SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์
หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป
1. รหัสและชื่อวิชา
รหัสวิชา
ชื่อวิชา ความหลากหลายของระบบชีวภาพ การอนุรักษ์ และนโยบายการจัดการ
Biodiversity conservation and policy of management
2. จานวนหน่วยกิต
3 หน่วยกิต
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
กลุ่มวิชาการบริหารงานท้องถิ่น
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน
ภาคเรียนที่ 2 ชั้นปีที่ 3
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน(Pre-requisite)(ถ้ามี)
ไม่มี
7. รายวิชาที่เรียนพร้อมกัน(Co-requisite)(ถ้ามี)
ไม่มี
8. สถานที่เรียน
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาราชภัฏสวนดุสิต
9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดครั้งล่าสุด
19 ก.ค.2557
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
มีความรู้ความเข้าใจความหมาย แนวคิดแนวคิด การอนุรักษ์ ความหลากหลายของระบบชีวภาพ โดย
มุ่งเน้น รูปแบบและวิธีการในการอนุรักษ์ความหลากหลายของระบบชีวภาพ นโยบายการจัดการระดับ
ชุมชน ท้องถิ่น ระดับประเทศและนานาชาติ การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ความหลากหลายของระบบ
ชีวภาพของชุมชนและท้องถิ่นเพื่อใช้ประโยชน์ของระบบดังกล่าวในเชิงเศรษฐกิจและสังคม
เอกสารหมายเลข มคอ.3
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศวิทยา และมีสามารถมี
ส่วนร่วมในการอนุรักษ์ความหลากหลายของระบบชีวภาพของชุมชนและท้องถิ่นเพื่อนาประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ
และสังคม ทั้งนี้ ควรให้มีการฝึกปฏิบัติร่วมกับประชาชนในชุมชนและท้องถิ่นให้เกิดประสบการณ์
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ
1. คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาแนวคิด การอนุรักษ์ ความหลากหลายของระบบชีวภาพ โดยมุ่งเน้น รูปแบบและวิธีการในการ
อนุรักษ์ความหลากหลายของระบบชีวภาพ นโยบายการจัดการระดับชุมชน ท้องถิ่น ระดับประเทศและนานาชาติ
การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ความหลากหลายของระบบชีวภาพของชุมชนและท้องถิ่นเพื่อใช้ประโยชน์ของระบบ
ดังกล่าวในเชิงเศรษฐกิจและสังคม
2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติงาน/
ภาคสนาม/การฝึกงาน
การศึกษาด้วยตนเอง
45 ชั่วโมง/ภาค
การศึกษา
ตามความต้องการของ
นักศึกษา
12 ชั่วโมง 6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์/
3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
- อาจารย์ประจารายวิชา ประกาศเวลาให้คาปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ
- อาจารย์จัดเวลา 1 ชั่วโมง /สัปดาห์สาหรับให้คาปรึกษาแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา
1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคลการ
ไม่ลอกเลียนและไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ ซื่อตรงในการทางาน การศึกษา มีความรับผิดชอบ
ต่อตนเองและสังคม โดยมีคุณธรรมและจริยธรรมดังนี้
(1) มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
(2) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต
(3) มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลาดับความสาคัญ
(4) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
1.2 วิธีการสอน
การสอนเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการบรรยายถึงเนื้อหาหลักของวิชา ให้ผู้เรียนทาการค้นคว้า หรือทาความเข้าใจ
ประเด็นปลีกย่อยด้วยตนเอง เน้นการได้มาซึ่งทฤษฎีและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ในเชิงวิเคราะห์ และชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่าง
ทฤษฎีกับปรากฏการณ์ที่เป็นจริง กระบวนการเรียนการสอนประกอบด้วยการมอบหมายงานเพื่อให้ผู้เรียนได้มีการฝึกฝน
ทักษะด้านต่าง ๆ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง มีการพัฒนาค้นหาความรู้แล้วมาเสนอเพื่อสร้างทักษะในการ
อภิปรายและนาเสนอ การเรียนการสอนจะแทรกเนื้อหา/กิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ทั้งนี้กาหนดให้มี
วัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่
เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทางานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็น
ผู้นากลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทาการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น
1.3 วิธีการประเมินผล
(1) ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกาหนดระยะเวลา
ที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรม
(2) ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร
(3) ปริมาณการกระทาทุจริตในการสอบ
(4) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
2. ความรู้
เชื่อมโยงความรู้ทางทฤษฎี และแนวคิดด้านการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และใช้ประโยชน์ในเชิง
เศรษฐกิจสังคม
2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ
(1) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สาคัญในเนื้อหาที่ศึกษา
(2) มีความสามารถในการศึกษาค้นคว้าและพัฒนาความรู้ของตนเองได้อย่างต่อเนื่อง
(3) สามารถนาความรู้และประสบการณ์ไปร่วมพัฒนาแก้ไขปัญหาและนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้จริง
(4) สามารถบูรณาการในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้ตลอดเวลาที่นักศึกษา
ทาการศึกษาอยู่ในหลักสูตรและสามารถประยุกต์ใช้ศาสตร์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม
2.2 วิธีการสอน
(1) บรรยาย อภิปราย การทางานกลุ่ม การนาเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าหา
บทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนามาสรุปและนาเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา Problem-based Learning และ เน้น
ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง
(2) บอกถึงแหล่งข้อมูลเพื่อให้นักศึกษาได้ค้นคว้าข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
(3) จัดประชุม แบ่งงาน ติดตามงาน เป็นระยะเวลาที่กาหนด หรือตามความเหมาะสม
(4) จัดทารายงานผลวิเคราะห์ความต้องการ และนาเสนอ
2.3 วิธีการประเมิน
(1) การทดสอบย่อย
(2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน
(3) ประเมินจากรายงาน และกิจกรรมการปฏิบัติงานที่นักศึกษาทา
(4) ประเมินจากการจัดกิจกรรมทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
3. ทักษะทางปัญญา
พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ ประยุกต์แนวคิดกับปรากการณ์ด้าน
ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศน์และความหลากหลายทางได้เป็นอย่างดีและสามารถเสนอแนะวิธีการ
พัฒนา การเมืองไทยได้เป็นอย่างดี
3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
(1) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบและมีตรรกะ
(2) มีความสามารถในการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้อื่น
(3) สามารถรวบรวมข้อมูล ศึกษาวิเคราะห์ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับระบบความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อ
เสนอแนวทางแก้ไขได้
(4) ความสามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
3.2 วิธีการสอน
(1) การมอบหมายโจทย์และกรณีศึกษา
(2) จัดทารายงานผลวิเคราะห์ความต้องการ และการอภิปราย นาเสนอ
(3) ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง
3.3 วิธีการประเมินผล
ประเมินผลจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย ตามหัวข้อที่กาหนด โดยอ้างอิงทฤษฎีในวิชาที่เกี่ยวข้อง และควรนามา
เป็นพื้นฐานในการประยุกต์ใช้
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
(1) มีความสามารถในการสื่อสารกับผู้อื่นที่มีความแตกต่างและหลากหลายได้อย่าง
เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ
(2) มีความเข้าใจผู้อื่น และสังคมและสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม
(3) สามารถแก้ไขปัญหา หรือความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นจากการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(4) มีจิตสาธารณะ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม
4.2 วิธีการสอน
ใช้การสอนที่มีการกาหนดกิจกรรมให้มีการทางานเป็นกลุ่ม การทางานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น ข้ามหลักสูตร
หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์ โดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้ด้านทักษะ
ความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบดังนี้
(1) สามารถทางานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี
(2) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย
(3) สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่าง
4.3 วิธีการประเมินผล
ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนาเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน และสังเกตจาก
พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูลที่ดาเนินกิจกรรม
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
(1) มีทักษะในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ ที่จาเป็นต่อการใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ
(2) สามารถสื่อสารแนะนาเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งด้านการพูดการเขียนสามารถเลือกใช้
สื่อและเครื่องมือในการนาเสนอผลงานได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ
(3) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นได้อย่างดี
(4) สามารถใช้ข้อมูลสถิติและตัวเลข ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างเหมาะสม
5.2 วิธีการสอน
วิเคราะห์ประสิทธิภาพของวิธีแก้ปัญหา และให้นาเสนอแนวคิดของการแก้ปัญหา ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพ
ต่อนักศึกษาในชั้นเรียน การวิจารณ์ในเชิงวิชาการระหว่างอาจารย์และกลุ่มนักศึกษาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ
ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จาลอง และสถานการณ์เสมือนจริง และนาเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิค
การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์
5.3 วิธีการประเมินผล
(1) ประเมินจากเทคนิคการนาเสนอโดยใช้ทฤษฎี การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือ
คณิตศาสตร์และสถิติ ที่เกี่ยวข้อง
(2) ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย ถึงข้อจากัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การ
อภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนาเสนอต่อชั้นเรียน
หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล
1. แผนการสอน
สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จน.
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการ
สอน/สื่อที่ใช้
ผู้สอน
1-2 1. บทนา การนาเข้าสู่บทเรียน
2. แนวคิดการอนุรักษ์ และความหมาย
ของความหลากหลายของระบบชีวภาพ
2.1 ความหมายที่นิยามตามความ
แตกต่างกันในแต่ละสังคมและยุคสมัย
2.2 การนิยามและมาตรวัดและ
ตัวชี้วัดความหลากหลายของระบบ
ชีวภาพ
6
ชั่วโมง
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบ
การสอน หนังสือ ตารา
เวบไซด์
อาจารย์
3-4 3. วิธีการอนุรักษ์ที่นิยมใช้ในระดับนานา
ประประเทศ
4. องค์กรและข้อตกลงระหว่างประเทศ
ในการอนุรักษ์ความหลากหลายของระบบ
ชีวภาพ
5. การวางแผนเพื่อการอนุรักษ์ความ
หลากหลายของระบบชีวภาพ
6
ชั่วโมง
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบ
การสอน หนังสือ ตารา
เวบไซด์
อาจารย์
สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จน.
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการ
สอน/สื่อที่ใช้
ผู้สอน
5-7 6. การอนุรักษ์ภายในพื้นที่ที่ได้รับการ
ปกป้อง ประเภทและลักษณะ
7. การอนุรักษ์ด้วยวิธีการเลือกสรรพื้นที่
เพื่อการปกป้องและอนุรักษ์
8. การพิจารณาสายพันธุ์ เพื่อการอนุรักษ์
9. การพิจารณาจากกิจกรรมการ
ท่องเที่ยว
10. การพิจารณาจากสภาพความเป็น
แหล่งต้นน้า
11.การออกแบบพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์
11.1 ขนาดที่รองรับ
11.2 รูปแบบของพื้นที่
11.3 การบูรณาการเพื่อการรองรับ
พื้นที่ที่มีผลผลิตทางชีวภาพ
11.4 พื้นที่เขตกันชน
11.5 ถิ่นที่อยู่ของสิ่งมีชีวิตตามเขต
ติดต่อหรือเขตชายแดน
9
ชั่วโมง
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบ
การสอน หนังสือตารา
เวบไซด์
อาจารย์
8-10 12. การอนรักษ์ความหลากหลายของ
ระบบชีวภาพภายนอกพื้นที่การปกป้อง
12.1การอนุรักษ์ในพื้นที่ธรรมชาติ
12.2 การอนุรักษ์พื้นที่สวนป่า หรือ
ป่าไม้
12.3 การอนุรักษ์ในพื้นที่ฟื้นฟูระบบ
นิเวศ
12.4 การอนุรักษ์ในรูปแบบของความ
หลากหลายทางชีวภาพในระบบเกษตร
12.5 การจัดการป่าไม้ เพื่อการอนุรักษ์
ความหลากหลายทางชีวภาพ
12.6 การใช้ที่ดินแบบผสมผสาน
9
ชั่วโมง
บรรยาย
ศึกษาจากเอกสารประกอบ
การสอน งานวิจัย
โครงการอนุรักษ์และ
ป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อม
และสภาพแวดล้อม
เวบไซด์
อาจารย์
11-12 13. ระบบของสิ่งแวดล้อมกับระบบ
เศรษฐกิจ
13.1 ชุมชนกับสัตว์และพืช
13.2 การเปลี่ยนแปลงเชิงนิเวศน์
ภายในชุมชน
6
ชั่วโมง
อาจารย์
สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จน.
ชั่วโมง
กิจกรรมการเรียนการ
สอน/สื่อที่ใช้
ผู้สอน
13.3 ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง
ที่มีต่อความหลากหลายของระบบ
ชีวภาพในชุมชนและท้องถิ่น
13.4 ปัญหาของระบบนิเวศน์และ
ความหลากหลายของระบบชีวภาพ
13 14. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติใน
พื้นที่ป้องกัน
14.1 การอนุรักษ์โดยการไม่เข้าไป
แทรกแซง
14.2 การอนุรักษ์โดยการเข้าไป
แทรกแซง
15. การท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์
16. เทคนิคในการควบคุมนักท่อง
เที่ยว
17. ชุมนท้องถิ่นและพื้นที่อนุรักษ์
18. การบูรณาการการอนุรักษ์และการ
ใช้ทรัพยากรในพื้นที่อนุรักษ์
3
ชั่วโมง
บรรยาย และการอภิปราย
ของนักศึกษา
ศึกษาจากเอกสารประกอบ
การสอน งานวิจัย
โครงการอนุรักษ์และ
ป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อม
และสภาพแวดล้อม
เวบไซด์ เวบไซด์
อาจารย์
14-15 19. กรณีศึกษา การมีส่วนร่วมของ
ประชาชนในการอนุรักษ์และจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ทั้งของไทยและของต่างประเทศ
16 20. นโยบายภาครัฐกับการอนุรักษ์
และจัดการทรัพยากรธรรมชาติกับสิ่ง
แวดล้อม
21. รัฐธรรมนูญของไทยกับสิทธิหน้าที่
ในการมีส่วนร่วมส่งเสริม รักษา
คุณภาพของสิ่งแวดล้อม
22. สรุปประเด็นสาคัญเพื่อเป็น แนวทาง
ในการสอบ วัดและประเมินผล ล ย ค
6
ชั่วโมง
บรรยาย ซักถาม
ศึกษาจากเอกสารประกอบ
การสอน งานวิจัย
โครงการอนุรักษ์และ
ป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อม
และสภาพแวดล้อม
เวบไซด์
อาจารย์
17 สอบปลายภาค 1.30 บ ย อาจารย์
2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ (16 สัปดาห์)
กิจกรรม
ที่
ผลการเรียนรู้* วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่
ประเมิน
สัดส่วนของ
การประเมิน
1 1-5
1-10
11-14
1-16
ทดสอบย่อยครั้งที่ 1
สอบกลางภาค
ทดสอบย่อยครั้งที่ 2
สอบปลายภาค
5
10
14
17
10%
30%
10%
30%
2 14-15 วิเคราะห์กรณีศึกษา
นาเสน รายงาน
การทางานกลุ่มและ ผลงาน
บ
ล ย )
14-15 20%
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. เอกสารและตารา
เอกสารการสอน. ความหลากหลายของระบบชีวภาพ และนโยบายการจัดการ.
2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ
ไม่มี
3. เอกสารและข้อมูลแนะนา
The Precautionary Principle Project and TRAFFIC, SouthAmerica “The Precautionary
Principlein Biodiversity Conservation and Natural Resource Management: Uncertainty,
Risk,Biodiversity and Livelihoods”, Quito, Ecuador 16th-18th March, 2005
KAMALJIT S.BAWA AND REINMAR SEIDLER ,1997. CONSERVATION BIOLOGY. VALUE 12, NO 1,
FABUARY 1997.
www geeocities. com / scied 2002
www google co.th /
advanced. www
http: www. geogle. Com
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็น
จากนักศึกษาได้ดังนี้
- การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- ข้อเสนอแนะผ่านเวบบ ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา
2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
- การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
- ผลการเรียนของนักศึกษา
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
3. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง
และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ
เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผ
การทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ
ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย
ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการ
สอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มา
จากงานวิจัยของอาจารย์ต่าง ๆ

More Related Content

What's hot

มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลกมคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลกChalit Arm'k
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนguestabb00
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้krupornpana55
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางguest6e231b
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์ไชยยา มะณี
 
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55ไชยยา มะณี
 
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55ไชยยา มะณี
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนKritsadin Khemtong
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้pornpimonnuy
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีrewat Chitthaing
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดrisa021040
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานkruthai40
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 

What's hot (20)

มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลกมคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
มคอ3 GS 105 สังคม เศรษฐกิจ การเมืองและประชาคมโลก
 
วิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียนวิเคราะห์ผู้เรียน
วิเคราะห์ผู้เรียน
 
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ3 2 60
 
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
Slโครงสร้างรายวิชาหน่วย is1 การศึกษาและการสร้างองค์ความรู้
 
มคอ3เพศศึกษา
มคอ3เพศศึกษามคอ3เพศศึกษา
มคอ3เพศศึกษา
 
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลางการใช้หลักสูตรแกนกลาง
การใช้หลักสูตรแกนกลาง
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทคัดย่อ
บทคัดย่อบทคัดย่อ
บทคัดย่อ
 
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
มคอ3อเงินยวง มนุษยสัมพันธ์
 
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
งานนำเสนอวิจัย(แฟ้มงาน)
 
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55
มคอ.3 คณิตศาสตร์พื้นฐาน ภาคต้น 55
 
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน  ภาคปลาย55
มคอ.3 ชีวเคมีพื้นฐาน ภาคปลาย55
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียนวิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้
 
Casestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณีCasestudy การศึกษารายกรณี
Casestudy การศึกษารายกรณี
 
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุดความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
ความพึงพอใจในการใช้บริการห้องสมุด
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสารชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ เรื่อง สารและการจำแนกสาร ชุดที่ 1 สสารและสาร
 
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐานการออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
การออกแบบการจัดการเรียนรู้อิงมาตรฐาน
 
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยาMko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
Mko3 ปฏิบัติการหลักชีววิทยา
 

Similar to ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557

มคอ.3 historical tourism
มคอ.3  historical tourismมคอ.3  historical tourism
มคอ.3 historical tourismchickyshare
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาPrincess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรAor_1234
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)etcenterrbru
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศJiraporn
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่างptrnan
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมptrnan
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...Weerachat Martluplao
 
มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156Ajnawa Sing
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาNanzzy Sutthanont
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมWichai Likitponrak
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc Aobinta In
 

Similar to ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557 (20)

มคอ.3 historical tourism
มคอ.3  historical tourismมคอ.3  historical tourism
มคอ.3 historical tourism
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนาแผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
แผนการจัดการเรียนรู้พระพุทธศาสนา
 
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(1)
 
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
รายละเอียดวิชาพระไตรปิฎกศึกษา(2)
 
(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)(มคอ 03-1-statics 542)
(มคอ 03-1-statics 542)
 
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศแผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
แผนการจัดการเรียนรู้ระบบนิเวศ
 
Present Skb
Present SkbPresent Skb
Present Skb
 
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะนำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
นำเสนอวิจัยวิทยฐานะ
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
Unit3
Unit3Unit3
Unit3
 
โครงร่าง
โครงร่างโครงร่าง
โครงร่าง
 
โครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอมโครงร่างงานคอม
โครงร่างงานคอม
 
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน   หลักสูตรแกนกลาง 2551               ...
การออกแบบการจัดการการเรียนรู้อิงมาตรฐาน หลักสูตรแกนกลาง 2551 ...
 
มคอ.3 il156
มคอ.3 il156มคอ.3 il156
มคอ.3 il156
 
Mko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยาMko3 หลักชีววิทยา
Mko3 หลักชีววิทยา
 
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรมแผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
แผนการเรียนรู้ที่1 เรื่อง ถ่ายทอดพันธุกรรม
 
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
รายงานการประเมินตนเอง 2558.doc
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
แผนการจัดการเรียนรู้ที่๓
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์

ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์
 

More from ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ (20)

ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
ความเข้มแข็งและศักยภาพขององค์กรชุมชนในจังหวัดสุพรรณบุรี The Potential and Str...
 
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 5การจัดการด้านการเงินขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 2ความเป็นสถาบันและคณะผู้บริหารองค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชนสัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่1 ความหมาย ประเภทและลำดับกิจกรรมขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
สัปดาห์ที่ 4แนวทางละวิธีการแก้ไขปัญหาชุมชนขององค์กรพัฒนาเอกชน
 
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
ความเป็นสถาบันคณะผู้การบริหารองค์กร (2)
 
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการองค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
องค์กรพัฒนาเอกชนและการจัดการเพื่อการ
 
Microsoft word สารบัญ
Microsoft word   สารบัญMicrosoft word   สารบัญ
Microsoft word สารบัญ
 
Microsoft word สัปดาห์ที่15
Microsoft word   สัปดาห์ที่15Microsoft word   สัปดาห์ที่15
Microsoft word สัปดาห์ที่15
 
Microsoft word สัปดาห์ที่14
Microsoft word   สัปดาห์ที่14Microsoft word   สัปดาห์ที่14
Microsoft word สัปดาห์ที่14
 
Microsoft word สัปดาห์ที่13
Microsoft word   สัปดาห์ที่13Microsoft word   สัปดาห์ที่13
Microsoft word สัปดาห์ที่13
 
Microsoft word สัปดาห์ที่12
Microsoft word   สัปดาห์ที่12Microsoft word   สัปดาห์ที่12
Microsoft word สัปดาห์ที่12
 
Microsoft word สัปดาห์ที่10
Microsoft word   สัปดาห์ที่10Microsoft word   สัปดาห์ที่10
Microsoft word สัปดาห์ที่10
 
Microsoft word สัปดาห์ที่8
Microsoft word   สัปดาห์ที่8Microsoft word   สัปดาห์ที่8
Microsoft word สัปดาห์ที่8
 
Microsoft word สัปดาห์ที่6
Microsoft word   สัปดาห์ที่6Microsoft word   สัปดาห์ที่6
Microsoft word สัปดาห์ที่6
 
Microsoft word สัปดาห์ที่1
Microsoft word   สัปดาห์ที่1Microsoft word   สัปดาห์ที่1
Microsoft word สัปดาห์ที่1
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11Microsoft word   สัปดาห์ที่ 11
Microsoft word สัปดาห์ที่ 11
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9Microsoft word   สัปดาห์ที่ 9
Microsoft word สัปดาห์ที่ 9
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7Microsoft word   สัปดาห์ที่ 7
Microsoft word สัปดาห์ที่ 7
 

ความหลากหลายทางชีวภาพ มคอ.3 2/2557

  • 1. ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร์ หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป 1. รหัสและชื่อวิชา รหัสวิชา ชื่อวิชา ความหลากหลายของระบบชีวภาพ การอนุรักษ์ และนโยบายการจัดการ Biodiversity conservation and policy of management 2. จานวนหน่วยกิต 3 หน่วยกิต 3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา กลุ่มวิชาการบริหารงานท้องถิ่น 4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน อ.ศุภวัฒน์ ปภัสสรากาญจน์ 5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน ภาคเรียนที่ 2 ชั้นปีที่ 3 6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน(Pre-requisite)(ถ้ามี) ไม่มี 7. รายวิชาที่เรียนพร้อมกัน(Co-requisite)(ถ้ามี) ไม่มี 8. สถานที่เรียน คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาราชภัฏสวนดุสิต 9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดครั้งล่าสุด 19 ก.ค.2557 หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์ 1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา มีความรู้ความเข้าใจความหมาย แนวคิดแนวคิด การอนุรักษ์ ความหลากหลายของระบบชีวภาพ โดย มุ่งเน้น รูปแบบและวิธีการในการอนุรักษ์ความหลากหลายของระบบชีวภาพ นโยบายการจัดการระดับ ชุมชน ท้องถิ่น ระดับประเทศและนานาชาติ การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ความหลากหลายของระบบ ชีวภาพของชุมชนและท้องถิ่นเพื่อใช้ประโยชน์ของระบบดังกล่าวในเชิงเศรษฐกิจและสังคม เอกสารหมายเลข มคอ.3
  • 2. 2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา เพื่อให้นักศึกษาเข้าใจในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศวิทยา และมีสามารถมี ส่วนร่วมในการอนุรักษ์ความหลากหลายของระบบชีวภาพของชุมชนและท้องถิ่นเพื่อนาประโยชน์ในเชิงเศรษฐกิจ และสังคม ทั้งนี้ ควรให้มีการฝึกปฏิบัติร่วมกับประชาชนในชุมชนและท้องถิ่นให้เกิดประสบการณ์ หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ 1. คาอธิบายรายวิชา ศึกษาแนวคิด การอนุรักษ์ ความหลากหลายของระบบชีวภาพ โดยมุ่งเน้น รูปแบบและวิธีการในการ อนุรักษ์ความหลากหลายของระบบชีวภาพ นโยบายการจัดการระดับชุมชน ท้องถิ่น ระดับประเทศและนานาชาติ การมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ความหลากหลายของระบบชีวภาพของชุมชนและท้องถิ่นเพื่อใช้ประโยชน์ของระบบ ดังกล่าวในเชิงเศรษฐกิจและสังคม 2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติงาน/ ภาคสนาม/การฝึกงาน การศึกษาด้วยตนเอง 45 ชั่วโมง/ภาค การศึกษา ตามความต้องการของ นักศึกษา 12 ชั่วโมง 6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์/ 3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล - อาจารย์ประจารายวิชา ประกาศเวลาให้คาปรึกษาผ่านเว็บไซต์คณะ - อาจารย์จัดเวลา 1 ชั่วโมง /สัปดาห์สาหรับให้คาปรึกษาแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา 1. คุณธรรม จริยธรรม 1.1 คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา พัฒนาผู้เรียนให้มีความรับผิดชอบ มีวินัย มีจรรยาบรรณวิชาชีพ เคารพในสิทธิของข้อมูลส่วนบุคคลการ ไม่ลอกเลียนและไม่ละเมิดลิขสิทธิ์ทางปัญญา มีความซื่อสัตย์ ซื่อตรงในการทางาน การศึกษา มีความรับผิดชอบ ต่อตนเองและสังคม โดยมีคุณธรรมและจริยธรรมดังนี้ (1) มีวินัย ตรงต่อเวลา และความรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม (2) ตระหนักในคุณค่าและคุณธรรม จริยธรรม เสียสละ และซื่อสัตย์สุจริต (3) มีภาวะความเป็นผู้นาและผู้ตาม สามารถทางานเป็นทีมและสามารถแก้ไขข้อขัดแย้งและลาดับความสาคัญ (4) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ
  • 3. 1.2 วิธีการสอน การสอนเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ มีการบรรยายถึงเนื้อหาหลักของวิชา ให้ผู้เรียนทาการค้นคว้า หรือทาความเข้าใจ ประเด็นปลีกย่อยด้วยตนเอง เน้นการได้มาซึ่งทฤษฎีและกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ในเชิงวิเคราะห์ และชี้ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่าง ทฤษฎีกับปรากฏการณ์ที่เป็นจริง กระบวนการเรียนการสอนประกอบด้วยการมอบหมายงานเพื่อให้ผู้เรียนได้มีการฝึกฝน ทักษะด้านต่าง ๆ รู้จักวิเคราะห์และแก้ปัญหาด้วยตนเอง มีการพัฒนาค้นหาความรู้แล้วมาเสนอเพื่อสร้างทักษะในการ อภิปรายและนาเสนอ การเรียนการสอนจะแทรกเนื้อหา/กิจกรรมที่ส่งเสริมด้านคุณธรรม จริยธรรม ทั้งนี้กาหนดให้มี วัฒนธรรมองค์กร เพื่อเป็นการปลูกฝังให้นักศึกษามีระเบียบวินัย โดยเน้นการเข้าชั้นเรียนให้ตรงเวลาตลอดจนการแต่งกายที่ เป็นไปตามระเบียบของมหาวิทยาลัย นักศึกษาต้องมีความรับผิดชอบโดยในการทางานกลุ่มนั้นต้องฝึกให้รู้หน้าที่ของการเป็น ผู้นากลุ่มและการเป็นสมาชิกกลุ่ม มีความซื่อสัตย์โดยต้องไม่กระทาการทุจริตในการสอบหรือลอกการบ้านของผู้อื่น เป็นต้น 1.3 วิธีการประเมินผล (1) ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเข้าชั้นเรียน การส่งงานตามกาหนดระยะเวลา ที่มอบหมาย และการร่วมกิจกรรม (2) ประเมินจากการมีวินัยและพร้อมเพรียงของนักศึกษาในการเข้าร่วมกิจกรรมเสริมหลักสูตร (3) ปริมาณการกระทาทุจริตในการสอบ (4) ประเมินจากความรับผิดชอบในหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย 2. ความรู้ เชื่อมโยงความรู้ทางทฤษฎี และแนวคิดด้านการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ และใช้ประโยชน์ในเชิง เศรษฐกิจสังคม 2.1 ความรู้ที่ต้องได้รับ (1) มีความรู้และความเข้าใจเกี่ยวกับหลักการและทฤษฎีที่สาคัญในเนื้อหาที่ศึกษา (2) มีความสามารถในการศึกษาค้นคว้าและพัฒนาความรู้ของตนเองได้อย่างต่อเนื่อง (3) สามารถนาความรู้และประสบการณ์ไปร่วมพัฒนาแก้ไขปัญหาและนาความรู้ไปประยุกต์ใช้ได้จริง (4) สามารถบูรณาการในสาขาวิชาที่ศึกษากับความรู้ในศาสตร์อื่นๆ ที่เกี่ยวข้องได้ตลอดเวลาที่นักศึกษา ทาการศึกษาอยู่ในหลักสูตรและสามารถประยุกต์ใช้ศาสตร์ต่าง ๆ ได้อย่างเหมาะสม 2.2 วิธีการสอน (1) บรรยาย อภิปราย การทางานกลุ่ม การนาเสนอรายงาน การวิเคราะห์กรณีศึกษา และมอบหมายให้ค้นคว้าหา บทความ ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง โดยนามาสรุปและนาเสนอ การศึกษาโดยใช้ปัญหา Problem-based Learning และ เน้น ผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง (2) บอกถึงแหล่งข้อมูลเพื่อให้นักศึกษาได้ค้นคว้าข้อมูลเพื่อการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง (3) จัดประชุม แบ่งงาน ติดตามงาน เป็นระยะเวลาที่กาหนด หรือตามความเหมาะสม (4) จัดทารายงานผลวิเคราะห์ความต้องการ และนาเสนอ 2.3 วิธีการประเมิน (1) การทดสอบย่อย (2) การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน (3) ประเมินจากรายงาน และกิจกรรมการปฏิบัติงานที่นักศึกษาทา (4) ประเมินจากการจัดกิจกรรมทั้งในชั้นเรียนและนอกชั้นเรียน
  • 4. 3. ทักษะทางปัญญา พัฒนาความสามารถในการคิดอย่างมีการคิดอย่างเป็นระบบ มีการวิเคราะห์ ประยุกต์แนวคิดกับปรากการณ์ด้าน ด้านการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ระบบนิเวศน์และความหลากหลายทางได้เป็นอย่างดีและสามารถเสนอแนะวิธีการ พัฒนา การเมืองไทยได้เป็นอย่างดี 3.1 ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา (1) ทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและอย่างเป็นระบบและมีตรรกะ (2) มีความสามารถในการถ่ายทอดและแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้อื่น (3) สามารถรวบรวมข้อมูล ศึกษาวิเคราะห์ประเด็นปัญหาที่เกี่ยวข้องกับระบบความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อ เสนอแนวทางแก้ไขได้ (4) ความสามารถประยุกต์ความรู้และทักษะกับการแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม 3.2 วิธีการสอน (1) การมอบหมายโจทย์และกรณีศึกษา (2) จัดทารายงานผลวิเคราะห์ความต้องการ และการอภิปราย นาเสนอ (3) ให้นักศึกษามีโอกาสปฏิบัติจริง 3.3 วิธีการประเมินผล ประเมินผลจากผลงานที่ได้รับมอบหมาย ตามหัวข้อที่กาหนด โดยอ้างอิงทฤษฎีในวิชาที่เกี่ยวข้อง และควรนามา เป็นพื้นฐานในการประยุกต์ใช้ 4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 4.1 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา (1) มีความสามารถในการสื่อสารกับผู้อื่นที่มีความแตกต่างและหลากหลายได้อย่าง เหมาะสมและมีประสิทธิภาพ (2) มีความเข้าใจผู้อื่น และสังคมและสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคม (3) สามารถแก้ไขปัญหา หรือความขัดแย้งที่อาจเกิดขึ้นจากการทางานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (4) มีจิตสาธารณะ และรับผิดชอบต่อตนเองและสังคม 4.2 วิธีการสอน ใช้การสอนที่มีการกาหนดกิจกรรมให้มีการทางานเป็นกลุ่ม การทางานที่ต้องประสานงานกับผู้อื่น ข้ามหลักสูตร หรือต้องค้นคว้าหาข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลอื่น หรือผู้มีประสบการณ์ โดยมีความคาดหวังในผลการเรียนรู้ด้านทักษะ ความสัมพันธ์ระหว่างตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบดังนี้ (1) สามารถทางานกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี (2) มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบหมาย (3) สามารถปรับตัวเข้ากับสถานการณ์และวัฒนธรรมองค์กรที่ไปปฏิบัติงานได้เป็นอย่าง 4.3 วิธีการประเมินผล ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนาเสนอรายงานกลุ่มในชั้นเรียน และสังเกตจาก พฤติกรรมที่แสดงออกในการร่วมกิจกรรมต่างๆ และความครบถ้วนชัดเจนตรงประเด็นของข้อมูลที่ดาเนินกิจกรรม 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ 5.1 ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
  • 5. (1) มีทักษะในการใช้เครื่องมือและอุปกรณ์ ที่จาเป็นต่อการใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ (2) สามารถสื่อสารแนะนาเสนอผลงานได้อย่างมีประสิทธิภาพทั้งด้านการพูดการเขียนสามารถเลือกใช้ สื่อและเครื่องมือในการนาเสนอผลงานได้อย่างเหมาะสม และมีประสิทธิภาพ (3) สามารถใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสารและการสืบค้นได้อย่างดี (4) สามารถใช้ข้อมูลสถิติและตัวเลข ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างเหมาะสม 5.2 วิธีการสอน วิเคราะห์ประสิทธิภาพของวิธีแก้ปัญหา และให้นาเสนอแนวคิดของการแก้ปัญหา ผลการวิเคราะห์ประสิทธิภาพ ต่อนักศึกษาในชั้นเรียน การวิจารณ์ในเชิงวิชาการระหว่างอาจารย์และกลุ่มนักศึกษาจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรายวิชาต่างๆ ให้นักศึกษาได้วิเคราะห์สถานการณ์จาลอง และสถานการณ์เสมือนจริง และนาเสนอการแก้ปัญหาที่เหมาะสม เรียนรู้เทคนิค การประยุกต์เทคโนโลยีสารสนเทศในหลากหลายสถานการณ์ 5.3 วิธีการประเมินผล (1) ประเมินจากเทคนิคการนาเสนอโดยใช้ทฤษฎี การเลือกใช้เครื่องมือทางเทคโนโลยีสารสนเทศหรือ คณิตศาสตร์และสถิติ ที่เกี่ยวข้อง (2) ประเมินจากความสามารถในการอธิบาย ถึงข้อจากัด เหตุผลในการเลือกใช้เครื่องมือต่างๆ การ อภิปรายกรณีศึกษาต่างๆ ที่มีการนาเสนอต่อชั้นเรียน หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล 1. แผนการสอน สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จน. ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการ สอน/สื่อที่ใช้ ผู้สอน 1-2 1. บทนา การนาเข้าสู่บทเรียน 2. แนวคิดการอนุรักษ์ และความหมาย ของความหลากหลายของระบบชีวภาพ 2.1 ความหมายที่นิยามตามความ แตกต่างกันในแต่ละสังคมและยุคสมัย 2.2 การนิยามและมาตรวัดและ ตัวชี้วัดความหลากหลายของระบบ ชีวภาพ 6 ชั่วโมง บรรยาย ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน หนังสือ ตารา เวบไซด์ อาจารย์ 3-4 3. วิธีการอนุรักษ์ที่นิยมใช้ในระดับนานา ประประเทศ 4. องค์กรและข้อตกลงระหว่างประเทศ ในการอนุรักษ์ความหลากหลายของระบบ ชีวภาพ 5. การวางแผนเพื่อการอนุรักษ์ความ หลากหลายของระบบชีวภาพ 6 ชั่วโมง บรรยาย ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน หนังสือ ตารา เวบไซด์ อาจารย์
  • 6. สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จน. ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการ สอน/สื่อที่ใช้ ผู้สอน 5-7 6. การอนุรักษ์ภายในพื้นที่ที่ได้รับการ ปกป้อง ประเภทและลักษณะ 7. การอนุรักษ์ด้วยวิธีการเลือกสรรพื้นที่ เพื่อการปกป้องและอนุรักษ์ 8. การพิจารณาสายพันธุ์ เพื่อการอนุรักษ์ 9. การพิจารณาจากกิจกรรมการ ท่องเที่ยว 10. การพิจารณาจากสภาพความเป็น แหล่งต้นน้า 11.การออกแบบพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์ 11.1 ขนาดที่รองรับ 11.2 รูปแบบของพื้นที่ 11.3 การบูรณาการเพื่อการรองรับ พื้นที่ที่มีผลผลิตทางชีวภาพ 11.4 พื้นที่เขตกันชน 11.5 ถิ่นที่อยู่ของสิ่งมีชีวิตตามเขต ติดต่อหรือเขตชายแดน 9 ชั่วโมง บรรยาย ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน หนังสือตารา เวบไซด์ อาจารย์ 8-10 12. การอนรักษ์ความหลากหลายของ ระบบชีวภาพภายนอกพื้นที่การปกป้อง 12.1การอนุรักษ์ในพื้นที่ธรรมชาติ 12.2 การอนุรักษ์พื้นที่สวนป่า หรือ ป่าไม้ 12.3 การอนุรักษ์ในพื้นที่ฟื้นฟูระบบ นิเวศ 12.4 การอนุรักษ์ในรูปแบบของความ หลากหลายทางชีวภาพในระบบเกษตร 12.5 การจัดการป่าไม้ เพื่อการอนุรักษ์ ความหลากหลายทางชีวภาพ 12.6 การใช้ที่ดินแบบผสมผสาน 9 ชั่วโมง บรรยาย ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน งานวิจัย โครงการอนุรักษ์และ ป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อม และสภาพแวดล้อม เวบไซด์ อาจารย์ 11-12 13. ระบบของสิ่งแวดล้อมกับระบบ เศรษฐกิจ 13.1 ชุมชนกับสัตว์และพืช 13.2 การเปลี่ยนแปลงเชิงนิเวศน์ ภายในชุมชน 6 ชั่วโมง อาจารย์
  • 7. สัปดาห์ที่ หัวข้อ/รายละเอียด จน. ชั่วโมง กิจกรรมการเรียนการ สอน/สื่อที่ใช้ ผู้สอน 13.3 ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลง ที่มีต่อความหลากหลายของระบบ ชีวภาพในชุมชนและท้องถิ่น 13.4 ปัญหาของระบบนิเวศน์และ ความหลากหลายของระบบชีวภาพ 13 14. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติใน พื้นที่ป้องกัน 14.1 การอนุรักษ์โดยการไม่เข้าไป แทรกแซง 14.2 การอนุรักษ์โดยการเข้าไป แทรกแซง 15. การท่องเที่ยวในพื้นที่อนุรักษ์ 16. เทคนิคในการควบคุมนักท่อง เที่ยว 17. ชุมนท้องถิ่นและพื้นที่อนุรักษ์ 18. การบูรณาการการอนุรักษ์และการ ใช้ทรัพยากรในพื้นที่อนุรักษ์ 3 ชั่วโมง บรรยาย และการอภิปราย ของนักศึกษา ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน งานวิจัย โครงการอนุรักษ์และ ป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อม และสภาพแวดล้อม เวบไซด์ เวบไซด์ อาจารย์ 14-15 19. กรณีศึกษา การมีส่วนร่วมของ ประชาชนในการอนุรักษ์และจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ทั้งของไทยและของต่างประเทศ 16 20. นโยบายภาครัฐกับการอนุรักษ์ และจัดการทรัพยากรธรรมชาติกับสิ่ง แวดล้อม 21. รัฐธรรมนูญของไทยกับสิทธิหน้าที่ ในการมีส่วนร่วมส่งเสริม รักษา คุณภาพของสิ่งแวดล้อม 22. สรุปประเด็นสาคัญเพื่อเป็น แนวทาง ในการสอบ วัดและประเมินผล ล ย ค 6 ชั่วโมง บรรยาย ซักถาม ศึกษาจากเอกสารประกอบ การสอน งานวิจัย โครงการอนุรักษ์และ ป้องกันปัญหาสิ่งแวดล้อม และสภาพแวดล้อม เวบไซด์ อาจารย์ 17 สอบปลายภาค 1.30 บ ย อาจารย์
  • 8. 2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้ (16 สัปดาห์) กิจกรรม ที่ ผลการเรียนรู้* วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ ประเมิน สัดส่วนของ การประเมิน 1 1-5 1-10 11-14 1-16 ทดสอบย่อยครั้งที่ 1 สอบกลางภาค ทดสอบย่อยครั้งที่ 2 สอบปลายภาค 5 10 14 17 10% 30% 10% 30% 2 14-15 วิเคราะห์กรณีศึกษา นาเสน รายงาน การทางานกลุ่มและ ผลงาน บ ล ย ) 14-15 20% หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน 1. เอกสารและตารา เอกสารการสอน. ความหลากหลายของระบบชีวภาพ และนโยบายการจัดการ. 2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ ไม่มี 3. เอกสารและข้อมูลแนะนา The Precautionary Principle Project and TRAFFIC, SouthAmerica “The Precautionary Principlein Biodiversity Conservation and Natural Resource Management: Uncertainty, Risk,Biodiversity and Livelihoods”, Quito, Ecuador 16th-18th March, 2005 KAMALJIT S.BAWA AND REINMAR SEIDLER ,1997. CONSERVATION BIOLOGY. VALUE 12, NO 1, FABUARY 1997. www geeocities. com / scied 2002 www google co.th / advanced. www http: www. geogle. Com
  • 9. หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา 1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ที่จัดทาโดยนักศึกษา ได้จัดกิจกรรมในการนาแนวคิดและความเห็น จากนักศึกษาได้ดังนี้ - การสนทนากลุ่มระหว่างผู้สอนและผู้เรียน - แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา - ข้อเสนอแนะผ่านเวบบ ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนักศึกษา 2. กลยุทธ์การประเมินการสอน ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้ - การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน - ผลการเรียนของนักศึกษา - การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้ 3. การปรับปรุงการสอน หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดมสมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้ - สัมมนาการจัดการเรียนการสอน - การวิจัยในและนอกชั้นเรียน 4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ เรียนรู้ในวิชา ได้จาก การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผ การทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้ - การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่น หรือ ผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร - มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษา โดย ตรวจสอบข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม 5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการ สอนและรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้ - ปรับปรุงรายวิชาทุก 3 ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4 - เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มา จากงานวิจัยของอาจารย์ต่าง ๆ