสาคัญ
          ในสมัยอียิปต์โบราณ เกษตรกรที่อาศัยอยู่ริมฝั่ง แม่น้าไนล์มักประสบปัญหาน้าท่วมที่ดิน
จนไม่สามารถ ชี้แนวเขตที่ดินของตนได้ จึงต้องรังวัดที่ดินใหม่เกือบทุกปี ในสมัยนั้นเมื่อต้องการ
รังวัดที่ดินให้เป็นมุมฉาก ชาวบ้าน จะใช้เชือก 13 ปม ระยะห่างระหว่างปมเป็น 1 หน่วย เท่ากัน มา
ขึงเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีด้านยาวเป็น 3, 4 และ 5 หน่วย จะได้รูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีด้านตรงข้าม
มุมฉากเป็น 5 หน่วย
          แม้แต่ในปัจจุบันถ้าช่างรังวัดไม่มีเครื่องมือวัดมุมฉาก เขาจะใช้เชือก 13 ปม มาขึง สร้างมุม
ฉากวิธีดังกล่าวนี้ชี้ให้เห็นว่าช่างรังวัดทราบว่ารูปสามเหลี่ยมที่มี ความยาวของด้านทั้งสามเป็น 3, 4
และ 5 หน่วย จะต้องเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
          ถ้ารูปสามเหลี่ยม ABC มีด้านยาว a, b และ c หน่วย และ c2 = a2 + b2 จะได้ว่า  ABC
เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และมีด้านที่ยาว c หน่วย เป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก
          สรุปได้ว่า สาหรับรูปสามเหลี่ยมใดๆ ถ้ากาลังสองของความยาวของด้านด้านหนึ่ง เท่ากับ
ผลบวกของกาลังสองของความยาวของด้านอีกสองด้านแล้ว รูปสามเหลี่ยมนั้นจะเป็นรูป
สามเหลี่ยมมุมฉาก ข้อสรุปนี้เป็นจริงตามบทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส
27



        บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัสเป็นการนาผลของทฤษฎีบทพีทาโกรัสมา เป็นเหตุ และนา
เหตุมาเป็นผล ซึ่งอธิบายได้ ดังนี้
        เหตุ : มีรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
        ผล : กาลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับผลบวกของกาลังสอง
               ของความยาวของด้านประกอบมุมฉากของรูปสามเหลี่ยม
        เมื่อนาผลข้างต้นมาเป็นเหตุ และเหตุมาเป็นผล ก็จะได้บทกลับของ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ดังกล่าวมาข้างต้น
5. จุดประสงค์การเรียนรู้
    5.1 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
    6.1 ใฝ่เรียนรู้
    6.2 มุ่งมั่นในการทางาน
7. สาระการเรียนรู้
    7.1 บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตัวอย่างที่ 2
8. กิจกรรมการเรียนรู้
    8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต
    8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com
    8.3 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจ บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตัวอย่างที่ 2




   8.4 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน
   8.5 ทดสอบหลังเรียนบทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตัวอย่างที่ 2
28



9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
    9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
    9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com
10. การวัดและประเมินผล
    ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท
11. เกณฑ์การประเมิน
    เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80%
        (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)
29



                                                 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์                                                                     สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2                                                                เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
หน่วยที่ 2 บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส
วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................

1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
     ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้
แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา
     ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา
2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
     2.1 ความสามารถในการคิด
     2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา
     2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
3. จุดเน้น
     3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้
4. สาระสาคัญ
          ในสมัยอียิปต์โบราณ เกษตรกรที่อาศัยอยู่ริมฝั่ง แม่น้าไนล์มักประสบปัญหาน้าท่วมที่ดิน
จนไม่สามารถ ชี้แนวเขตที่ดินของตนได้ จึงต้องรังวัดที่ดินใหม่เกือบทุกปี ในสมัยนั้นเมื่อต้องการ
รังวัดที่ดินให้เป็นมุมฉาก ชาวบ้าน จะใช้เชือก 13 ปม ระยะห่างระหว่างปมเป็น 1 หน่วย เท่ากัน มา
ขึงเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีด้านยาวเป็น 3, 4 และ 5 หน่วย จะได้รูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีด้านตรงข้าม
มุมฉากเป็น 5 หน่วย
          แม้แต่ในปัจจุบันถ้าช่างรังวัดไม่มีเครื่องมือวัดมุมฉาก เขาจะใช้เชือก 13 ปม มาขึง สร้างมุม
ฉากวิธีดังกล่าวนี้ชี้ให้เห็นว่าช่างรังวัดทราบว่ารูปสามเหลี่ยมที่มี ความยาวของด้านทั้งสามเป็น 3, 4
และ 5 หน่วย จะต้องเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
          ถ้ารูปสามเหลี่ยม ABC มีด้านยาว a, b และ c หน่วย และ c2 = a2 + b2 จะได้ว่า  ABC
เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และมีด้านที่ยาว c หน่วย เป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก
          สรุปได้ว่า สาหรับรูปสามเหลี่ยมใดๆ ถ้ากาลังสองของความยาวของด้านด้านหนึ่ง เท่ากับ
ผลบวกของกาลังสองของความยาวของด้านอีกสองด้านแล้ว รูปสามเหลี่ยมนั้นจะเป็นรูป
สามเหลี่ยมมุมฉาก ข้อสรุปนี้เป็นจริงตามบทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส
30



        บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัสเป็นการนาผลของทฤษฎีบทพีทาโกรัสมา เป็นเหตุ และนา
เหตุมาเป็นผล ซึ่งอธิบายได้ ดังนี้
        เหตุ : มีรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก
        ผล : กาลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับผลบวกของกาลังสอง
               ของความยาวของด้านประกอบมุมฉากของรูปสามเหลี่ยม
        เมื่อนาผลข้างต้นมาเป็นเหตุ และเหตุมาเป็นผล ก็จะได้บทกลับของ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส
ดังกล่าวมาข้างต้น
5. จุดประสงค์การเรียนรู้
    5.1 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
    6.1 ใฝ่เรียนรู้
    6.2 มุ่งมั่นในการทางาน
7. สาระการเรียนรู้
    7.1 บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตัวอย่างที่ 3
    7.2 ทดสอบหลังเรียนวัดผลการเรียน 30 ข้อ
8. กิจกรรมการเรียนรู้
    8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต
    8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com
    8.3 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจ บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตัวอย่างที่ 3




   8.4 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน
   8.5 ทดสอบหลังเรียนบทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตัวอย่างที่ 3
31



    8.6 ทดสอบหลังเรียนวัดผลการเรียน 30 ข้อ
9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
    9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
    9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com
10. การวัดและประเมินผล
    ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท
11. เกณฑ์การประเมิน
    เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80%
        (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)

More Related Content

What's hot

วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนAbdul Mahama
 
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรม
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรมWp1ปกบทเรียนโปรแกรม
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรมkrupornpana55
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตpodjarin
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)Aon Narinchoti
 
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปรายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปยิ่งใหญ่ไอที อ.รัตนวาปี
 
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 krurutsamee
 
ตยคู่มือ
ตยคู่มือตยคู่มือ
ตยคู่มือunyaparnss
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียkrupornpana55
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดrisa021040
 
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freewareตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & FreewareBoonlert Aroonpiboon
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ Newแผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ NewNattayaporn Dokbua
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556เทวัญ ภูพานทอง
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองKhunkrunuch
 
แบบสำรวจฯ ศึกษาปัจจุบัน
แบบสำรวจฯ ศึกษาปัจจุบันแบบสำรวจฯ ศึกษาปัจจุบัน
แบบสำรวจฯ ศึกษาปัจจุบันpodjarin
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2Jutarat Bussadee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4Meaw Sukee
 
ท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณaapiaa
 

What's hot (19)

Pancom m3
Pancom m3Pancom m3
Pancom m3
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรม
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรมWp1ปกบทเรียนโปรแกรม
Wp1ปกบทเรียนโปรแกรม
 
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิตแบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
แบบสำรวจความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตรวิทยาศาสตรบัณฑิต
 
Learning management plan 3
Learning management plan 3Learning management plan 3
Learning management plan 3
 
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
การพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบบูรณาการ(1)
 
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูปรายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
รายงานการสังเคราะห์การฝึกพิมพ์สัมผัส ด้วยโปรแกรมสำเร็จรูป
 
ชุดที่ 1
ชุดที่ 1 ชุดที่ 1
ชุดที่ 1
 
ตยคู่มือ
ตยคู่มือตยคู่มือ
ตยคู่มือ
 
แผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดียแผน 5 มัลติมีเดีย
แผน 5 มัลติมีเดีย
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
 
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freewareตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
ตัวอย่างแผนการสอนด้วย OSS & Freeware
 
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ Newแผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
แผนการจัดการเรียนรู้แบบย้อนกลับ New
 
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
รายงานผลการปฏิบัติงานและการประเมินตนเอง ปี 2556
 
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเองรายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
รายงานการปฏิบัติงานและผลการประเมินตนเอง
 
แบบสำรวจฯ ศึกษาปัจจุบัน
แบบสำรวจฯ ศึกษาปัจจุบันแบบสำรวจฯ ศึกษาปัจจุบัน
แบบสำรวจฯ ศึกษาปัจจุบัน
 
โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2โครงงานคณิตบทที่ 2
โครงงานคณิตบทที่ 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
 
ท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณท่องสูตรคูณ
ท่องสูตรคูณ
 

Similar to ตอบโจทย์ปัญหา PBL1

โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8unstreet
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้าKruthai Kidsdee
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]Aon Narinchoti
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคเทวัญ ภูพานทอง
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาPrae Samart
 
โครงงานสมบูรณ์
โครงงานสมบูรณ์โครงงานสมบูรณ์
โครงงานสมบูรณ์Kantisa Motalee
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10Aon Narinchoti
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างptrnan
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมptrnan
 
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์Kutjung Rmuti
 
โครงร างโครงงานคอม602
โครงร างโครงงานคอม602โครงร างโครงงานคอม602
โครงร างโครงงานคอม602Scott Tape
 

Similar to ตอบโจทย์ปัญหา PBL1 (20)

Unit1
Unit1Unit1
Unit1
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
โครงงานคอมพิวเตอร์ใบงานที่2-8
 
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
1.รายงานปฏิบัติงาน255538หน้า
 
Unit5
Unit5Unit5
Unit5
 
ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]ชุดที่+4 ..[1]
ชุดที่+4 ..[1]
 
Projectm6 2-2554 (1)
Projectm6 2-2554 (1)Projectm6 2-2554 (1)
Projectm6 2-2554 (1)
 
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิคแผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
แผนการสอนรายวิชาคอมพิวเตอร์กราฟิค
 
Project m607
Project m607Project m607
Project m607
 
คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชาคำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา
 
โครงงานสมบูรณ์
โครงงานสมบูรณ์โครงงานสมบูรณ์
โครงงานสมบูรณ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
Plan10
Plan10Plan10
Plan10
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
โครงร่างคอม
โครงร่างคอมโครงร่างคอม
โครงร่างคอม
 
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
การพัฒนาบทเรียนตามแนวคิดวิศวกรรมซอฟต์แวร์
 
แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้แผนการจัดการเรียนรู้
แผนการจัดการเรียนรู้
 
โครงร างโครงงานคอม602
โครงร างโครงงานคอม602โครงร างโครงงานคอม602
โครงร างโครงงานคอม602
 

More from Hathaichon Nonruongrit (8)

ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุข
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุขชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุข
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ สุขภาพดีมีความสุข
 
N
NN
N
 
Pbl 2
Pbl 2Pbl 2
Pbl 2
 
Manual answerpbl
Manual answerpblManual answerpbl
Manual answerpbl
 
Pbl1
Pbl1Pbl1
Pbl1
 
Pbl 2
Pbl 2Pbl 2
Pbl 2
 
Manual
ManualManual
Manual
 
ประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซีประวัติภาษาซี
ประวัติภาษาซี
 

ตอบโจทย์ปัญหา PBL1

  • 1. 1 คู่มือการใช้ บทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส จุดประสงค์ของบทเรียน บทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัสนี้ ได้พัฒนาขึ้นเพื่อประกอบการจัดการเรียน การสอนวิชาคณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 โรงเรียนเสนศิริอนุสรณ์ ตาบลอิสาณ อาเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ โดยใช้กระบวนการวิจัยในหาประสิทธิภาพของ บทเรียน เมื่อผ่านการทดลองตามกระบวนการวิจัยและตามหลักวิชาการแล้ว สามารถนาบทเรียนนี้ ไปประยุกต์ใช้กับการเรียนการสอน ดังนี้ 1. เป็นสื่อประกอบการเรียนการสอนวิชาคณิตศาสตร์ สาหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 2 ของโรงเรียนเสนศิริอนุสรณ์ ตาบลอิสาณ อาเภอเมืองบุรีรัมย์ จังหวัดบุรีรัมย์ ตลอดจน สถานศึกษาอื่น ๆ ที่เปิดสอนในระดับมัธยมศึกษา หรือให้นักเรียนเรียนด้วยตนเอง 2. ใช้สอนเสริม เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส 3. ใช้สอนในกรณีที่ครูผู้สอนไม่อยู่หรือขาดครูผู้สอนที่มีความถนัดในเนื้อหาวิชานี้ 4. ใช้เป็นโปรแกรมแบบฝึกหัดให้นักเรียนได้วัดและทบทวนความรู้
  • 2. 2 คาแนะนาการใช้บทเรียนออนไลน์ ข้อควรปฏิบัติสาหรับครูผู้สอน 1. ศึกษาคู่มืออย่างละเอียด 2. เตรียมเครื่องมือที่ต้องใช้กับบทเรียนตามข้อจากัดต่าง ๆ ให้ครบ 3. ศึกษาและทดลองใช้บทเรียนก่อนใช้ในการเรียนการสอนให้เข้าใจ 4. แนะนาการใช้บทเรียนให้นักเรียนเข้าใจและใช้ได้อย่างถูกต้องเสียก่อน 5. ในขณะที่นักเรียนกาลังศึกษาบทเรียน ครูต้องคอยดูแลให้ความช่วยเหลือ เมื่อนักเรียนมีปัญหา เครื่องคอมพิวเตอร์ที่ใช้บทเรียนออนไลน์ 1. CPU IntelM CoreTM2 Duo processor T6500 ขึ้นไป 2. ใช้กับ Window XP ขึ้นไป 3. หน่วยความจาไม่น้อยกว่า 1 Gb 4. Sound 16 bit พร้อมลาโพง 5. ปรับหน้าจอที่เหมาะสม ขนาด 800  600 pixels 6. มีการเชื่อมต่อระบบเครือข่ายหรือระบบอินเทอร์เน็ต คาแนะนาในการเรียนรู้ 1. เปิดอินเทอร์เน็ตที่เว็บไซต์ http://youtachai.wordpress.com 2. คลิกเลือกเรียนหัวข้อทฤษฎีบทพีทาโกรัส 3. โปรแกรมจะเข้าสู่บทเรียนออนไลน์โดยอัตโนมัติ 4. โปรแกรมจะเข้าสู่หน้าเมนูหลักซึ่งประกอบไปด้วยปุ่มต่าง ๆ ดังนี้ 4.1 คาแนะนาวิธีใช้บทเรียน (Help) 4.2 ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง 4.3 แบบทดสอบก่อนเรียน 4.4 สาระการเรียนรู้เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส 4.5 แบบทดสอบหลังเรียน 4.6 ผู้จัดทา 4.7 ออกจากโปรแกรม (Exit)
  • 3. 3 5. นักเรียนควรศึกษาคาแนะนาวิธีใช้บทเรียนให้เข้าใจเสียก่อนแล้วทดสอบก่อนเรียน 6. สาระการเรียนรู้ มี 3 หน่วยการเรียนรู้ ได้แก่ หน่วยที่ 1 ความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก หน่วยที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส หน่วยที่ 3 บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส 7. ศึกษาเนื้อหาบทเรียนและทาความเข้าใจในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ 8. ทาแบบทดสอบและแบบฝึกปฏิบัติในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ 9. เมื่อเรียนครบทุกหน่วยการเรียนรู้แล้วทาแบบทดสอบหลังเรียน
  • 4. 4 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง หน่วยที่ 1 ความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้ แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา 2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 2.1 ความสามารถในการคิด 2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา 2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. จุดเน้น 3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ 4. สาระสาคัญ ในชีวิตประจาวันของเราเกี่ยวข้องกับรูปเรขาคณิตเสมอ เราใช้สมบัติของรูปเรขาคณิต ในงานก่อสร้าง เช่น ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมในการประกอบโครงสร้างบ้านหรืออาคาร ให้มีความแข็งแรง ใช้มุมฉากในการตั้งเสาบ้านให้ตั้งฉากกับพื้นดิน เพื่อให้บ้านเราแข็งแรง และรับน้าหนักได้ดี สร้างหน้าต่างและประตูให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เพื่อความสวยงาม และ มองเห็นภายนอกได้กว้าง หรือสร้างไม้ค้าประกอบเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากค้าชายคา บ้านให้แข็งแรง มั่นคงและการตั้งเสาเอกต้องใช้ไม้ค้าเพื่อให้เสาเอกตั้งฉาก สาหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ กาลังสองของความยาว ของด้านตรงข้ามมุมฉากเท่ากับ ผลบวกของกาลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก สมบัตินี้เรียกว่า ทฤษฎีบทพีทาโกรัส และเชื่อกันว่า นักคณิตศาสตร์ชาวกรีกชื่อพีทาโกรัสเป็นผู้พิสูจน์ได้เป็นคนแรก 5. จุดประสงค์การเรียนรู้ 5.1 อธิบายความสัมพันธ์ตามทฤษฎีบทพีทาโกรัสได้ 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6.1 ใฝ่เรียนรู้
  • 5. 5 6.2 มุ่งมั่นในการทางาน 7. สาระการเรียนรู้ 7.1 ทดสอบก่อนเรียน 30 ข้อ 7.2 ประวัติของพีทาโกรัส 7.3 ความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (กิจกรรมที่ 1) 8. กิจกรรมการเรียนรู้ 8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต 8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com 8.3 ก่อนเรียนให้นักเรียนศึกษาคาชี้แจงการใช้บทเรียนให้เข้าใจ แล้วทาแบบทดสอบก่อนเรียน มี 30 ข้อ 8.4 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจประวัติของพีทาโกรัส และความสัมพันธ์ของรูป สามเหลี่ยมมุมฉาก กิจกรรมที่ 1 8.5 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน 8.6 ทดสอบหลังเรียน และฝึกทากิจกรรมท้ายบท 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com 10. การวัดและประเมินผล ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท 11. เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80% (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)
  • 6. 6 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 1 ชั่วโมง หน่วยที่ 1 ความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้ แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา 2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 2.1 ความสามารถในการคิด 2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา 2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. จุดเน้น 3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ 4. สาระสาคัญ ในชีวิตประจาวันของเราเกี่ยวข้องกับรูปเรขาคณิตเสมอ เราใช้สมบัติของรูปเรขาคณิต ในงานก่อสร้าง เช่น ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมในการประกอบโครงสร้างบ้านหรืออาคาร ให้มีความแข็งแรง ใช้มุมฉากในการตั้งเสาบ้านให้ตั้งฉากกับพื้นดิน เพื่อให้บ้านเราแข็งแรง และรับน้าหนักได้ดี สร้างหน้าต่างและประตูให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เพื่อความสวยงาม และ มองเห็นภายนอกได้กว้าง หรือสร้างไม้ค้าประกอบเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากค้าชายคา บ้านให้แข็งแรง มั่นคงและการตั้งเสาเอกต้องใช้ไม้ค้าเพื่อให้เสาเอกตั้งฉาก สาหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ กาลังสองของความยาว ของด้านตรงข้ามมุมฉากเท่ากับ ผลบวกของกาลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก สมบัตินี้เรียกว่า ทฤษฎีบทพีทาโกรัส และเชื่อกันว่า นักคณิตศาสตร์ชาวกรีกชื่อพีทาโกรัสเป็นผู้พิสูจน์ได้เป็นคนแรก 5. จุดประสงค์การเรียนรู้ 5.1 บอกความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากไปใช้ใน การพิจารณาว่าสามเหลี่ยมใดเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่และใช้ในการคานวณหาความยาว ของด้านของสามเหลี่ยมมุมฉาก
  • 7. 7 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6.1 ใฝ่เรียนรู้ 6.2 มุ่งมั่นในการทางาน 7. สาระการเรียนรู้ 7.1 ความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (ตัวอย่างที่ 1) 8. กิจกรรมการเรียนรู้ 8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต 8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com 8.3 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ตัวอย่างที่ 1 8.4 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน 8.5 ทดสอบหลังเรียน 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com 10. การวัดและประเมินผล ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท 11. เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80% (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)
  • 8. 8 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 1 ชั่วโมง หน่วยที่ 1 ความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้ แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา 2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 2.1 ความสามารถในการคิด 2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา 2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. จุดเน้น 3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ 4. สาระสาคัญ ในชีวิตประจาวันของเราเกี่ยวข้องกับรูปเรขาคณิตเสมอ เราใช้สมบัติของรูปเรขาคณิต ในงานก่อสร้าง เช่น ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมในการประกอบโครงสร้างบ้านหรืออาคาร ให้มีความแข็งแรง ใช้มุมฉากในการตั้งเสาบ้านให้ตั้งฉากกับพื้นดิน เพื่อให้บ้านเราแข็งแรง และรับน้าหนักได้ดี สร้างหน้าต่างและประตูให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เพื่อความสวยงาม และ มองเห็นภายนอกได้กว้าง หรือสร้างไม้ค้าประกอบเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากค้าชายคา บ้านให้แข็งแรง มั่นคงและการตั้งเสาเอกต้องใช้ไม้ค้าเพื่อให้เสาเอกตั้งฉาก สาหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ กาลังสองของความยาว ของด้านตรงข้ามมุมฉากเท่ากับ ผลบวกของกาลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก สมบัตินี้เรียกว่า ทฤษฎีบทพีทาโกรัส และเชื่อกันว่า นักคณิตศาสตร์ชาวกรีกชื่อพีทาโกรัสเป็นผู้พิสูจน์ได้เป็นคนแรก 5. จุดประสงค์การเรียนรู้ 5.1 บอกความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากไปใช้ใน การพิจารณาว่าสามเหลี่ยมใดเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่และใช้ในการคานวณหาความยาว ของด้านของสามเหลี่ยมมุมฉาก
  • 9. 9 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6.1 ใฝ่เรียนรู้ 6.2 มุ่งมั่นในการทางาน 7. สาระการเรียนรู้ 7.1 ความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (ตัวอย่างที่ 2) 8. กิจกรรมการเรียนรู้ 8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต 8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com 8.3 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ตัวอย่างที่ 2 8.4 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน 8.5 ทดสอบหลังเรียน 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com 10. การวัดและประเมินผล ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท 11. เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80% (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)
  • 10. 10 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 1 ชั่วโมง หน่วยที่ 1 ความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้ แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา 2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 2.1 ความสามารถในการคิด 2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา 2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. จุดเน้น 3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ 4. สาระสาคัญ ในชีวิตประจาวันของเราเกี่ยวข้องกับรูปเรขาคณิตเสมอ เราใช้สมบัติของรูปเรขาคณิต ในงานก่อสร้าง เช่น ใช้สมบัติของรูปสามเหลี่ยมในการประกอบโครงสร้างบ้านหรืออาคาร ให้มีความแข็งแรง ใช้มุมฉากในการตั้งเสาบ้านให้ตั้งฉากกับพื้นดิน เพื่อให้บ้านเราแข็งแรง และรับน้าหนักได้ดี สร้างหน้าต่างและประตูให้เป็นรูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก เพื่อความสวยงาม และ มองเห็นภายนอกได้กว้าง หรือสร้างไม้ค้าประกอบเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากค้าชายคา บ้านให้แข็งแรง มั่นคงและการตั้งเสาเอกต้องใช้ไม้ค้าเพื่อให้เสาเอกตั้งฉาก สาหรับรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ กาลังสองของความยาว ของด้านตรงข้ามมุมฉากเท่ากับ ผลบวกของกาลังสองของความยาวของด้านประกอบมุมฉาก สมบัตินี้เรียกว่า ทฤษฎีบทพีทาโกรัส และเชื่อกันว่า นักคณิตศาสตร์ชาวกรีกชื่อพีทาโกรัสเป็นผู้พิสูจน์ได้เป็นคนแรก 5. จุดประสงค์การเรียนรู้ 5.1 บอกความสัมพันธ์ระหว่างความยาวของด้านของรูปสามเหลี่ยมมุมฉากไปใช้ใน การพิจารณาว่าสามเหลี่ยมใดเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉากหรือไม่และใช้ในการคานวณหาความยาว ของด้านของสามเหลี่ยมมุมฉาก
  • 11. 11 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6.1 ใฝ่เรียนรู้ 6.2 มุ่งมั่นในการทางาน 7. สาระการเรียนรู้ 7.1 ความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก (ตัวอย่างที่ 3) 8. กิจกรรมการเรียนรู้ 8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต 8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com 8.3 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจความสัมพันธ์ของรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ตัวอย่างที่ 3 8.4 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน 8.5 ทดสอบหลังเรียน 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com 10. การวัดและประเมินผล ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท 11. เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80% (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)
  • 12. 12 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง หน่วยที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้ แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา 2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 2.1 ความสามารถในการคิด 2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา 2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. จุดเน้น 3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ 4. สาระสาคัญ ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับ ผลบวกของพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านประกอบมุมฉาก 5. จุดประสงค์การเรียนรู้ 5.1 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสในการให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้ 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6.1 ใฝ่เรียนรู้ 6.2 มุ่งมั่นในการทางาน 7. สาระการเรียนรู้ 7.1 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส 7.2 พิสูจน์ทฤษฎีบทพีทาโกรัส วิธีที่ 1 7.3 พิสูจน์ทฤษฎีบทพีทาโกรัส วิธีที่ 2
  • 13. 13 8. กิจกรรมการเรียนรู้ 8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต 8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com 8.3 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส และการพิสูจน์ทฤษฎีบท พีทาโกรัสวิธีที่ 1-2 8.4 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน 8.5 ทดสอบหลังเรียนทฤษฎีบทพีทาโกรัส และทากิจกรรมท้ายบท 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com 10. การวัดและประเมินผล ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท 11. เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80% (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)
  • 14. 14 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง หน่วยที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้ แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา 2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 2.1 ความสามารถในการคิด 2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา 2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. จุดเน้น 3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ 4. สาระสาคัญ ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับ ผลบวกของพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านประกอบมุมฉาก 5. จุดประสงค์การเรียนรู้ 5.1 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสในการให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้ 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6.1 ใฝ่เรียนรู้ 6.2 มุ่งมั่นในการทางาน 7. สาระการเรียนรู้ 7.1 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (ตัวอย่างที่ 1 - 3) 8. กิจกรรมการเรียนรู้ 8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต 8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com
  • 15. 15 8.3 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตัวอย่างที่ 1 -3 8.4 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน 8.5 ทดสอบหลังเรียนทฤษฎีบทพีทาโกรัส ชุดที่ 1
  • 16. 16 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com 10. การวัดและประเมินผล ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท 11. เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80% (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)
  • 17. 17 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง หน่วยที่ 2 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้ แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา 2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 2.1 ความสามารถในการคิด 2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา 2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. จุดเน้น 3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ 4. สาระสาคัญ ในรูปสามเหลี่ยมมุมฉากใดๆ พื้นที่ของรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับ ผลบวกของพื้นที่รูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสบนด้านประกอบมุมฉาก 5. จุดประสงค์การเรียนรู้ 5.1 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสในการให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้ 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6.1 ใฝ่เรียนรู้ 6.2 มุ่งมั่นในการทางาน 7. สาระการเรียนรู้ 7.1 ทฤษฎีบทพีทาโกรัส (ตัวอย่างที่ 4-6)
  • 18. 18 8. กิจกรรมการเรียนรู้ 8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต 8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com 8.3 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตัวอย่างที่ 4-6
  • 19. 19 8.4 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน 8.5 ทดสอบหลังเรียนทฤษฎีบทพีทาโกรัส ชุดที่ 2 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com 10. การวัดและประเมินผล ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท 11. เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80% (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)
  • 20. 20 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 1 ชั่วโมง หน่วยที่ 2 บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้ แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา 2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 2.1 ความสามารถในการคิด 2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา 2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. จุดเน้น 3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ 4. สาระสาคัญ ในสมัยอียิปต์โบราณ เกษตรกรที่อาศัยอยู่ริมฝั่ง แม่น้าไนล์มักประสบปัญหาน้าท่วมที่ดิน จนไม่สามารถ ชี้แนวเขตที่ดินของตนได้ จึงต้องรังวัดที่ดินใหม่เกือบทุกปี ในสมัยนั้นเมื่อต้องการ รังวัดที่ดินให้เป็นมุมฉาก ชาวบ้าน จะใช้เชือก 13 ปม ระยะห่างระหว่างปมเป็น 1 หน่วย เท่ากัน มา ขึงเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีด้านยาวเป็น 3, 4 และ 5 หน่วย จะได้รูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีด้านตรงข้าม มุมฉากเป็น 5 หน่วย แม้แต่ในปัจจุบันถ้าช่างรังวัดไม่มีเครื่องมือวัดมุมฉาก เขาจะใช้เชือก 13 ปม มาขึง สร้างมุม ฉากวิธีดังกล่าวนี้ชี้ให้เห็นว่าช่างรังวัดทราบว่ารูปสามเหลี่ยมที่มี ความยาวของด้านทั้งสามเป็น 3, 4 และ 5 หน่วย จะต้องเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ถ้ารูปสามเหลี่ยม ABC มีด้านยาว a, b และ c หน่วย และ c2 = a2 + b2 จะได้ว่า  ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และมีด้านที่ยาว c หน่วย เป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก สรุปได้ว่า สาหรับรูปสามเหลี่ยมใดๆ ถ้ากาลังสองของความยาวของด้านด้านหนึ่ง เท่ากับ ผลบวกของกาลังสองของความยาวของด้านอีกสองด้านแล้ว รูปสามเหลี่ยมนั้นจะเป็นรูป สามเหลี่ยมมุมฉาก ข้อสรุปนี้เป็นจริงตามบทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส
  • 21. 21 บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัสเป็นการนาผลของทฤษฎีบทพีทาโกรัสมา เป็นเหตุ และนา เหตุมาเป็นผล ซึ่งอธิบายได้ ดังนี้ เหตุ : มีรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ผล : กาลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับผลบวกของกาลังสอง ของความยาวของด้านประกอบมุมฉากของรูปสามเหลี่ยม เมื่อนาผลข้างต้นมาเป็นเหตุ และเหตุมาเป็นผล ก็จะได้บทกลับของ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ดังกล่าวมาข้างต้น 5. จุดประสงค์การเรียนรู้ 5.1 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้ 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6.1 ใฝ่เรียนรู้ 6.2 มุ่งมั่นในการทางาน 7. สาระการเรียนรู้ 7.1 กิจกรรมบทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส 8. กิจกรรมการเรียนรู้ 8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต 8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com 8.3 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจ กิจกรรมบทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส 8.4 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน 8.5 ทดสอบหลังเรียนกิจกรรมบทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส
  • 22. 22 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com 10. การวัดและประเมินผล ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท 11. เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80% (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)
  • 23. 23 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 1 ชั่วโมง หน่วยที่ 2 บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้ แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา 2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 2.1 ความสามารถในการคิด 2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา 2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. จุดเน้น 3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ 4. สาระสาคัญ ในสมัยอียิปต์โบราณ เกษตรกรที่อาศัยอยู่ริมฝั่ง แม่น้าไนล์มักประสบปัญหาน้าท่วมที่ดิน จนไม่สามารถ ชี้แนวเขตที่ดินของตนได้ จึงต้องรังวัดที่ดินใหม่เกือบทุกปี ในสมัยนั้นเมื่อต้องการ รังวัดที่ดินให้เป็นมุมฉาก ชาวบ้าน จะใช้เชือก 13 ปม ระยะห่างระหว่างปมเป็น 1 หน่วย เท่ากัน มา ขึงเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีด้านยาวเป็น 3, 4 และ 5 หน่วย จะได้รูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีด้านตรงข้าม มุมฉากเป็น 5 หน่วย แม้แต่ในปัจจุบันถ้าช่างรังวัดไม่มีเครื่องมือวัดมุมฉาก เขาจะใช้เชือก 13 ปม มาขึง สร้างมุม ฉากวิธีดังกล่าวนี้ชี้ให้เห็นว่าช่างรังวัดทราบว่ารูปสามเหลี่ยมที่มี ความยาวของด้านทั้งสามเป็น 3, 4 และ 5 หน่วย จะต้องเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ถ้ารูปสามเหลี่ยม ABC มีด้านยาว a, b และ c หน่วย และ c2 = a2 + b2 จะได้ว่า  ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และมีด้านที่ยาว c หน่วย เป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก สรุปได้ว่า สาหรับรูปสามเหลี่ยมใดๆ ถ้ากาลังสองของความยาวของด้านด้านหนึ่ง เท่ากับ ผลบวกของกาลังสองของความยาวของด้านอีกสองด้านแล้ว รูปสามเหลี่ยมนั้นจะเป็นรูป สามเหลี่ยมมุมฉาก ข้อสรุปนี้เป็นจริงตามบทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส
  • 24. 24 บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัสเป็นการนาผลของทฤษฎีบทพีทาโกรัสมา เป็นเหตุ และนา เหตุมาเป็นผล ซึ่งอธิบายได้ ดังนี้ เหตุ : มีรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ผล : กาลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับผลบวกของกาลังสอง ของความยาวของด้านประกอบมุมฉากของรูปสามเหลี่ยม เมื่อนาผลข้างต้นมาเป็นเหตุ และเหตุมาเป็นผล ก็จะได้บทกลับของ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ดังกล่าวมาข้างต้น 5. จุดประสงค์การเรียนรู้ 5.1 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้ 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6.1 ใฝ่เรียนรู้ 6.2 มุ่งมั่นในการทางาน 7. สาระการเรียนรู้ 7.1 การพิสูจน์บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส 7.2 บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส (ตัวอย่างที่ 1) 8. กิจกรรมการเรียนรู้ 8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต 8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com 8.3 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจ การพิสูจน์บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส และ ตัวอย่างที่ 1 8.4 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน 8.5 ทดสอบหลังเรียนบทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตัวอย่างที่ 1
  • 25. 25 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com 10. การวัดและประเมินผล ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท 11. เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80% (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)
  • 26. 26 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 1 ชั่วโมง หน่วยที่ 2 บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้ แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา 2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 2.1 ความสามารถในการคิด 2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา 2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. จุดเน้น 3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ 4. สาระสาคัญ ในสมัยอียิปต์โบราณ เกษตรกรที่อาศัยอยู่ริมฝั่ง แม่น้าไนล์มักประสบปัญหาน้าท่วมที่ดิน จนไม่สามารถ ชี้แนวเขตที่ดินของตนได้ จึงต้องรังวัดที่ดินใหม่เกือบทุกปี ในสมัยนั้นเมื่อต้องการ รังวัดที่ดินให้เป็นมุมฉาก ชาวบ้าน จะใช้เชือก 13 ปม ระยะห่างระหว่างปมเป็น 1 หน่วย เท่ากัน มา ขึงเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีด้านยาวเป็น 3, 4 และ 5 หน่วย จะได้รูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีด้านตรงข้าม มุมฉากเป็น 5 หน่วย แม้แต่ในปัจจุบันถ้าช่างรังวัดไม่มีเครื่องมือวัดมุมฉาก เขาจะใช้เชือก 13 ปม มาขึง สร้างมุม ฉากวิธีดังกล่าวนี้ชี้ให้เห็นว่าช่างรังวัดทราบว่ารูปสามเหลี่ยมที่มี ความยาวของด้านทั้งสามเป็น 3, 4 และ 5 หน่วย จะต้องเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ถ้ารูปสามเหลี่ยม ABC มีด้านยาว a, b และ c หน่วย และ c2 = a2 + b2 จะได้ว่า  ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และมีด้านที่ยาว c หน่วย เป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก สรุปได้ว่า สาหรับรูปสามเหลี่ยมใดๆ ถ้ากาลังสองของความยาวของด้านด้านหนึ่ง เท่ากับ ผลบวกของกาลังสองของความยาวของด้านอีกสองด้านแล้ว รูปสามเหลี่ยมนั้นจะเป็นรูป สามเหลี่ยมมุมฉาก ข้อสรุปนี้เป็นจริงตามบทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส
  • 27. 27 บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัสเป็นการนาผลของทฤษฎีบทพีทาโกรัสมา เป็นเหตุ และนา เหตุมาเป็นผล ซึ่งอธิบายได้ ดังนี้ เหตุ : มีรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ผล : กาลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับผลบวกของกาลังสอง ของความยาวของด้านประกอบมุมฉากของรูปสามเหลี่ยม เมื่อนาผลข้างต้นมาเป็นเหตุ และเหตุมาเป็นผล ก็จะได้บทกลับของ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ดังกล่าวมาข้างต้น 5. จุดประสงค์การเรียนรู้ 5.1 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้ 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6.1 ใฝ่เรียนรู้ 6.2 มุ่งมั่นในการทางาน 7. สาระการเรียนรู้ 7.1 บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตัวอย่างที่ 2 8. กิจกรรมการเรียนรู้ 8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต 8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com 8.3 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจ บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตัวอย่างที่ 2 8.4 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน 8.5 ทดสอบหลังเรียนบทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตัวอย่างที่ 2
  • 28. 28 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com 10. การวัดและประเมินผล ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท 11. เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80% (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)
  • 29. 29 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ สาระการเรียนรู้ที่ 3 เรขาคณิต ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลาเรียน 2 ชั่วโมง หน่วยที่ 2 บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส วันที่สอน..............................เดือน................................................................พ.ศ................................ 1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด ค 3.2 ใช้การนึกภาพ (visualization) ใช้เหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning) และใช้ แบบจาลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแก้ปัญหา ตัวชี้วัด ม.2/2 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหา 2. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน 2.1 ความสามารถในการคิด 2.2 ความสามารถในการแก้ปัญหา 2.3 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี 3. จุดเน้น 3.1 ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรียนรู้ 4. สาระสาคัญ ในสมัยอียิปต์โบราณ เกษตรกรที่อาศัยอยู่ริมฝั่ง แม่น้าไนล์มักประสบปัญหาน้าท่วมที่ดิน จนไม่สามารถ ชี้แนวเขตที่ดินของตนได้ จึงต้องรังวัดที่ดินใหม่เกือบทุกปี ในสมัยนั้นเมื่อต้องการ รังวัดที่ดินให้เป็นมุมฉาก ชาวบ้าน จะใช้เชือก 13 ปม ระยะห่างระหว่างปมเป็น 1 หน่วย เท่ากัน มา ขึงเป็นรูปสามเหลี่ยมที่มีด้านยาวเป็น 3, 4 และ 5 หน่วย จะได้รูปสามเหลี่ยมมุมฉากที่มีด้านตรงข้าม มุมฉากเป็น 5 หน่วย แม้แต่ในปัจจุบันถ้าช่างรังวัดไม่มีเครื่องมือวัดมุมฉาก เขาจะใช้เชือก 13 ปม มาขึง สร้างมุม ฉากวิธีดังกล่าวนี้ชี้ให้เห็นว่าช่างรังวัดทราบว่ารูปสามเหลี่ยมที่มี ความยาวของด้านทั้งสามเป็น 3, 4 และ 5 หน่วย จะต้องเป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ถ้ารูปสามเหลี่ยม ABC มีด้านยาว a, b และ c หน่วย และ c2 = a2 + b2 จะได้ว่า  ABC เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก และมีด้านที่ยาว c หน่วย เป็นด้านตรงข้ามมุมฉาก สรุปได้ว่า สาหรับรูปสามเหลี่ยมใดๆ ถ้ากาลังสองของความยาวของด้านด้านหนึ่ง เท่ากับ ผลบวกของกาลังสองของความยาวของด้านอีกสองด้านแล้ว รูปสามเหลี่ยมนั้นจะเป็นรูป สามเหลี่ยมมุมฉาก ข้อสรุปนี้เป็นจริงตามบทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส
  • 30. 30 บทกลับของทฤษฎีบทพีทาโกรัสเป็นการนาผลของทฤษฎีบทพีทาโกรัสมา เป็นเหตุ และนา เหตุมาเป็นผล ซึ่งอธิบายได้ ดังนี้ เหตุ : มีรูปสามเหลี่ยมรูปหนึ่ง เป็นรูปสามเหลี่ยมมุมฉาก ผล : กาลังสองของความยาวของด้านตรงข้ามมุมฉาก เท่ากับผลบวกของกาลังสอง ของความยาวของด้านประกอบมุมฉากของรูปสามเหลี่ยม เมื่อนาผลข้างต้นมาเป็นเหตุ และเหตุมาเป็นผล ก็จะได้บทกลับของ ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ดังกล่าวมาข้างต้น 5. จุดประสงค์การเรียนรู้ 5.1 ใช้ทฤษฎีบทพีทาโกรัสและบทกลับในการให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้ 6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 6.1 ใฝ่เรียนรู้ 6.2 มุ่งมั่นในการทางาน 7. สาระการเรียนรู้ 7.1 บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตัวอย่างที่ 3 7.2 ทดสอบหลังเรียนวัดผลการเรียน 30 ข้อ 8. กิจกรรมการเรียนรู้ 8.1 เตรียมเครื่องคอมพิวเตอร์พร้อมเชื่อมต่อสัญญาณอินเทอร์เน็ต 8.2 เปิดบทเรียนออนไลน์เรื่องทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ http://youtachai.wordpress.com 8.3 นักเรียนศึกษาบทเรียนทาความเข้าใจ บทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตัวอย่างที่ 3 8.4 เขียนบันทึกตามความเข้าใจในสมุดงาน 8.5 ทดสอบหลังเรียนบทกลับทฤษฎีบทพีทาโกรัส ตัวอย่างที่ 3
  • 31. 31 8.6 ทดสอบหลังเรียนวัดผลการเรียน 30 ข้อ 9. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 9.1 เครื่องคอมพิวเตอร์ที่เชื่อมต่อระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต 9.2 บทเรียนออนไลน์ เรื่อง ทฤษฎีบทพีทาโกรัส ที่ URL http://youtachai.wordpress.com 10. การวัดและประเมินผล ประเมินจากคะแนนแบบทดสอบท้ายบท 11. เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การประเมินคะแนนแบบทดสอบท้ายบท เกณฑ์ผ่าน 80% (ถ้าไม่ผ่านเกณฑ์ผู้เรียนสามารถกลับไปเรียนใหม่ได้โดยไม่จากัดจานวนครั้ง)