SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
รายละเอียดของรายวิชา
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา สถาบันการพลศึกษา
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา วิทยาเขตอุดรธานี คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ
หมวดที่ 1 ลักษณะข้อมูลโดยทั่วไปของรายวิชา
1. รหัสและชื่อรายวิชา
วท 023002 ชีวเคมีพื้นฐาน
( Basic Biochemisty )
2. จานวนหน่วยกิต
3 หน่วยกิต 3(2-2-5)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
วิทยาศาสตร์บัณฑิต รายวิชา หมวดวิชาเฉพาะกลุ่มวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
นางสาวญาติกา โชติชัชวาลกุล
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน
ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2555
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites) (ถ้ามี)
-
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)
-
8. สถานที่เรียน
คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตอุดรธานี
9. วันที่จัดทารายละเอียดของรายวิชา หรือวันที่มีการปรับปรุงครั้งล่าสุด
1 พฤษภาคม 2555
2
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบทางเคมีของสิ่งมีชีวิตรวมทั้งผลิตผลที่ได้จาก
สิ่งมีชีวิต เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรท ลิพิด (lipid)
2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเปลี่ยนแปลงสารต่าง ๆ ที่เป็นองค์ประกอบของ
สิ่งมีชีวิต ที่เรียกว่า ขบวนการเมแทบอลิซึม
3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการต่าง ๆ ที่ควบคุมเมแทบอลิซึมให้ดาเนินไปอย่าง
มีระเบียบเพื่อให้เกิดลักษณะเฉพาะของสิ่งมีชีวิต
4. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
5. เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติและค่านิยมทางวิทยาศาสตร์
6. เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจาวัน
เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสได้ใช้ความคิดของตนเอง สามารถทางานได้ด้วยตนเองตามลาพัง และ
สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ
2. จุดประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
พัฒนาขึ้นมาเพื่อให้เป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษา ดังนี้
1. เพื่อให้มีทักษะที่สาคัญในการศึกษาค้นคว้า การแสวงหาความรู้ การคิดค้นทางวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต
2. เพื่อพัฒนากระบวนการคิด จินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ ความสามารถในการแก้ปัญหา
ความสามารถในการตัดสินใจ ทักษะในการสื่อสาร ทักษะการจัดการและการทางานด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์
3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านชีวเคมีพื้นฐานให้เกิดประโยชน์สูงสุดทันต่อการ
เปลี่ยนแปลงทางด้านวิทยาสาสตร์และเทคโนโลยี
3
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ
1. คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาโมเลกุลของสารในสิ่งมีชีวิต พร้อมทั้งสมบัติ หน้าที่และบทบาทของเซลล์และองค์ประกอบของเซลล์
กรด เบส บัฟเฟอร์ในเซลล์ โปรตีน เอนไซม์ คาร์โบไฮเดรต ลิพิด(Lipid) วิตามิน ฮอร์โมน การย่อยและการ
ดูดซึมอาหาร เมแทบอลิซึม (Metabolism) ของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ลิพิด(Lipid) คาร์โบไฮเดรต และของเหลว
ในร่างกาย
2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน
ภาคสนาม/การฝึกงาน
การศึกษาด้วยตนเอง
30 ชั่วโมง - 30 ชั่วโมง 75 ชั่วโมง
3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
3.1 อาจารย์ประจาวิชาจัดเวลาสาหรับให้นักศึกษาพบ จานวน 30 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ซึ่งนักศึกษา
สามารถขอคาปรึกษาได้
3.2 นักศึกษาสามารถนัดเวลา เพื่อปรึกษาข้อสงสัยในรายวิชาได้ (เฉพาะรายวิชาที่ต้องการ)
3.3 อาจารย์ประจารายวิชาประกาศเวลาให้ปรึกษาผ่านเวปไซด์ของคณะ
4
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
- มีวินัยมีความตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเองในการเข้าชั้นเรียนและส่งชิ้นงานที่ได้รับ
มอบหมายตามกาหนดเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของสถาบัน
- มีความซื่อสัตย์สุจริต โดยต้องไม่กระทาการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านผู้อื่น
- เคารพสิทธิ และรับฟังความคิดเห็นของเพื่อนร่วมชั้นเรียน
- มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 วิธีการสอน
- อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างโดยการเข้าสอนให้ตรงเวลาและสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมใน
ระหว่างจัดการเรียนการสอน
- มีการมอบหมายงานและกาหนดการส่งงานให้ตรงต่อเวลา
1.3 วิธีการสอน
- พิจารณาจากการมีวินัย การตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเอง จากการเข้าชั้นเรียน การส่ง
งานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตและเวลาที่กาหนด
- ประเมินการมีความเสียสละ ความมีมารยาท และการเคารพกฎข้อระเบียบต่างๆ จากการปฏิบัติตน
ในเวลาเรียน
- สังเกตความสนใจและพฤติกรรมในชั้นเรียน
2. ความรู้
2.1.ความรู้ที่ต้องได้รับ
นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในหลักการศึกษาโมเลกุลของสารในสิ่งมีชีวิต พร้อมทั้งสมบัติ หน้าที่และบทบาทของ
เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์ กรด เบส บัฟเฟอร์ในเซลล์ โปรตีน เอนไซม์ คาร์โบไฮเดรต ลิพิด(Lipid)
วิตามิน ฮอร์โมน การย่อยและการดูดซึมอาหาร เมแทบอลิซึม (Metabolism) ของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ลิพิด
(Lipid) คาร์โบไฮเดรต และของเหลวในร่างกาย และปฏิบัติการในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้องอีกทั้งสามารถนา
ความรู้ไปประยุกต์ในกิจกรรมด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา
2.2.วิธีการสอน
บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง การอภิปรายกลุ่ม การจัดทางาน/โครงงานและนาเสนอผลงาน ทั้งนี้ให้
สอดคล้องกับเนื้อหาสาระของรายวิชา
2.3.วิธีการประเมินผล
- ประเมินจาการนาเสนอผลงาน/การอภิปรายกลุ่ม
- การสอบกลางภาพและปลายภาค
5
3. ทักษะทางปัญญา
3.1.ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
- นักศึกษาสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริงได้
- นักศึกษาเชื่อมโยงความรู้กับวิทยาศาสตร์การกีฬาได้อย่างเหมาะสม
- นักศึกษาสามารถพัฒนาความคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาในเชิงสร้างสรรค์
3.2.วิธีการสอน
- ในขณะบรรยายจะยกตัวอย่างประกอบ โดยนาความรู้ที่กาลังเรียนมาใช้อธิบายให้เกิดความชัดเจน
เป็นต้น
- ให้นักศึกษาสืบค้น/สืบสอบความรู้และระดมสมองร่วมอภิปรายกลุ่ม
- การฝึกปฏิบัติ
3.3.วิธีการประเมินผล
- การสอบกลางภาคและปลายภาคโดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์
- สังเกตพฤติกรรมการคานวณ การคิดอย่างเป็นระบบ
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
- มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ กล้าแสดงความคิดเห็นและยอมรับ
ความคิดเห็นของผู้อื่น
- พัฒนาทักษะให้มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี
- พัฒนาทักษะให้มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
4.2.วิธีการสอน
- จัดกิจกรรมกลุ่ม/อภิปรายกลุ่ม และนาเสนอผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย
- จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาให้นักศึกษาเรียนรู้แบบร่วมมือ ฝึกการทางานเป็นกลุ่ม ตลอดจนมี
การสอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม การมีมนุษย์สัมพันธ์ และการเข้าใจในวัฒนธรรมองค์การ
4.3.วิธีการประเมินผล
- ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา ในการเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน และ
สังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
- พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ทักษะในการนาเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ
เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม
- พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปลความ การเขียน โดยการทางาน/ทารายงาน/
การนาเสนอรายงานในชั้นเรียน
6
5.2.วิธีการสอน
- มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง/การทารายงานโดยอ้างอิงแหล่งที่สืบค้นข้อมูลที่
น่าเชื่อถือ
5.3.วิธีการประเมินผล
- ประเมินจากรายงาน/การนาเสนองานและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสม
- ทักษะในการนาเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบเครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
สัปดาห์
ที่
หัวข้อ/รายละเอียด จานวน
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการ
สอน/สื่อที่ใช้
ผู้สอน
1 หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางชีวเคมี
1. ชีวเคมีคืออะไร
2. ประวัติความเป็นมาของชีวเคมี
3. ขอบข่ายของวิชาชีวเคมี
4 1. บรรยาย Power Point
2.การอภิปราย
3.การศึกษาค้นคว้าด้วย
ตนเอง
นางสาวญาติกา
โชติชัชวาลกุล
2 หน่วยที่ 2 เซลล์และองค์ประกอบของ
เซลล์
- เซลล์
- องค์ประกอบของเซลล์
- องค์ประกอบทางเคมีของเซลล์
4 1. บรรยาย Power Point
2.การอภิปราย
3.การศึกษาค้นคว้าด้วย
ตนเอง
นางสาวญาติกา
โชติชัชวาลกุล
3 หน่วยที่ 3 ดุลน้าและดุลอิเล็กโทรไลต์
สมดุลกรด-เบส
- ความหมายของการรักษาสมดุล
- มาตรการของการควบคุมให้ภาวะ
ต่าง ๆ อยู่ในภาวะสมดุล
- ดุลน้า และดุลอิเล็กโทรไลต์
- เมแทบอลิซึมของโซเดียมและโพแทสเซียม
- ดุลกรด-เบส
- กลไกการควบคุมดุลกรด-เบส
8 1. บรรยาย Power Point
2.การอภิปราย
3.การศึกษาค้นคว้าด้วย
ตนเอง
นางสาวญาติกา
โชติชัชวาลกุล
4 หน่วยที่ 4 โปรตีน
- ส่วนประกอบทางเคมี
4 1. บรรยาย Power Point
2.การอภิปราย
นางสาวญาติกา
โชติชัชวาลกุล
7
- การจาแนกชนิดของโปรตีน
- ลักษณะโครงสร้างของโปรตีน
- คุณสมบัติของโปรตีน
- การทาลายสภาพธรรมชาติ
3.การศึกษาค้นคว้าด้วย
ตนเอง
5 หน่วยที่ 5 คาร์โบไฮเดรท
- ชนิดของคาร์โบไฮเดรท
- หน้าที่ของคาร์โบไฮเดรท
4 1. บรรยาย Power Point
2.การอภิปราย
3.การศึกษาค้นคว้าด้วย
ตนเอง
นางสาวญาติกา
โชติชัชวาลกุล
6 หน่วยที่ 6 ลิพิด
- ลิพิด (lipid)
- ประเภทของลิพิด
- กรดไขมัน (Fatty acid)
- คุณสมบัติบางประการของลิพิด
- หน้าที่ของลิพิด
4 1. บรรยาย Power Point
2.การอภิปราย
3.การศึกษาค้นคว้าด้วย
ตนเอง
นางสาวญาติกา
โชติชัชวาลกุล
7 หน่วยที่ 7 เอนไซม์
- การแบ่งประเภทของเอนไซม์
- คุณสมบัติทั่วไปของเอนไซม์
- ลักษณะการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์
- ความจาเพาะและประสิทธิภาพของ
เอนไซม์
- อิทธิพลที่มีต่อการทางานของเอนไซม์
- ตัวยับยั้งปฏิกิริยาของเอนไซม์
- โคแฟคเตอร์ (Cofactor)
- ไอโซไซม์
- อัลโลสสเตริคเอนไซม์
4 1. บรรยาย Power Point
2.การอภิปราย
3.การศึกษาค้นคว้าด้วย
ตนเอง
นางสาวญาติกา
โชติชัชวาลกุล
8 หน่วยที่ 8 วิตามิน
- วิตามินคืออะไร
- ประวัติความเป็นมาของวิตามิน
- ส่วนประกอบและคุณสมบัติของวิตามิน
- ประเภทของวิตามิน
- หน้าที่ ของวิตามิน
4 1. บรรยาย Power Point
2.การอภิปราย
3.การศึกษาค้นคว้าด้วย
ตนเอง
นางสาวญาติกา
โชติชัชวาลกุล
9 สอบกลางภาค
10 หน่วยที่ 9 ฮอร์โมน
- ประวัติการค้นพบ
4 1. บรรยาย Power Point
2.การอภิปราย
นางสาวญาติกา
โชติชัชวาลกุล
8
- ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง
- ฮอร์โมนจากไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์
- ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต
- ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์, พาราไทรอยด์
- ฮอร์โมนจากอวัยวะเพศ
- ฮอร์โมนจากต่อมไพเนียล ต่อมไทมัสและ
เนื้อเยื่ออื่นๆ
- การควบคุมการทางานของฮอร์โมน
3.การศึกษาค้นคว้าด้วย
ตนเอง
11 หน่วยที่ 10 หลักเบื้องต้นของ เมแทบอลิ
ซึมและการย่อยสลาย
- กระบวนการเมแทบอลิซึม
- การควบคุมการสร้างและการสลายสารชีว
โมเลกุลภายในเซลล์
- การผลิตพลังงานของสิ่งมีชีวิต
- การย่อยสลาย
8 1. บรรยาย Power Point
2.การอภิปราย
3.การศึกษาค้นคว้าด้วย
ตนเอง
นางสาวญาติกา
โชติชัชวาลกุล
12 หน่วยที่ 11เมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรท
- กระบวนการเมแทบอลิซึมของ
คาร์โบไฮเดรต
- เมตาบอลิสมของสารอื่นโดยวิถีไกลโคไล
ซิส
- การควบคุมเมตาบอลิสมของ
คาร์โบไฮเดรต
- โรคที่เกิดจากข้อบกพร่องในเมตาบอลิสม
ของคาร์โบไฮเดรต
4 1. บรรยาย Power Point
2.การอภิปราย
3.การศึกษาค้นคว้าด้วย
ตนเอง
13 หน่วยที่ 12 เมแทบอลิซึมของลิพิด
- กระบวนการย่อย การดูดซึม และการ
ขนส่ง
- กระบวนการแมเทบอลิซึมของลิพิดใน
เซลล์และเนื้อเยื่อต่าง ๆ
- การควบคุมเมตาบอลิสมของกรดไขมัน
- โรคที่เกิดจากข้อบกพร่องใน แมเทบอลิ
ซึมของไขมัน
4 1. บรรยาย Power Point
2.การอภิปราย
3.การศึกษาค้นคว้าด้วย
ตนเอง
นางสาวญาติกา
โชติชัชวาลกุล
9
14 หน่วยที่ 13 เมแทบอลิซึมของโปรตีน
- กระบวนการย่อยและการดูดซึมโปรตีน
- กระบวนการเมแทบอลิซึมของกรดอะมิโน
- การควบคุมการสังเคราะห์กรดอะมิโน
- ความบกพร่องในกระบวนการเมแทบอลิ
ซึมของกรดอะมิโน
4 1. บรรยาย Power Point
2.การอภิปราย
3.การศึกษาค้นคว้าด้วย
ตนเอง
นางสาวญาติกา
โชติชัชวาลกุล
15 หน่วยที่ 14 การนาความรู้ทางชีวเคมีมาใช้
ในชีวิตประจาวัน
- แอนติเจนและการสร้างแอนติบอดี้
- การให้ภูมิคุ้มกันโรค
- ยาที่มีผลต่อร่างกาย
- การใช้ยาให้ถูกวิธี
- ชีวเคมีกับการเกษตร
1. บรรยาย Power Point
2.การอภิปราย
3.การศึกษาค้นคว้าด้วย
ตนเอง
นางสาวญาติกา
โชติชัชวาลกุล
16 สอบปลายภาค
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
กิจกรรมที่
ผลการ
เรียนรู้
วิธีการประเมินผลการศึกษา
สัปดาห์ที่
ประเมิน
สัดส่วนของ
การ
ประเมินผล
1.1,1.2,2.1 - การเข้าชั้นเรียนอย่างสม่าเสมอ
- การมีส่วนร่วมทางานกลุ่ม การอภิปราย การ
แสดงความคิดในชั้นเรียน
ตลอดภาค
การศึกษา
5%
10%
2.1,3.1,4.1 - การจัดสอบกลางภาค/ปลายภาค
8,17
30%
30%
4.1,5.1 - การจัดทารายงาน/การนาเสนอผลงานทั้ง
รายบุคคลและกลุ่ม
7,14 10%
10
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. ตาราและเอกสารหลัก
เพ็ญศรี สิงห์วี. (2553). เอกสารประกอบการสอนวิชาชีวเคมีพื้นฐาน . สุพรรณบุรี : สถาบันการพล
ศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี.
2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ
ประดิษฐ์ มีสุข . ชีวเคมีเบื้องต้น (เคมีชีวิต) . กรุงเทพ : มหาวิทยาลัยทักษิณ . 2547
ปนัดดา โรจน์พิบูลสถิตย์ ชีวเคมีทางการแพทย์ : เมตาบอลิสมของสารอาหารเชิงบูรณาการ
สา หรับนักศึกษาสาย วิทยาศาสตร์การแพทย์ . กรุงเทพ : บุ๊คเนต , 2546
มนตรี จุฬาวัฒนทล เมตาบอลิสม ศ.ส. การพิมพ์ 2526, หน้า 79-88.
สิรินทร์ วิโมกข์สันถว์ และคณะ ชีวเคมีฉบับปรับปรุงใหม่ พิมพ์ครั้งที่ 2 ศ.ส. การพิมพ์ 2523,
หน้า 300-311.
สุพักตร์ ยองสุวรรณ. ชีวเคมี. มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ. พิษณุโลก, 2531
อาภัสสรา ชมิดท์ ชีวเคมี พิมพ์ครั้งที่ 3 ลินคอร์นโปรโมชั่น กรุงเทพฯ, 2543
3. เอกสารและข้อมูลแนะนา
Lehninger,A.L. Principle of Biochemistry. Baltimore, Worth Publishers, 1982.
Chapters 22.
Stryer, L. Biochemistry. 2nd ed., San Francisco, W.H. Freeman and Company, 1981. Chapters 22.
11
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
ให้นักศึกษาทุกคนทาแบบประเมินผู้สอน
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
- สังเกตการณ์สอนของครูผู้สอนโดยคณะกรรมการวิชาการคณะ
- เปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อน-หลังเรียน
- ทวนสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยแบบทดสอบมาตรฐาน
3. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 หากพบว่าวิธีการที่ใช้สอบไม่สามารถทาให้ผู้เรียนเข้าใจได้ ก็
จะต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมองและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุง
การสอน ดังนี้
- การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่
อาจารย์ประจาหลักสูตร
5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมินข้อ 1 และข้อ 2 ได้มีการวางแผนเพื่อปรับปรุงกลยุทธ์การจัดการเรียนการสอนใหม่ ๆ
และเพิ่มแบบฝึกทักษะต่างๆ

More Related Content

What's hot

มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156Ajnawa Sing
 
มคอ3.ฟิสิกส์ทั่วไป ญาติกา
มคอ3.ฟิสิกส์ทั่วไป ญาติกามคอ3.ฟิสิกส์ทั่วไป ญาติกา
มคอ3.ฟิสิกส์ทั่วไป ญาติกาไชยยา มะณี
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551คน ขี้เล่า
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดrisa021040
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1kruthailand
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556Srion Janeprapapong
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางguest6e231b
 
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลกมคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลกChalit Arm'k
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54Jiraporn
 
มคอ.3 historical tourism
มคอ.3  historical tourismมคอ.3  historical tourism
มคอ.3 historical tourismchickyshare
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 12557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1WC Triumph
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์chaiwat vichianchai
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4dechathon
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 2dechathon
 

What's hot (20)

มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156
 
Sarกฤตยาฉบับส่งรรเทอม1ปี57
Sarกฤตยาฉบับส่งรรเทอม1ปี57Sarกฤตยาฉบับส่งรรเทอม1ปี57
Sarกฤตยาฉบับส่งรรเทอม1ปี57
 
มคอ3.ฟิสิกส์ทั่วไป ญาติกา
มคอ3.ฟิสิกส์ทั่วไป ญาติกามคอ3.ฟิสิกส์ทั่วไป ญาติกา
มคอ3.ฟิสิกส์ทั่วไป ญาติกา
 
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
การใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
 
หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1หลักสูตรwin win1
หลักสูตรwin win1
 
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
รายงานการดำเนินงานวิชาทักษะการรู้สารสนเทศ (มคอ.5) ภาคปลาย ปีการศึกษา 2556
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลกมคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
 
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54รายงานการประเมินตนเอง 2 54
รายงานการประเมินตนเอง 2 54
 
มคอ.3 historical tourism
มคอ.3  historical tourismมคอ.3  historical tourism
มคอ.3 historical tourism
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยา
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
 
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 12557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
2557 มคอ 3 การจัดการคลินิกและโรงพยาบาล 1
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
มคอ3เพศศึกษา
มคอ3เพศศึกษามคอ3เพศศึกษา
มคอ3เพศศึกษา
 
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
แบบประเมิน รางวัลทรงคุณค่า สพฐ (Obec awards) ของครูไชยวัฒน์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 4
 
มคอ.3 สารสนเทศ
มคอ.3 สารสนเทศมคอ.3 สารสนเทศ
มคอ.3 สารสนเทศ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 2แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ย่อยที่ 2
 

Similar to มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55

มคอ.3 วิชากีฬาเพื่อสุขภาพ
มคอ.3 วิชากีฬาเพื่อสุขภาพมคอ.3 วิชากีฬาเพื่อสุขภาพ
มคอ.3 วิชากีฬาเพื่อสุขภาพไชยยา มะณี
 
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬามคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬาไชยยา มะณี
 
มคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guideมคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guidechickyshare
 
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichaiGSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichaiWichai Likitponrak
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01witthawat silad
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)ชนาธิป ศรีโท
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)etcenterrbru
 
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกาไชยยา มะณี
 
มคอ.3 tourism business
มคอ.3  tourism businessมคอ.3  tourism business
มคอ.3 tourism businesschickyshare
 
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬาไชยยา มะณี
 
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬาไชยยา มะณี
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างptrnan
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมptrnan
 
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxแผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxTangkwaLalida
 
เตรียมสอบ O net
เตรียมสอบ O netเตรียมสอบ O net
เตรียมสอบ O netpimmiecyrille
 

Similar to มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55 (20)

มคอ.3 วิชากีฬาเพื่อสุขภาพ
มคอ.3 วิชากีฬาเพื่อสุขภาพมคอ.3 วิชากีฬาเพื่อสุขภาพ
มคอ.3 วิชากีฬาเพื่อสุขภาพ
 
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬามคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
 
มคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guideมคอ.3 professional guide
มคอ.3 professional guide
 
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichaiGSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
GSprojectscience reprot2562_2_kruwichai
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
แผนจัดการเรียนรู้ที่ 01
 
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
มคอ 3 ชนาธิป (กฎหมายปกครอง)
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)
 
SARkruwichaiTU2562
SARkruwichaiTU2562SARkruwichaiTU2562
SARkruwichaiTU2562
 
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกามอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
มอค.3คณิตและสถิติในชีวิตประจำวัน ญาติกา
 
มคอ.3 tourism business
มคอ.3  tourism businessมคอ.3  tourism business
มคอ.3 tourism business
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word01 ตอนที่ 1 word
01 ตอนที่ 1 word
 
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
 
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬามคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
มคอ.3จิตวิทยาการกีฬา
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docxแผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
แผนการงานอาชีพ ม. 4.docx
 
เตรียมสอบ O net
เตรียมสอบ O netเตรียมสอบ O net
เตรียมสอบ O net
 

More from ไชยยา มะณี

ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...
ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...
ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...ไชยยา มะณี
 
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬามคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬาไชยยา มะณี
 
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬามคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬาไชยยา มะณี
 
มคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬา
มคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬามคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬา
มคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬาไชยยา มะณี
 
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2ไชยยา มะณี
 
มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1
มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1
มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1ไชยยา มะณี
 

More from ไชยยา มะณี (12)

ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...
ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...
ตารางสอบปลายภาค นักศึกษาคณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ ประจำภาคเรียนที่ 1 ปีก...
 
ประกาศ
ประกาศประกาศ
ประกาศ
 
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬามคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
 
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬามคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
มคอ.3 วิชานวัตกรรมและเทคโนโลยีทางวิทยาศาสตร์การกีฬา
 
มคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬา
มคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬามคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬา
มคอ 3 หลักวิทยาศาสตร์ในการฝึกกีฬา
 
พิสิษฐ์
พิสิษฐ์พิสิษฐ์
พิสิษฐ์
 
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
มคอ.3การเรียนรู้ทักษะการเคลื่อนไหว2
 
มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1
มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1
มคอ 3 รายวิชาแอโรบิกดานซ์1
 
ตุลา 1
ตุลา 1ตุลา 1
ตุลา 1
 
แผน 2555 เทอม 2
แผน  2555 เทอม 2แผน  2555 เทอม 2
แผน 2555 เทอม 2
 
111
111111
111
 
แผน 2555 เทอม 2
แผน  2555 เทอม 2แผน  2555 เทอม 2
แผน 2555 เทอม 2
 

มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55

  • 1. รายละเอียดของรายวิชา ชื่อสถาบันอุดมศึกษา สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา วิทยาเขตอุดรธานี คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ หมวดที่ 1 ลักษณะข้อมูลโดยทั่วไปของรายวิชา 1. รหัสและชื่อรายวิชา วท 023002 ชีวเคมีพื้นฐาน ( Basic Biochemisty ) 2. จานวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต 3(2-2-5) 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา วิทยาศาสตร์บัณฑิต รายวิชา หมวดวิชาเฉพาะกลุ่มวิชาพื้นฐานวิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน นางสาวญาติกา โชติชัชวาลกุล 5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2555 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisites) (ถ้ามี) - 7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี) - 8. สถานที่เรียน คณะวิทยาศาสตร์การกีฬาและสุขภาพ สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตอุดรธานี 9. วันที่จัดทารายละเอียดของรายวิชา หรือวันที่มีการปรับปรุงครั้งล่าสุด 1 พฤษภาคม 2555
  • 2. 2 หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา 1. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับองค์ประกอบทางเคมีของสิ่งมีชีวิตรวมทั้งผลิตผลที่ได้จาก สิ่งมีชีวิต เช่น โปรตีน คาร์โบไฮเดรท ลิพิด (lipid) 2. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการเปลี่ยนแปลงสารต่าง ๆ ที่เป็นองค์ประกอบของ สิ่งมีชีวิต ที่เรียกว่า ขบวนการเมแทบอลิซึม 3. เพื่อให้ผู้เรียนมีความรู้ความเข้าใจในกระบวนการต่าง ๆ ที่ควบคุมเมแทบอลิซึมให้ดาเนินไปอย่าง มีระเบียบเพื่อให้เกิดลักษณะเฉพาะของสิ่งมีชีวิต 4. เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 5. เพื่อให้ผู้เรียนมีเจตคติและค่านิยมทางวิทยาศาสตร์ 6. เพื่อให้ผู้เรียนนาความรู้และทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ไปใช้ในชีวิตประจาวัน เพื่อให้นักศึกษาได้มีโอกาสได้ใช้ความคิดของตนเอง สามารถทางานได้ด้วยตนเองตามลาพัง และ สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้อย่างมีประสิทธิภาพ 2. จุดประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา พัฒนาขึ้นมาเพื่อให้เป็นไปตามหลักสูตรสถานศึกษา ดังนี้ 1. เพื่อให้มีทักษะที่สาคัญในการศึกษาค้นคว้า การแสวงหาความรู้ การคิดค้นทางวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ตลอดจนการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ เพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต 2. เพื่อพัฒนากระบวนการคิด จินตนาการ ความคิดสร้างสรรค์ ความสามารถในการแก้ปัญหา ความสามารถในการตัดสินใจ ทักษะในการสื่อสาร ทักษะการจัดการและการทางานด้วยวิธีการทางวิทยาศาสตร์ 3. เพื่อให้ผู้เรียนสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ทางด้านชีวเคมีพื้นฐานให้เกิดประโยชน์สูงสุดทันต่อการ เปลี่ยนแปลงทางด้านวิทยาสาสตร์และเทคโนโลยี
  • 3. 3 หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ 1. คาอธิบายรายวิชา ศึกษาโมเลกุลของสารในสิ่งมีชีวิต พร้อมทั้งสมบัติ หน้าที่และบทบาทของเซลล์และองค์ประกอบของเซลล์ กรด เบส บัฟเฟอร์ในเซลล์ โปรตีน เอนไซม์ คาร์โบไฮเดรต ลิพิด(Lipid) วิตามิน ฮอร์โมน การย่อยและการ ดูดซึมอาหาร เมแทบอลิซึม (Metabolism) ของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ลิพิด(Lipid) คาร์โบไฮเดรต และของเหลว ในร่างกาย 2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติ/งาน ภาคสนาม/การฝึกงาน การศึกษาด้วยตนเอง 30 ชั่วโมง - 30 ชั่วโมง 75 ชั่วโมง 3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล 3.1 อาจารย์ประจาวิชาจัดเวลาสาหรับให้นักศึกษาพบ จานวน 30 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ซึ่งนักศึกษา สามารถขอคาปรึกษาได้ 3.2 นักศึกษาสามารถนัดเวลา เพื่อปรึกษาข้อสงสัยในรายวิชาได้ (เฉพาะรายวิชาที่ต้องการ) 3.3 อาจารย์ประจารายวิชาประกาศเวลาให้ปรึกษาผ่านเวปไซด์ของคณะ
  • 4. 4 หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา - มีวินัยมีความตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเองในการเข้าชั้นเรียนและส่งชิ้นงานที่ได้รับ มอบหมายตามกาหนดเวลาตลอดจนการแต่งกายที่เป็นไปตามระเบียบของสถาบัน - มีความซื่อสัตย์สุจริต โดยต้องไม่กระทาการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านผู้อื่น - เคารพสิทธิ และรับฟังความคิดเห็นของเพื่อนร่วมชั้นเรียน - มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ 1.2 วิธีการสอน - อาจารย์ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างโดยการเข้าสอนให้ตรงเวลาและสอดแทรกคุณธรรมจริยธรรมใน ระหว่างจัดการเรียนการสอน - มีการมอบหมายงานและกาหนดการส่งงานให้ตรงต่อเวลา 1.3 วิธีการสอน - พิจารณาจากการมีวินัย การตรงต่อเวลา ความรับผิดชอบต่อตนเอง จากการเข้าชั้นเรียน การส่ง งานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตและเวลาที่กาหนด - ประเมินการมีความเสียสละ ความมีมารยาท และการเคารพกฎข้อระเบียบต่างๆ จากการปฏิบัติตน ในเวลาเรียน - สังเกตความสนใจและพฤติกรรมในชั้นเรียน 2. ความรู้ 2.1.ความรู้ที่ต้องได้รับ นักศึกษามีความรู้ความเข้าใจในหลักการศึกษาโมเลกุลของสารในสิ่งมีชีวิต พร้อมทั้งสมบัติ หน้าที่และบทบาทของ เซลล์และองค์ประกอบของเซลล์ กรด เบส บัฟเฟอร์ในเซลล์ โปรตีน เอนไซม์ คาร์โบไฮเดรต ลิพิด(Lipid) วิตามิน ฮอร์โมน การย่อยและการดูดซึมอาหาร เมแทบอลิซึม (Metabolism) ของคาร์โบไฮเดรต โปรตีน ลิพิด (Lipid) คาร์โบไฮเดรต และของเหลวในร่างกาย และปฏิบัติการในเนื้อหารายวิชาที่เกี่ยวข้องอีกทั้งสามารถนา ความรู้ไปประยุกต์ในกิจกรรมด้านวิทยาศาสตร์การกีฬา 2.2.วิธีการสอน บรรยายประกอบการยกตัวอย่าง การอภิปรายกลุ่ม การจัดทางาน/โครงงานและนาเสนอผลงาน ทั้งนี้ให้ สอดคล้องกับเนื้อหาสาระของรายวิชา 2.3.วิธีการประเมินผล - ประเมินจาการนาเสนอผลงาน/การอภิปรายกลุ่ม - การสอบกลางภาพและปลายภาค
  • 5. 5 3. ทักษะทางปัญญา 3.1.ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา - นักศึกษาสามารถนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ในสถานการณ์จริงได้ - นักศึกษาเชื่อมโยงความรู้กับวิทยาศาสตร์การกีฬาได้อย่างเหมาะสม - นักศึกษาสามารถพัฒนาความคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์และแก้ไขปัญหาในเชิงสร้างสรรค์ 3.2.วิธีการสอน - ในขณะบรรยายจะยกตัวอย่างประกอบ โดยนาความรู้ที่กาลังเรียนมาใช้อธิบายให้เกิดความชัดเจน เป็นต้น - ให้นักศึกษาสืบค้น/สืบสอบความรู้และระดมสมองร่วมอภิปรายกลุ่ม - การฝึกปฏิบัติ 3.3.วิธีการประเมินผล - การสอบกลางภาคและปลายภาคโดยเน้นข้อสอบที่มีการวิเคราะห์สถานการณ์ - สังเกตพฤติกรรมการคานวณ การคิดอย่างเป็นระบบ 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา - มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ กล้าแสดงความคิดเห็นและยอมรับ ความคิดเห็นของผู้อื่น - พัฒนาทักษะให้มีมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี - พัฒนาทักษะให้มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย 4.2.วิธีการสอน - จัดกิจกรรมกลุ่ม/อภิปรายกลุ่ม และนาเสนอผลงานตามที่ได้รับมอบหมาย - จัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาให้นักศึกษาเรียนรู้แบบร่วมมือ ฝึกการทางานเป็นกลุ่ม ตลอดจนมี การสอดแทรกเรื่องความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม การมีมนุษย์สัมพันธ์ และการเข้าใจในวัฒนธรรมองค์การ 4.3.วิธีการประเมินผล - ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา ในการเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน และ สังเกตจากพฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา - พัฒนาทักษะในการสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต ทักษะในการนาเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบ เครื่องมือ และเทคโนโลยีที่เหมาะสม - พัฒนาทักษะในการสื่อสารทั้งการพูด การฟัง การแปลความ การเขียน โดยการทางาน/ทารายงาน/ การนาเสนอรายงานในชั้นเรียน
  • 6. 6 5.2.วิธีการสอน - มอบหมายงานให้นักศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง/การทารายงานโดยอ้างอิงแหล่งที่สืบค้นข้อมูลที่ น่าเชื่อถือ 5.3.วิธีการประเมินผล - ประเมินจากรายงาน/การนาเสนองานและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างเหมาะสม - ทักษะในการนาเสนอรายงานโดยใช้รูปแบบเครื่องมือและเทคโนโลยีที่เหมาะสม หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สัปดาห์ ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จานวน ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการ สอน/สื่อที่ใช้ ผู้สอน 1 หน่วยที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางชีวเคมี 1. ชีวเคมีคืออะไร 2. ประวัติความเป็นมาของชีวเคมี 3. ขอบข่ายของวิชาชีวเคมี 4 1. บรรยาย Power Point 2.การอภิปราย 3.การศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง นางสาวญาติกา โชติชัชวาลกุล 2 หน่วยที่ 2 เซลล์และองค์ประกอบของ เซลล์ - เซลล์ - องค์ประกอบของเซลล์ - องค์ประกอบทางเคมีของเซลล์ 4 1. บรรยาย Power Point 2.การอภิปราย 3.การศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง นางสาวญาติกา โชติชัชวาลกุล 3 หน่วยที่ 3 ดุลน้าและดุลอิเล็กโทรไลต์ สมดุลกรด-เบส - ความหมายของการรักษาสมดุล - มาตรการของการควบคุมให้ภาวะ ต่าง ๆ อยู่ในภาวะสมดุล - ดุลน้า และดุลอิเล็กโทรไลต์ - เมแทบอลิซึมของโซเดียมและโพแทสเซียม - ดุลกรด-เบส - กลไกการควบคุมดุลกรด-เบส 8 1. บรรยาย Power Point 2.การอภิปราย 3.การศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง นางสาวญาติกา โชติชัชวาลกุล 4 หน่วยที่ 4 โปรตีน - ส่วนประกอบทางเคมี 4 1. บรรยาย Power Point 2.การอภิปราย นางสาวญาติกา โชติชัชวาลกุล
  • 7. 7 - การจาแนกชนิดของโปรตีน - ลักษณะโครงสร้างของโปรตีน - คุณสมบัติของโปรตีน - การทาลายสภาพธรรมชาติ 3.การศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง 5 หน่วยที่ 5 คาร์โบไฮเดรท - ชนิดของคาร์โบไฮเดรท - หน้าที่ของคาร์โบไฮเดรท 4 1. บรรยาย Power Point 2.การอภิปราย 3.การศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง นางสาวญาติกา โชติชัชวาลกุล 6 หน่วยที่ 6 ลิพิด - ลิพิด (lipid) - ประเภทของลิพิด - กรดไขมัน (Fatty acid) - คุณสมบัติบางประการของลิพิด - หน้าที่ของลิพิด 4 1. บรรยาย Power Point 2.การอภิปราย 3.การศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง นางสาวญาติกา โชติชัชวาลกุล 7 หน่วยที่ 7 เอนไซม์ - การแบ่งประเภทของเอนไซม์ - คุณสมบัติทั่วไปของเอนไซม์ - ลักษณะการเร่งปฏิกิริยาของเอนไซม์ - ความจาเพาะและประสิทธิภาพของ เอนไซม์ - อิทธิพลที่มีต่อการทางานของเอนไซม์ - ตัวยับยั้งปฏิกิริยาของเอนไซม์ - โคแฟคเตอร์ (Cofactor) - ไอโซไซม์ - อัลโลสสเตริคเอนไซม์ 4 1. บรรยาย Power Point 2.การอภิปราย 3.การศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง นางสาวญาติกา โชติชัชวาลกุล 8 หน่วยที่ 8 วิตามิน - วิตามินคืออะไร - ประวัติความเป็นมาของวิตามิน - ส่วนประกอบและคุณสมบัติของวิตามิน - ประเภทของวิตามิน - หน้าที่ ของวิตามิน 4 1. บรรยาย Power Point 2.การอภิปราย 3.การศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง นางสาวญาติกา โชติชัชวาลกุล 9 สอบกลางภาค 10 หน่วยที่ 9 ฮอร์โมน - ประวัติการค้นพบ 4 1. บรรยาย Power Point 2.การอภิปราย นางสาวญาติกา โชติชัชวาลกุล
  • 8. 8 - ฮอร์โมนจากต่อมใต้สมอง - ฮอร์โมนจากไอส์เลตออฟแลงเกอร์ฮานส์ - ฮอร์โมนจากต่อมหมวกไต - ฮอร์โมนจากต่อมไทรอยด์, พาราไทรอยด์ - ฮอร์โมนจากอวัยวะเพศ - ฮอร์โมนจากต่อมไพเนียล ต่อมไทมัสและ เนื้อเยื่ออื่นๆ - การควบคุมการทางานของฮอร์โมน 3.การศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง 11 หน่วยที่ 10 หลักเบื้องต้นของ เมแทบอลิ ซึมและการย่อยสลาย - กระบวนการเมแทบอลิซึม - การควบคุมการสร้างและการสลายสารชีว โมเลกุลภายในเซลล์ - การผลิตพลังงานของสิ่งมีชีวิต - การย่อยสลาย 8 1. บรรยาย Power Point 2.การอภิปราย 3.การศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง นางสาวญาติกา โชติชัชวาลกุล 12 หน่วยที่ 11เมแทบอลิซึมของคาร์โบไฮเดรท - กระบวนการเมแทบอลิซึมของ คาร์โบไฮเดรต - เมตาบอลิสมของสารอื่นโดยวิถีไกลโคไล ซิส - การควบคุมเมตาบอลิสมของ คาร์โบไฮเดรต - โรคที่เกิดจากข้อบกพร่องในเมตาบอลิสม ของคาร์โบไฮเดรต 4 1. บรรยาย Power Point 2.การอภิปราย 3.การศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง 13 หน่วยที่ 12 เมแทบอลิซึมของลิพิด - กระบวนการย่อย การดูดซึม และการ ขนส่ง - กระบวนการแมเทบอลิซึมของลิพิดใน เซลล์และเนื้อเยื่อต่าง ๆ - การควบคุมเมตาบอลิสมของกรดไขมัน - โรคที่เกิดจากข้อบกพร่องใน แมเทบอลิ ซึมของไขมัน 4 1. บรรยาย Power Point 2.การอภิปราย 3.การศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง นางสาวญาติกา โชติชัชวาลกุล
  • 9. 9 14 หน่วยที่ 13 เมแทบอลิซึมของโปรตีน - กระบวนการย่อยและการดูดซึมโปรตีน - กระบวนการเมแทบอลิซึมของกรดอะมิโน - การควบคุมการสังเคราะห์กรดอะมิโน - ความบกพร่องในกระบวนการเมแทบอลิ ซึมของกรดอะมิโน 4 1. บรรยาย Power Point 2.การอภิปราย 3.การศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง นางสาวญาติกา โชติชัชวาลกุล 15 หน่วยที่ 14 การนาความรู้ทางชีวเคมีมาใช้ ในชีวิตประจาวัน - แอนติเจนและการสร้างแอนติบอดี้ - การให้ภูมิคุ้มกันโรค - ยาที่มีผลต่อร่างกาย - การใช้ยาให้ถูกวิธี - ชีวเคมีกับการเกษตร 1. บรรยาย Power Point 2.การอภิปราย 3.การศึกษาค้นคว้าด้วย ตนเอง นางสาวญาติกา โชติชัชวาลกุล 16 สอบปลายภาค 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ กิจกรรมที่ ผลการ เรียนรู้ วิธีการประเมินผลการศึกษา สัปดาห์ที่ ประเมิน สัดส่วนของ การ ประเมินผล 1.1,1.2,2.1 - การเข้าชั้นเรียนอย่างสม่าเสมอ - การมีส่วนร่วมทางานกลุ่ม การอภิปราย การ แสดงความคิดในชั้นเรียน ตลอดภาค การศึกษา 5% 10% 2.1,3.1,4.1 - การจัดสอบกลางภาค/ปลายภาค 8,17 30% 30% 4.1,5.1 - การจัดทารายงาน/การนาเสนอผลงานทั้ง รายบุคคลและกลุ่ม 7,14 10%
  • 10. 10 หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. ตาราและเอกสารหลัก เพ็ญศรี สิงห์วี. (2553). เอกสารประกอบการสอนวิชาชีวเคมีพื้นฐาน . สุพรรณบุรี : สถาบันการพล ศึกษา วิทยาเขตสุพรรณบุรี. 2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ ประดิษฐ์ มีสุข . ชีวเคมีเบื้องต้น (เคมีชีวิต) . กรุงเทพ : มหาวิทยาลัยทักษิณ . 2547 ปนัดดา โรจน์พิบูลสถิตย์ ชีวเคมีทางการแพทย์ : เมตาบอลิสมของสารอาหารเชิงบูรณาการ สา หรับนักศึกษาสาย วิทยาศาสตร์การแพทย์ . กรุงเทพ : บุ๊คเนต , 2546 มนตรี จุฬาวัฒนทล เมตาบอลิสม ศ.ส. การพิมพ์ 2526, หน้า 79-88. สิรินทร์ วิโมกข์สันถว์ และคณะ ชีวเคมีฉบับปรับปรุงใหม่ พิมพ์ครั้งที่ 2 ศ.ส. การพิมพ์ 2523, หน้า 300-311. สุพักตร์ ยองสุวรรณ. ชีวเคมี. มหาวิทยาลัยศรีนครินวิโรฒ. พิษณุโลก, 2531 อาภัสสรา ชมิดท์ ชีวเคมี พิมพ์ครั้งที่ 3 ลินคอร์นโปรโมชั่น กรุงเทพฯ, 2543 3. เอกสารและข้อมูลแนะนา Lehninger,A.L. Principle of Biochemistry. Baltimore, Worth Publishers, 1982. Chapters 22. Stryer, L. Biochemistry. 2nd ed., San Francisco, W.H. Freeman and Company, 1981. Chapters 22.
  • 11. 11 หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา ให้นักศึกษาทุกคนทาแบบประเมินผู้สอน 2. กลยุทธ์การประเมินการสอน - สังเกตการณ์สอนของครูผู้สอนโดยคณะกรรมการวิชาการคณะ - เปรียบเทียบผลการเรียนรู้ก่อน-หลังเรียน - ทวนสอบผลการเรียนรู้ของผู้เรียนด้วยแบบทดสอบมาตรฐาน 3. การปรับปรุงการสอน หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 หากพบว่าวิธีการที่ใช้สอบไม่สามารถทาให้ผู้เรียนเข้าใจได้ ก็ จะต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมองและหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุง การสอน ดังนี้ - การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาการเรียนการสอน - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่ อาจารย์ประจาหลักสูตร 5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา จากผลการประเมินข้อ 1 และข้อ 2 ได้มีการวางแผนเพื่อปรับปรุงกลยุทธ์การจัดการเรียนการสอนใหม่ ๆ และเพิ่มแบบฝึกทักษะต่างๆ