SlideShare a Scribd company logo
พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 
29 ตุลาคม 2557
By Michael E. Porter and James E. Heppelmann
Michael E. Porter is the Bishop William Lawrence University Professor, based at Harvard Business School. 
James E. Heppelmann is the president and CEO of PTC, a Massachusetts-based software company that helps manufacturers create, operate, and service products.
Information technology is revolutionizing products, from appliances to cars to mining equipment. Products once composed solely of mechanical and electrical parts have become complex systems combining hardware, sensors, electronics, and software that connect through the internet in myriad ways. These “smart, connected products” offer exponentially expanding opportunities for new functionality, far greater reliability, and capabilities that cut across and transcend traditional product boundaries. 
The changing nature of products is disrupting value chains, argue Michael Porter and PTC CEO James Heppelmann, and forcing companies to rethink nearly everything they do, from how they conceive, design, and source their products; to how they manufacture, operate, and service them; to how they build and secure the necessary IT infrastructure. 
Smart, connected products raise a broad set of new strategic choices for companies about how value is created and captured, how to work with traditional partners and what new partnerships will be required, and how to secure competitive advantage as the new capabilities reshape industry boundaries. For many firms, smart, connected products will force the fundamental question: “What business am I in?” This article provides a framework for developing strategy and achieving competitive advantage in a smart, connected world.
เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีการปฏิวัติอย่างรวดเร็ว 
แต่ก่อนเป็นเพียงชิ้นส่วนเครื่องจักรกลและไฟฟ้า ต่อมาได้ กลายเป็นระบบที่ซับซ้อนในรูปแบบนับไม่ถ้วน ประกอบด้วย ฮาร์ดแวร์ เซ็นเซอร์ การจัดเก็บข้อมูล หน่วยประมวลผลขนาด เล็ก และมีการเชื่อมต่อ ผลิตภัณฑ์เชื่อมต่อแบบฉลาด (smart, connected products) มี ความเป็นไปได้โดยการปรับปรุงการประมวลผล อุปกรณ์ขนาด จิ๋ว และระบบเครือข่ายไร้สายที่เชื่อมต่ออย่างแพร่หลาย ทาให้ เกิดเป็นยุคใหม่ของการแข่งขัน
คลื่นลูกแรกของ IT ในช่วงปี1960 ถึง 1970 เป็นกิจกรรมอัตโนมัติ ในแต่ละห่วงโซ่มูลค่า มีการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยการออกแบบ และใช้วางแผนทรัพยากรการผลิต 
ระบบอินเทอร์เน็ตที่มีการเชื่อมต่อที่ไม่แพงและแพร่หลาย เป็นคลื่น ลูกที่สองของ IT เป็นการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในช่วงปี 1980 ถึงปี 1990 ขณะนี้เป็นคลื่นลูกที่สามของ IT เพราะส่วนหนึ่งของสินค้าเองมี เซ็นเซอร์ ตัวประมวลผล ซอฟแวร์ และมีการเชื่อมต่อในผลิตภัณฑ์ ควบคู่ไปกับระบบคลาวด์ โดยข้อมูลจะถูกจัดเก็บและมีการวิเคราะห์ การทางานของผลิตภัณฑ์ คลื่นลูกที่สามของการเปลี่ยนแปลงด้าน IT มีศักยภาพใหญ่ที่สุด ทา ให้เกิดนวัตกรรมมากยิ่งขึ้น กาไรจากการผลิตและการเติบโตทาง เศรษฐกิจ มากกว่าสองคลื่นก่อนหน้านี้
ผลิตภัณฑ์เชื่อมต่อแบบฉลาด มีสามองค์ประกอบหลักคือ: องค์ประกอบ ทางกายภาพ ส่วนประกอบ "ฉลาด" และส่วนประกอบการเชื่อมต่อ 
องค์ประกอบทางกายภาพ ประกอบด้วยชิ้นส่วนของผลิตภัณฑ์ เครื่องกลและไฟฟ้า 
ชิ้นส่วนฉลาด ประกอบด้วยเซ็นเซอร์ หน่วยประมวลผล การจัดเก็บ ข้อมูล การควบคุมโดยซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบัติการที่ฝังในตัว และ ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ 
ส่วนประกอบการเชื่อมต่อ ประกอบด้วยพอร์ต เสาอากาศ และ โปรโตคอล ที่ช่วยให้การเชื่อมต่อแบบมีสายหรือไร้สายกับผลิตภัณฑ์
การทางานของผลิตภัณฑ์ที่มีการเชื่อมต่อแบบฉลาด สามารถแบ่งออกเป็น สี่ส่วนคือ: การตรวจสอบ การควบคุม การเพิ่มประสิทธิภาพ และการ เป็นอิสระ 
การตรวจสอบ ที่ครอบคลุมของสภาวะการทางานของผลิตภัณฑ์และ สภาพแวดล้อมภายนอก ผ่านเซ็นเซอร์และแหล่งข้อมูลภายนอก 
การควบคุม ผ่านคาสั่งระยะไกลหรืออัลกอริทึมที่ถูกสร้างขึ้นในอุปกรณ์ หรืออาศัยคลาวด์ของผลิตภัณฑ์ 
การเพิ่มประสิทธิภาพ การตรวจสอบข้อมูล ควบคู่ไปกับความสามารถ ควบคุมการทางานของผลิตภัณฑ์ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทางานของ ผลิตภัณฑ์ ในหลายวิธีที่เป็นไปไม่ได้ก่อนหน้านี้ 
การเป็นอิสระ การตรวจสอบ การควบคุม และการเพิ่มประสิทธิภาพ รวมกัน ทาให้ผลิตภัณฑ์เชื่อมต่อแบบฉลาด ทางานบรรลุในระดับที่ก่อน หน้านี้ไม่สามารถบรรลุได้
อานาจต่อรองของผู้ซื้อ สามารถเพิ่มอานาจซื้อ โดยผู้ซื้อเข้าใจถึง ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์จริง และมีการเปรียบเทียบ 
การแข่งขันระหว่างคู่แข่ง มีศักยภาพที่จะเปลี่ยนการแข่งขัน ที่เปิด เวทีใหม่อย่างมากมาย สาหรับความแตกต่าง และการบริการ 
การคุกคามของผู้เข้าใหม่ อุปสรรคของการเริ่มต้นคือค่าใช้จ่ายสูงคงที่ ของการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ซับซ้อนมากขึ้น และโครงสร้างพื้นฐาน ด้านไอทีใหม่ที่มีหลายชั้น 
ภัยคุกคามของการทดแทน ความสามารถของผลิตภัณฑ์ ที่สามารถ ใช้ได้ในวงกว้างกว่าสินค้าทั่วไป 
อานาจต่อรองของผู้ส่งมอบ ส่งมอบคุณค่ามากขึ้น เมื่อเทียบกับ องค์ประกอบทางกายภาพ หรือแม้กระทั่งการแทนที่ด้วยซอฟแวร์เมื่อ เวลาผ่านไป
ผลิตภัณฑ์ที่เชื่อมต่อแบบฉลาดกับโครงสร้างอุตสาหกรรม จะมี ความแตกต่างกัน แต่แนวโน้มบางอย่างที่ดูชัดเจน คืออุปสรรค ในการเข้ากันได้ กับข้อได้เปรียบของผู้เสนอตัวเป็นรายแรก 
จากการสะสมและการวิเคราะห์ข้อมูลการใช้งานของผลิตภัณฑ์ แสดงให้เห็นว่า อาจต้องมีการรวมตัวกัน บางส่วนของกลยุทธ์เหล่านี้อาจจะกลายเป็น "productless" นั่นคือ ระบบการเชื่อมต่อผลิตภัณฑ์ ที่ใช้ประโยชน์มากกว่าตัวของ ผลิตภัณฑ์เอง
เพื่อการได้เปรียบในการแข่งขัน บริษัทจะต้องสามารถสร้างความ แตกต่าง และดาเนินการด้วยต้นทุนที่ต่ากว่าคู่แข่ง หรือทั้งสองอย่าง 
รากฐานการได้เปรียบในการแข่งขัน คือความมีประสิทธิภาพในการ ดาเนินงาน ที่ต้องปฏิบัติที่ดีที่สุดในห่วงโซ่มูลค่า รวมถึงเทคโนโลยีที่ ทันสมัย ของผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์การผลิตใหม่ล่าสุด ศิลปะการขาย โซลูชั่นไอที และแนวทางการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน บริษัท ต้องกาหนดกลยุทธ์ในการวางตาแหน่งที่โดดเด่น (strategic positioning) ในขณะที่ประสิทธิภาพในการดาเนินงานที่ดี คือการวาง กลยุทธ์เกี่ยวกับการทาสิ่งที่แตกต่าง 
กลยุทธ์ต้องตัดสินใจไม่เพียงสิ่งที่จะทา แต่รวมถึงสิ่งที่ไม่ทา
10 ข้อคิดทางกลยุทธ์ 
1. บริษัทควรติดตามชุดและคุณสมบัติใด ของผลิตภัณฑ์การ เชื่อมต่อแบบฉลาด? 2. วิธีการทางานควรจะฝังตัวอยู่ในผลิตภัณฑ์หรือในคลาวด์? 3. บริษัทควรติดตามระบบเปิดหรือปิด? 4. บริษัทควรพัฒนาชุดเต็มรูปแบบของผลิตภัณฑ์ หรือ มอบหมายให้ผู้ขายภายนอกและคู่ค้า? 5. บริษัทต้องใช้ข้อมูลอะไร ในการรักษาความปลอดภัยและ วิเคราะห์ เพื่อเพิ่มคุณค่าในการการเสนอขายของตน?
6. บริษัทมีความเป็นเจ้าของ และสามารถบริหารจัดการสิทธิ การเข้าถึงข้อมูลผลิตภัณฑ์ได้หรือไม่? 
7. บริษัทควรมีช่องทางการจัดจาหน่ายเอง หรือใช้เครือข่าย บริการทั้งหมด หรือใช้บางส่วน? 
8. บริษัทควรเปลี่ยนรูปแบบธุรกิจหรือไม่? 
9. บริษัทควรมีธุรกิจใหม่โดยการสร้างรายได้จากการขายข้อมูล ผลิตภัณฑ์ให้แก่บุคคลภายนอกหรือไม่? 
10. บริษัทควรขยายขอบเขตหรือไม่?
1. บริษัทควรติดตามชุดและคุณสมบัติใด ของผลิตภัณฑ์การ เชื่อมต่อแบบฉลาด? 
ประการแรก ต้องตัดสินใจว่า คุณสมบัติใดที่จะส่งมอบคุณค่าที่ แท้จริงให้กับลูกค้าเมื่อเทียบกับค่าใช้จ่าย 
ประการที่สอง คุณสมบัติหรือความสามารถจะแตกต่างกันตาม กลุ่มตลาด การเลือกคุณสมบัติของบริษัทจะขึ้นอยู่กับกลุ่มที่จะ ให้บริการ 
ประการที่สาม บริษัท ควรรวมความสามารถเหล่านั้น และเป็น คุณสมบัติที่เสริมสร้างการวางตาแหน่งการแข่งขัน
2. วิธีการทางานควรจะฝังตัวอยู่ในผลิตภัณฑ์หรือในคลาวด์? การตัดสินใจเลือกวิธีการทางานขึ้นกับ 
เวลาตอบสนอง 
การทางานแบบอัตโนมัติ 
ความพร้อมเครือข่าย ความน่าเชื่อถือ และการรักษาความ ปลอดภัย 
สถานที่ตั้งของการใช้ผลิตภัณฑ์ 
ลักษณะของการติดต่อกับผู้ใช้ 
ความถี่ของการบริการ หรือการอัพเกรดผลิตภัณฑ์
3. บริษัทควรติดตามระบบเปิดหรือปิด? 
วิธีการที่เป็นระบบปิด มีเป้าหมายที่จะให้ลูกค้าซื้อระบบการ เชื่อมต่อผลิตภัณฑ์ทั้งหมดจากผู้ผลิตเดียว 
ระบบเปิด ช่วยให้ลูกค้าปลายทาง สามารถประกอบชิ้นส่วนทั้ง ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องและแพลตฟอร์ม ที่มีการผูกโยงระบบเข้า ด้วยกันจากบริษัทที่แตกต่างกันได้
4. บริษัทควรพัฒนาชุดเต็มรูปแบบของผลิตภัณฑ์ หรือมอบหมาย ให้ผู้ขายภายนอกและคู่ค้า? 
บริษัทจะต้องเลือกว่าระดับเทคโนโลยีใดใช้การพัฒนาภายใน และระดับเทคโนโลยีใดที่จะมอบหมายให้กับผู้ส่งมอบและคู่ค้า 
บริษัทจะต้องตัดสินใจว่า จะดาเนินการพัฒนาเองหรืออนุญาตให้ คู่ค้า เพื่อให้มีสิ่งที่ดีที่สุดในแต่ละระดับ 
จากการวิจัยแสดงให้เห็นว่า บริษัทที่ประสบความสาเร็จส่วนใหญ่ เลือกวิธีรวมกันของทั้งสองแบบ
5. บริษัทต้องใช้ข้อมูลอะไร ในการรักษาความปลอดภัยและ วิเคราะห์ เพื่อเพิ่มคุณค่าในการการเสนอขายของตน? 
ประเภทของข้อมูลที่บริษัทเลือกเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ ขึ้นอยู่ กับการวางตาแหน่งของตน 
หากกลยุทธ์ของบริษัทมุ่งเน้นประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ หรือ การลดค่าใช้จ่ายในการบริการ ก็จะต้องจับข้อมูลที่เกิดขึ้นจริง 
สาหรับบริษัทที่แสวงหาความเป็นผู้นาในระบบผลิตภัณฑ์ ต้อง ลงทุนในการจับและวิเคราะห์ข้อมูลของผลิตภัณฑ์หลายหลาก มากขึ้น รวมถึงสภาพแวดล้อมภายนอก แม้ในผลิตภัณฑ์ที่บริษัท ไม่ได้ผลิตเอง
6. บริษัทมีความเป็นเจ้าของและสามารถบริหารจัดการสิทธิ การ เข้าถึงข้อมูลผลิตภัณฑ์ได้หรือไม่? 
ใครคือเจ้าของข้อมูลที่แท้จริง ผู้ผลิตอาจเป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์ แต่ข้อมูลการใช้งานของผลิตภัณฑ์อาจเป็นลูกค้า 
บริษัทอาจจะติดตามข้อมูลผลิตภัณฑ์หรือแสวงหาความเป็น เจ้าของร่วมกัน นอกจากนี้ยังมีระดับต่างๆ ของสิทธิการใช้งาน รวมถึงเทคโนโลยี NDAs สิทธิในการใช้ข้อมูลร่วมกัน หรือสิทธิที่ จะขายมัน 
บริษัทจะต้องกาหนดวิธีการ เพื่อความโปร่งใสในการเก็บ รวบรวมข้อมูลและการใช้งาน
7. บริษัทควรมีช่องทางการจัดจาหน่ายเอง หรือใช้เครือข่ายบริการ ทั้งหมด หรือใช้บางส่วน? 
บริษัทอาจต้องการความสัมพันธ์กับลูกค้าโดยตรง ซึ่งสามารถ ช่วยลดความจาเป็นสาหรับพันธมิตรของช่องทางการจัดจาหน่าย 
บริษัทสามารถวินิจฉัยปัญหาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์และ ความล้มเหลว และบางครั้งก็ทาให้การซ่อมแซมได้จากระยะไกล เป็นการลดการพึ่งพาคู่ค้าบริการ 
ทางเลือกของไม่ว่าจะมี หรือไม่มีคู่ค้าหรือบริการ ขึ้นอยู่กับชนิด ของเครือข่ายพันธมิตรที่บริษัทมีอยู่
8. บริษัทควรเปลี่ยนรูปแบบธุรกิจหรือไม่? 
ผู้ผลิตมีการเข้าถึงข้อมูลผลิตภัณฑ์ และสามารถคาดการณ์ความ ล้มเหลวรวมถึงการซ่อมแซม ที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพของ ผลิตภัณฑ์ รูปแบบธุรกิจใหม่อาจต่างจากรูปแบบความเป็นเจ้าของแบบดั้งเดิม (ที่ผลประโยชน์ของลูกค้าได้จากประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์) กลายเป็น ผู้ผลิตยังคงเป็นเจ้าของและรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน ของผลิตภัณฑ์และบริการ เพื่อแลกกับค่าใช้จ่ายอย่างต่อเนื่อง โดยที่ ลูกค้าไม่ต้องชาระเงินล่วงหน้า ในการทากาไรของ รูปแบบผลิตภัณฑ์คือบริการ (product-as-a- service model) ขึ้นอยู่กับการกาหนดราคาและเงื่อนไขของสัญญา ซึ่งผู้ ซื้อที่มีอานาจต่อรอง
9. บริษัทควรมีธุรกิจใหม่โดยการสร้างรายได้จากการขายข้อมูล ผลิตภัณฑ์ให้แก่บุคคลภายนอกหรือไม่? 
ในการเลือกคุณค่าใหม่จากข้อมูลผลิตภัณฑ์ บริษัทต้องพิจารณา จากแนวโน้มการตอบสนองของลูกค้าหลัก 
ในขณะที่บางส่วนอาจไม่สนใจว่าข้อมูลของพวกเขาจะถูกใช้โดย คนอื่น ๆ บางคนอาจจะรู้สึกอย่างมากเกี่ยวกับข้อมูลความเป็น ส่วนตัวของเขา 
บริษัท จะต้องระบุกลไกในการให้ข้อมูลที่มีคุณค่าให้กับบุคคลอื่น โดยไม่ผลักไสลูกค้า ตัวอย่างเช่น บริษัท อาจจะไม่ขายข้อมูลของ ลูกค้าแต่ละราย แต่ต้องปิดบังรายชื่อ หรือเป็นข้อมูลโดยรวม
10. บริษัทควรขยายขอบเขตหรือไม่? 
บริษัทจะต้องระบุคุณค่าที่ชัดเจนให้ได้ก่อน 
การขยายขอบเขตของผลิตภัณฑ์จะเป็นที่น่าสนใจที่สุด ถ้ามี โอกาสปรับปรุงประสิทธิภาพการทางานที่สาคัญร่วมกับการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบ 
หรือหากการเพิ่มประสิทธิภาพไม่ได้ขึ้นกับการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ อาจจะดีกว่าถ้าบริษัทเปิดโอกาสให้ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต โดยคนอื่นได้มาเกี่ยวข้องด้วย 
การประสบความสาเร็จ ขึ้นกับระบบวิศวกรรมมากกว่าการ ออกแบบผลิตภัณฑ์
การเป็นผู้นาระบบผลิตภัณฑ์ บริษัทจะต้องดาเนินการกับหมวดหมู่ สินค้าที่เกี่ยวข้อง มีการบูรณาการการออกแบบผลิตภัณฑ์อย่าง กว้างขวาง และพัฒนาขีดความสามารถทางเทคโนโลยีภายในที่ เข้มข้นมากขึ้น 
ในทางตรงกันข้าม บริษัทที่มุ่งเน้นในการเป็นส่วนหนึ่งของระบบ จะต้องเป็นที่ดีที่สุดในแง่ของคุณสมบัติ การทางาน และมีอินเตอร์ เฟซที่โปร่งใสและเปิด เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ของตนที่สามารถบูรณาการ ได้อย่างง่ายดาย และกลายเป็นส่วนหนึ่งที่มีคุณค่ากับระบบของบริษัท และแพลตฟอร์มอื่น 
ท้ายที่สุด ความสาเร็จในการแข่งขันไม่ได้เกิดขึ้นโดยการเลียนแบบ คู่แข่ง แต่โดยการกาหนดคุณค่าที่โดดเด่นที่บริษัทสามารถบรรลุได้
ผลิตภัณฑ์ที่มีการเชื่อมต่ออย่างฉลาด ได้เปลี่ยนแปลงวิธีการสร้าง คุณค่าให้กับลูกค้า วิธีการที่บริษัทแข่งขัน และขอบเขตของการ แข่งขัน การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อแทบทุก อุตสาหกรรม ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม 
คลื่นลูกที่สามนี้ ไม่เพียงแต่จะปรับปรุงขั้นตอนการทางาน ความสามารถและประสิทธิภาพการทางานของผลิตภัณฑ์ แต่ยังช่วย เพิ่มความสามารถของเรา เพื่อตอบสนองธุรกิจและความต้องการของ มนุษย์จานวนมาก ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีความปลอดภัยและ เชื่อถือได้ สามารถใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ในการอนุรักษ์ทรัพยากร ทางธรรมชาติที่หายาก เช่นพลังงานน้าและวัตถุดิบ
Colin Powell

More Related Content

Viewers also liked

คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions
คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions
คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions
maruay songtanin
 
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Changes in 2015 2016 criteria
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Changes in 2015 2016 criteria การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Changes in 2015 2016 criteria
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Changes in 2015 2016 criteria
maruay songtanin
 
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
maruay songtanin
 
การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน Lessons from great family businesses
การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน Lessons from great family businesses การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน Lessons from great family businesses
การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน Lessons from great family businesses
maruay songtanin
 
กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร Strategy definition
กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร Strategy definition กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร Strategy definition
กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร Strategy definition
maruay songtanin
 
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
maruay songtanin
 
การจัดการความรู้ 2.0 - KM 2.0
การจัดการความรู้ 2.0 - KM 2.0 การจัดการความรู้ 2.0 - KM 2.0
การจัดการความรู้ 2.0 - KM 2.0
maruay songtanin
 
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น Comment guidelines 2015
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น Comment guidelines 2015  แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น Comment guidelines 2015
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น Comment guidelines 2015
maruay songtanin
 
สมรรถนะของฝ่ายบุคคล Global HR competencies
สมรรถนะของฝ่ายบุคคล Global HR competencies สมรรถนะของฝ่ายบุคคล Global HR competencies
สมรรถนะของฝ่ายบุคคล Global HR competencies
maruay songtanin
 
คณะกรรมการบริหาร Board of directors
คณะกรรมการบริหาร Board of directors คณะกรรมการบริหาร Board of directors
คณะกรรมการบริหาร Board of directors
maruay songtanin
 
การสร้างทีม Team building
การสร้างทีม Team building การสร้างทีม Team building
การสร้างทีม Team building
maruay songtanin
 
5 หลักกลยุทธ์ Strategic five
5 หลักกลยุทธ์ Strategic five 5 หลักกลยุทธ์ Strategic five
5 หลักกลยุทธ์ Strategic five
maruay songtanin
 
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
maruay songtanin
 
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
maruay songtanin
 
ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง The softer side of negotiation
ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง The softer side of negotiation ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง The softer side of negotiation
ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง The softer side of negotiation
maruay songtanin
 
16 บทเรียนของผู้นำทางทหาร 16 leadership lessons from a four-star general
16 บทเรียนของผู้นำทางทหาร 16 leadership lessons from a four-star general  16 บทเรียนของผู้นำทางทหาร 16 leadership lessons from a four-star general
16 บทเรียนของผู้นำทางทหาร 16 leadership lessons from a four-star general
maruay songtanin
 
การให้คะแนน Scoring system
การให้คะแนน Scoring systemการให้คะแนน Scoring system
การให้คะแนน Scoring system
maruay songtanin
 
รางวัล 2015 Baldrige award winners
รางวัล 2015 Baldrige award winners รางวัล 2015 Baldrige award winners
รางวัล 2015 Baldrige award winners
maruay songtanin
 
กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution
กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution
กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution
maruay songtanin
 
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum  ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
maruay songtanin
 

Viewers also liked (20)

คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions
คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions
คำถามในการเยี่ยมสถานที่ Site visit questions
 
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Changes in 2015 2016 criteria
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Changes in 2015 2016 criteria การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Changes in 2015 2016 criteria
การปรับเปลี่ยนเกณฑ์ Changes in 2015 2016 criteria
 
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
ตัดสินใจให้ดีกว่าเดิม Make better decisions
 
การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน Lessons from great family businesses
การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน Lessons from great family businesses การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน Lessons from great family businesses
การทำธุรกิจครอบครัวให้ยั่งยืน Lessons from great family businesses
 
กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร Strategy definition
กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร Strategy definition กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร Strategy definition
กลยุทธ์ กับคำนิยามของผู้บริหาร Strategy definition
 
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
ก้าวสู่ความเป็นเลิศ Introduction to performance excellence
 
การจัดการความรู้ 2.0 - KM 2.0
การจัดการความรู้ 2.0 - KM 2.0 การจัดการความรู้ 2.0 - KM 2.0
การจัดการความรู้ 2.0 - KM 2.0
 
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น Comment guidelines 2015
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น Comment guidelines 2015  แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น Comment guidelines 2015
แนวทางการเขียนข้อคิดเห็น Comment guidelines 2015
 
สมรรถนะของฝ่ายบุคคล Global HR competencies
สมรรถนะของฝ่ายบุคคล Global HR competencies สมรรถนะของฝ่ายบุคคล Global HR competencies
สมรรถนะของฝ่ายบุคคล Global HR competencies
 
คณะกรรมการบริหาร Board of directors
คณะกรรมการบริหาร Board of directors คณะกรรมการบริหาร Board of directors
คณะกรรมการบริหาร Board of directors
 
การสร้างทีม Team building
การสร้างทีม Team building การสร้างทีม Team building
การสร้างทีม Team building
 
5 หลักกลยุทธ์ Strategic five
5 หลักกลยุทธ์ Strategic five 5 หลักกลยุทธ์ Strategic five
5 หลักกลยุทธ์ Strategic five
 
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
สิ่งที่ลูกค้าต้องการที่แท้จริงคืออะไร? What does your customer really want
 
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
ความได้เปรียบจากการสะสม Cumulative advantage
 
ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง The softer side of negotiation
ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง The softer side of negotiation ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง The softer side of negotiation
ศาสตร์ด้านอ่อนของการต่อรอง The softer side of negotiation
 
16 บทเรียนของผู้นำทางทหาร 16 leadership lessons from a four-star general
16 บทเรียนของผู้นำทางทหาร 16 leadership lessons from a four-star general  16 บทเรียนของผู้นำทางทหาร 16 leadership lessons from a four-star general
16 บทเรียนของผู้นำทางทหาร 16 leadership lessons from a four-star general
 
การให้คะแนน Scoring system
การให้คะแนน Scoring systemการให้คะแนน Scoring system
การให้คะแนน Scoring system
 
รางวัล 2015 Baldrige award winners
รางวัล 2015 Baldrige award winners รางวัล 2015 Baldrige award winners
รางวัล 2015 Baldrige award winners
 
กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution
กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution
กลยุทธ์ หรือ การทำให้สำเร็จ อะไรสำคัญกว่ากัน Strategy or execution
 
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum  ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
ข้อสังเกต การจัดการความรู้ Maruay 17th ha forum
 

Similar to เมื่อข้อมูลเปลี่ยนโลกการแข่งขัน The new deal on data

บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศPokypoky Leonardo
 
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
siroros
 
Work3 23
Work3 23Work3 23
Ecommerce start
Ecommerce startEcommerce start
Ecommerce start
anusorn kraiwatnussorn
 
แนวทางในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศกับมหาวิทยาลัยไทย
แนวทางในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศกับมหาวิทยาลัยไทยแนวทางในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศกับมหาวิทยาลัยไทย
แนวทางในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศกับมหาวิทยาลัยไทย
IMC Institute
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
siriporn pongvinyoo
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2Kriangx Ch
 
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Tanya Sattaya-aphitan
 
Computer for CIO
Computer for CIOComputer for CIO
Computer for CIO
Boonlert Aroonpiboon
 
Strategic IT Governance and IT Security Management Course
Strategic IT Governance and IT Security Management CourseStrategic IT Governance and IT Security Management Course
Strategic IT Governance and IT Security Management Course
Software Park Thailand
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายTum WinNing
 
ICT Ecosystem & Open Source Evolution 2012
ICT Ecosystem & Open Source Evolution 2012ICT Ecosystem & Open Source Evolution 2012
ICT Ecosystem & Open Source Evolution 2012
Luesak Chakrabandhu
 
Presentation r4i
Presentation r4i Presentation r4i
Thai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of TechnologyThai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of Technology
pantapong
 
Why do we need practical enterprise architecture?
Why do we need practical enterprise architecture?Why do we need practical enterprise architecture?
Why do we need practical enterprise architecture?
Apple Taton
 
Addiction I T
Addiction  I TAddiction  I T
Addiction I T
Isara Chiawiriyabunya
 

Similar to เมื่อข้อมูลเปลี่ยนโลกการแข่งขัน The new deal on data (20)

บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศบทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
บทที่ 12.แนวโน้มของเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
M agro october 26, chapter 1 and 2 r2
 
Work3 23
Work3 23Work3 23
Work3 23
 
Work3 23
Work3 23Work3 23
Work3 23
 
Ecommerce start
Ecommerce startEcommerce start
Ecommerce start
 
แนวทางในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศกับมหาวิทยาลัยไทย
แนวทางในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศกับมหาวิทยาลัยไทยแนวทางในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศกับมหาวิทยาลัยไทย
แนวทางในการพัฒนาระบบเทคโนโลยีสารสนเทศกับมหาวิทยาลัยไทย
 
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MISระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
ระบบสารสนเทศและข้อมูลข่าวสาร MIS
 
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
เทคโนโลยีสารสนเทศ 2
 
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
Digital Transformation Presentation by TOT's CEO
 
Computer for CIO
Computer for CIOComputer for CIO
Computer for CIO
 
Strategic IT Governance and IT Security Management Course
Strategic IT Governance and IT Security Management CourseStrategic IT Governance and IT Security Management Course
Strategic IT Governance and IT Security Management Course
 
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่ายบทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
บทที่6 การออกแบบระบบเครือข่าย
 
ICT Ecosystem & Open Source Evolution 2012
ICT Ecosystem & Open Source Evolution 2012ICT Ecosystem & Open Source Evolution 2012
ICT Ecosystem & Open Source Evolution 2012
 
Presentation r4i
Presentation r4i Presentation r4i
Presentation r4i
 
Group1
Group1Group1
Group1
 
Thai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of TechnologyThai-Japan : Management of Technology
Thai-Japan : Management of Technology
 
ppowerpoint
ppowerpointppowerpoint
ppowerpoint
 
Why do we need practical enterprise architecture?
Why do we need practical enterprise architecture?Why do we need practical enterprise architecture?
Why do we need practical enterprise architecture?
 
Addiction I T
Addiction  I TAddiction  I T
Addiction I T
 
POWERPOINT
POWERPOINTPOWERPOINT
POWERPOINT
 

More from maruay songtanin

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

เมื่อข้อมูลเปลี่ยนโลกการแข่งขัน The new deal on data

  • 1. พันเอก มารวย ส่งทานินทร์ maruays@hotmail.com 29 ตุลาคม 2557
  • 2. By Michael E. Porter and James E. Heppelmann
  • 3. Michael E. Porter is the Bishop William Lawrence University Professor, based at Harvard Business School. James E. Heppelmann is the president and CEO of PTC, a Massachusetts-based software company that helps manufacturers create, operate, and service products.
  • 4. Information technology is revolutionizing products, from appliances to cars to mining equipment. Products once composed solely of mechanical and electrical parts have become complex systems combining hardware, sensors, electronics, and software that connect through the internet in myriad ways. These “smart, connected products” offer exponentially expanding opportunities for new functionality, far greater reliability, and capabilities that cut across and transcend traditional product boundaries. The changing nature of products is disrupting value chains, argue Michael Porter and PTC CEO James Heppelmann, and forcing companies to rethink nearly everything they do, from how they conceive, design, and source their products; to how they manufacture, operate, and service them; to how they build and secure the necessary IT infrastructure. Smart, connected products raise a broad set of new strategic choices for companies about how value is created and captured, how to work with traditional partners and what new partnerships will be required, and how to secure competitive advantage as the new capabilities reshape industry boundaries. For many firms, smart, connected products will force the fundamental question: “What business am I in?” This article provides a framework for developing strategy and achieving competitive advantage in a smart, connected world.
  • 5.
  • 6.
  • 7.
  • 8. เทคโนโลยีสารสนเทศ เป็นผลิตภัณฑ์ที่มีการปฏิวัติอย่างรวดเร็ว แต่ก่อนเป็นเพียงชิ้นส่วนเครื่องจักรกลและไฟฟ้า ต่อมาได้ กลายเป็นระบบที่ซับซ้อนในรูปแบบนับไม่ถ้วน ประกอบด้วย ฮาร์ดแวร์ เซ็นเซอร์ การจัดเก็บข้อมูล หน่วยประมวลผลขนาด เล็ก และมีการเชื่อมต่อ ผลิตภัณฑ์เชื่อมต่อแบบฉลาด (smart, connected products) มี ความเป็นไปได้โดยการปรับปรุงการประมวลผล อุปกรณ์ขนาด จิ๋ว และระบบเครือข่ายไร้สายที่เชื่อมต่ออย่างแพร่หลาย ทาให้ เกิดเป็นยุคใหม่ของการแข่งขัน
  • 9. คลื่นลูกแรกของ IT ในช่วงปี1960 ถึง 1970 เป็นกิจกรรมอัตโนมัติ ในแต่ละห่วงโซ่มูลค่า มีการใช้คอมพิวเตอร์เพื่อช่วยการออกแบบ และใช้วางแผนทรัพยากรการผลิต ระบบอินเทอร์เน็ตที่มีการเชื่อมต่อที่ไม่แพงและแพร่หลาย เป็นคลื่น ลูกที่สองของ IT เป็นการขับเคลื่อนการเปลี่ยนแปลงในช่วงปี 1980 ถึงปี 1990 ขณะนี้เป็นคลื่นลูกที่สามของ IT เพราะส่วนหนึ่งของสินค้าเองมี เซ็นเซอร์ ตัวประมวลผล ซอฟแวร์ และมีการเชื่อมต่อในผลิตภัณฑ์ ควบคู่ไปกับระบบคลาวด์ โดยข้อมูลจะถูกจัดเก็บและมีการวิเคราะห์ การทางานของผลิตภัณฑ์ คลื่นลูกที่สามของการเปลี่ยนแปลงด้าน IT มีศักยภาพใหญ่ที่สุด ทา ให้เกิดนวัตกรรมมากยิ่งขึ้น กาไรจากการผลิตและการเติบโตทาง เศรษฐกิจ มากกว่าสองคลื่นก่อนหน้านี้
  • 10. ผลิตภัณฑ์เชื่อมต่อแบบฉลาด มีสามองค์ประกอบหลักคือ: องค์ประกอบ ทางกายภาพ ส่วนประกอบ "ฉลาด" และส่วนประกอบการเชื่อมต่อ องค์ประกอบทางกายภาพ ประกอบด้วยชิ้นส่วนของผลิตภัณฑ์ เครื่องกลและไฟฟ้า ชิ้นส่วนฉลาด ประกอบด้วยเซ็นเซอร์ หน่วยประมวลผล การจัดเก็บ ข้อมูล การควบคุมโดยซอฟต์แวร์ ระบบปฏิบัติการที่ฝังในตัว และ ส่วนติดต่อกับผู้ใช้ ส่วนประกอบการเชื่อมต่อ ประกอบด้วยพอร์ต เสาอากาศ และ โปรโตคอล ที่ช่วยให้การเชื่อมต่อแบบมีสายหรือไร้สายกับผลิตภัณฑ์
  • 11.
  • 12. การทางานของผลิตภัณฑ์ที่มีการเชื่อมต่อแบบฉลาด สามารถแบ่งออกเป็น สี่ส่วนคือ: การตรวจสอบ การควบคุม การเพิ่มประสิทธิภาพ และการ เป็นอิสระ การตรวจสอบ ที่ครอบคลุมของสภาวะการทางานของผลิตภัณฑ์และ สภาพแวดล้อมภายนอก ผ่านเซ็นเซอร์และแหล่งข้อมูลภายนอก การควบคุม ผ่านคาสั่งระยะไกลหรืออัลกอริทึมที่ถูกสร้างขึ้นในอุปกรณ์ หรืออาศัยคลาวด์ของผลิตภัณฑ์ การเพิ่มประสิทธิภาพ การตรวจสอบข้อมูล ควบคู่ไปกับความสามารถ ควบคุมการทางานของผลิตภัณฑ์ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพการทางานของ ผลิตภัณฑ์ ในหลายวิธีที่เป็นไปไม่ได้ก่อนหน้านี้ การเป็นอิสระ การตรวจสอบ การควบคุม และการเพิ่มประสิทธิภาพ รวมกัน ทาให้ผลิตภัณฑ์เชื่อมต่อแบบฉลาด ทางานบรรลุในระดับที่ก่อน หน้านี้ไม่สามารถบรรลุได้
  • 13.
  • 14. อานาจต่อรองของผู้ซื้อ สามารถเพิ่มอานาจซื้อ โดยผู้ซื้อเข้าใจถึง ประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์จริง และมีการเปรียบเทียบ การแข่งขันระหว่างคู่แข่ง มีศักยภาพที่จะเปลี่ยนการแข่งขัน ที่เปิด เวทีใหม่อย่างมากมาย สาหรับความแตกต่าง และการบริการ การคุกคามของผู้เข้าใหม่ อุปสรรคของการเริ่มต้นคือค่าใช้จ่ายสูงคงที่ ของการออกแบบผลิตภัณฑ์ที่ซับซ้อนมากขึ้น และโครงสร้างพื้นฐาน ด้านไอทีใหม่ที่มีหลายชั้น ภัยคุกคามของการทดแทน ความสามารถของผลิตภัณฑ์ ที่สามารถ ใช้ได้ในวงกว้างกว่าสินค้าทั่วไป อานาจต่อรองของผู้ส่งมอบ ส่งมอบคุณค่ามากขึ้น เมื่อเทียบกับ องค์ประกอบทางกายภาพ หรือแม้กระทั่งการแทนที่ด้วยซอฟแวร์เมื่อ เวลาผ่านไป
  • 15.
  • 16. ผลิตภัณฑ์ที่เชื่อมต่อแบบฉลาดกับโครงสร้างอุตสาหกรรม จะมี ความแตกต่างกัน แต่แนวโน้มบางอย่างที่ดูชัดเจน คืออุปสรรค ในการเข้ากันได้ กับข้อได้เปรียบของผู้เสนอตัวเป็นรายแรก จากการสะสมและการวิเคราะห์ข้อมูลการใช้งานของผลิตภัณฑ์ แสดงให้เห็นว่า อาจต้องมีการรวมตัวกัน บางส่วนของกลยุทธ์เหล่านี้อาจจะกลายเป็น "productless" นั่นคือ ระบบการเชื่อมต่อผลิตภัณฑ์ ที่ใช้ประโยชน์มากกว่าตัวของ ผลิตภัณฑ์เอง
  • 17.
  • 18.
  • 19. เพื่อการได้เปรียบในการแข่งขัน บริษัทจะต้องสามารถสร้างความ แตกต่าง และดาเนินการด้วยต้นทุนที่ต่ากว่าคู่แข่ง หรือทั้งสองอย่าง รากฐานการได้เปรียบในการแข่งขัน คือความมีประสิทธิภาพในการ ดาเนินงาน ที่ต้องปฏิบัติที่ดีที่สุดในห่วงโซ่มูลค่า รวมถึงเทคโนโลยีที่ ทันสมัย ของผลิตภัณฑ์ อุปกรณ์การผลิตใหม่ล่าสุด ศิลปะการขาย โซลูชั่นไอที และแนวทางการบริหารจัดการห่วงโซ่อุปทาน บริษัท ต้องกาหนดกลยุทธ์ในการวางตาแหน่งที่โดดเด่น (strategic positioning) ในขณะที่ประสิทธิภาพในการดาเนินงานที่ดี คือการวาง กลยุทธ์เกี่ยวกับการทาสิ่งที่แตกต่าง กลยุทธ์ต้องตัดสินใจไม่เพียงสิ่งที่จะทา แต่รวมถึงสิ่งที่ไม่ทา
  • 20. 10 ข้อคิดทางกลยุทธ์ 1. บริษัทควรติดตามชุดและคุณสมบัติใด ของผลิตภัณฑ์การ เชื่อมต่อแบบฉลาด? 2. วิธีการทางานควรจะฝังตัวอยู่ในผลิตภัณฑ์หรือในคลาวด์? 3. บริษัทควรติดตามระบบเปิดหรือปิด? 4. บริษัทควรพัฒนาชุดเต็มรูปแบบของผลิตภัณฑ์ หรือ มอบหมายให้ผู้ขายภายนอกและคู่ค้า? 5. บริษัทต้องใช้ข้อมูลอะไร ในการรักษาความปลอดภัยและ วิเคราะห์ เพื่อเพิ่มคุณค่าในการการเสนอขายของตน?
  • 21. 6. บริษัทมีความเป็นเจ้าของ และสามารถบริหารจัดการสิทธิ การเข้าถึงข้อมูลผลิตภัณฑ์ได้หรือไม่? 7. บริษัทควรมีช่องทางการจัดจาหน่ายเอง หรือใช้เครือข่าย บริการทั้งหมด หรือใช้บางส่วน? 8. บริษัทควรเปลี่ยนรูปแบบธุรกิจหรือไม่? 9. บริษัทควรมีธุรกิจใหม่โดยการสร้างรายได้จากการขายข้อมูล ผลิตภัณฑ์ให้แก่บุคคลภายนอกหรือไม่? 10. บริษัทควรขยายขอบเขตหรือไม่?
  • 22. 1. บริษัทควรติดตามชุดและคุณสมบัติใด ของผลิตภัณฑ์การ เชื่อมต่อแบบฉลาด? ประการแรก ต้องตัดสินใจว่า คุณสมบัติใดที่จะส่งมอบคุณค่าที่ แท้จริงให้กับลูกค้าเมื่อเทียบกับค่าใช้จ่าย ประการที่สอง คุณสมบัติหรือความสามารถจะแตกต่างกันตาม กลุ่มตลาด การเลือกคุณสมบัติของบริษัทจะขึ้นอยู่กับกลุ่มที่จะ ให้บริการ ประการที่สาม บริษัท ควรรวมความสามารถเหล่านั้น และเป็น คุณสมบัติที่เสริมสร้างการวางตาแหน่งการแข่งขัน
  • 23. 2. วิธีการทางานควรจะฝังตัวอยู่ในผลิตภัณฑ์หรือในคลาวด์? การตัดสินใจเลือกวิธีการทางานขึ้นกับ เวลาตอบสนอง การทางานแบบอัตโนมัติ ความพร้อมเครือข่าย ความน่าเชื่อถือ และการรักษาความ ปลอดภัย สถานที่ตั้งของการใช้ผลิตภัณฑ์ ลักษณะของการติดต่อกับผู้ใช้ ความถี่ของการบริการ หรือการอัพเกรดผลิตภัณฑ์
  • 24. 3. บริษัทควรติดตามระบบเปิดหรือปิด? วิธีการที่เป็นระบบปิด มีเป้าหมายที่จะให้ลูกค้าซื้อระบบการ เชื่อมต่อผลิตภัณฑ์ทั้งหมดจากผู้ผลิตเดียว ระบบเปิด ช่วยให้ลูกค้าปลายทาง สามารถประกอบชิ้นส่วนทั้ง ผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องและแพลตฟอร์ม ที่มีการผูกโยงระบบเข้า ด้วยกันจากบริษัทที่แตกต่างกันได้
  • 25. 4. บริษัทควรพัฒนาชุดเต็มรูปแบบของผลิตภัณฑ์ หรือมอบหมาย ให้ผู้ขายภายนอกและคู่ค้า? บริษัทจะต้องเลือกว่าระดับเทคโนโลยีใดใช้การพัฒนาภายใน และระดับเทคโนโลยีใดที่จะมอบหมายให้กับผู้ส่งมอบและคู่ค้า บริษัทจะต้องตัดสินใจว่า จะดาเนินการพัฒนาเองหรืออนุญาตให้ คู่ค้า เพื่อให้มีสิ่งที่ดีที่สุดในแต่ละระดับ จากการวิจัยแสดงให้เห็นว่า บริษัทที่ประสบความสาเร็จส่วนใหญ่ เลือกวิธีรวมกันของทั้งสองแบบ
  • 26. 5. บริษัทต้องใช้ข้อมูลอะไร ในการรักษาความปลอดภัยและ วิเคราะห์ เพื่อเพิ่มคุณค่าในการการเสนอขายของตน? ประเภทของข้อมูลที่บริษัทเลือกเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ ขึ้นอยู่ กับการวางตาแหน่งของตน หากกลยุทธ์ของบริษัทมุ่งเน้นประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์ หรือ การลดค่าใช้จ่ายในการบริการ ก็จะต้องจับข้อมูลที่เกิดขึ้นจริง สาหรับบริษัทที่แสวงหาความเป็นผู้นาในระบบผลิตภัณฑ์ ต้อง ลงทุนในการจับและวิเคราะห์ข้อมูลของผลิตภัณฑ์หลายหลาก มากขึ้น รวมถึงสภาพแวดล้อมภายนอก แม้ในผลิตภัณฑ์ที่บริษัท ไม่ได้ผลิตเอง
  • 27. 6. บริษัทมีความเป็นเจ้าของและสามารถบริหารจัดการสิทธิ การ เข้าถึงข้อมูลผลิตภัณฑ์ได้หรือไม่? ใครคือเจ้าของข้อมูลที่แท้จริง ผู้ผลิตอาจเป็นเจ้าของผลิตภัณฑ์ แต่ข้อมูลการใช้งานของผลิตภัณฑ์อาจเป็นลูกค้า บริษัทอาจจะติดตามข้อมูลผลิตภัณฑ์หรือแสวงหาความเป็น เจ้าของร่วมกัน นอกจากนี้ยังมีระดับต่างๆ ของสิทธิการใช้งาน รวมถึงเทคโนโลยี NDAs สิทธิในการใช้ข้อมูลร่วมกัน หรือสิทธิที่ จะขายมัน บริษัทจะต้องกาหนดวิธีการ เพื่อความโปร่งใสในการเก็บ รวบรวมข้อมูลและการใช้งาน
  • 28. 7. บริษัทควรมีช่องทางการจัดจาหน่ายเอง หรือใช้เครือข่ายบริการ ทั้งหมด หรือใช้บางส่วน? บริษัทอาจต้องการความสัมพันธ์กับลูกค้าโดยตรง ซึ่งสามารถ ช่วยลดความจาเป็นสาหรับพันธมิตรของช่องทางการจัดจาหน่าย บริษัทสามารถวินิจฉัยปัญหาประสิทธิภาพของผลิตภัณฑ์และ ความล้มเหลว และบางครั้งก็ทาให้การซ่อมแซมได้จากระยะไกล เป็นการลดการพึ่งพาคู่ค้าบริการ ทางเลือกของไม่ว่าจะมี หรือไม่มีคู่ค้าหรือบริการ ขึ้นอยู่กับชนิด ของเครือข่ายพันธมิตรที่บริษัทมีอยู่
  • 29. 8. บริษัทควรเปลี่ยนรูปแบบธุรกิจหรือไม่? ผู้ผลิตมีการเข้าถึงข้อมูลผลิตภัณฑ์ และสามารถคาดการณ์ความ ล้มเหลวรวมถึงการซ่อมแซม ที่ส่งผลกระทบต่อประสิทธิภาพของ ผลิตภัณฑ์ รูปแบบธุรกิจใหม่อาจต่างจากรูปแบบความเป็นเจ้าของแบบดั้งเดิม (ที่ผลประโยชน์ของลูกค้าได้จากประสิทธิภาพผลิตภัณฑ์) กลายเป็น ผู้ผลิตยังคงเป็นเจ้าของและรับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการดาเนินงาน ของผลิตภัณฑ์และบริการ เพื่อแลกกับค่าใช้จ่ายอย่างต่อเนื่อง โดยที่ ลูกค้าไม่ต้องชาระเงินล่วงหน้า ในการทากาไรของ รูปแบบผลิตภัณฑ์คือบริการ (product-as-a- service model) ขึ้นอยู่กับการกาหนดราคาและเงื่อนไขของสัญญา ซึ่งผู้ ซื้อที่มีอานาจต่อรอง
  • 30. 9. บริษัทควรมีธุรกิจใหม่โดยการสร้างรายได้จากการขายข้อมูล ผลิตภัณฑ์ให้แก่บุคคลภายนอกหรือไม่? ในการเลือกคุณค่าใหม่จากข้อมูลผลิตภัณฑ์ บริษัทต้องพิจารณา จากแนวโน้มการตอบสนองของลูกค้าหลัก ในขณะที่บางส่วนอาจไม่สนใจว่าข้อมูลของพวกเขาจะถูกใช้โดย คนอื่น ๆ บางคนอาจจะรู้สึกอย่างมากเกี่ยวกับข้อมูลความเป็น ส่วนตัวของเขา บริษัท จะต้องระบุกลไกในการให้ข้อมูลที่มีคุณค่าให้กับบุคคลอื่น โดยไม่ผลักไสลูกค้า ตัวอย่างเช่น บริษัท อาจจะไม่ขายข้อมูลของ ลูกค้าแต่ละราย แต่ต้องปิดบังรายชื่อ หรือเป็นข้อมูลโดยรวม
  • 31. 10. บริษัทควรขยายขอบเขตหรือไม่? บริษัทจะต้องระบุคุณค่าที่ชัดเจนให้ได้ก่อน การขยายขอบเขตของผลิตภัณฑ์จะเป็นที่น่าสนใจที่สุด ถ้ามี โอกาสปรับปรุงประสิทธิภาพการทางานที่สาคัญร่วมกับการ ออกแบบผลิตภัณฑ์ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของระบบ หรือหากการเพิ่มประสิทธิภาพไม่ได้ขึ้นกับการออกแบบ ผลิตภัณฑ์ อาจจะดีกว่าถ้าบริษัทเปิดโอกาสให้ผลิตภัณฑ์ที่ผลิต โดยคนอื่นได้มาเกี่ยวข้องด้วย การประสบความสาเร็จ ขึ้นกับระบบวิศวกรรมมากกว่าการ ออกแบบผลิตภัณฑ์
  • 32. การเป็นผู้นาระบบผลิตภัณฑ์ บริษัทจะต้องดาเนินการกับหมวดหมู่ สินค้าที่เกี่ยวข้อง มีการบูรณาการการออกแบบผลิตภัณฑ์อย่าง กว้างขวาง และพัฒนาขีดความสามารถทางเทคโนโลยีภายในที่ เข้มข้นมากขึ้น ในทางตรงกันข้าม บริษัทที่มุ่งเน้นในการเป็นส่วนหนึ่งของระบบ จะต้องเป็นที่ดีที่สุดในแง่ของคุณสมบัติ การทางาน และมีอินเตอร์ เฟซที่โปร่งใสและเปิด เพื่อให้ผลิตภัณฑ์ของตนที่สามารถบูรณาการ ได้อย่างง่ายดาย และกลายเป็นส่วนหนึ่งที่มีคุณค่ากับระบบของบริษัท และแพลตฟอร์มอื่น ท้ายที่สุด ความสาเร็จในการแข่งขันไม่ได้เกิดขึ้นโดยการเลียนแบบ คู่แข่ง แต่โดยการกาหนดคุณค่าที่โดดเด่นที่บริษัทสามารถบรรลุได้
  • 33. ผลิตภัณฑ์ที่มีการเชื่อมต่ออย่างฉลาด ได้เปลี่ยนแปลงวิธีการสร้าง คุณค่าให้กับลูกค้า วิธีการที่บริษัทแข่งขัน และขอบเขตของการ แข่งขัน การเปลี่ยนแปลงเหล่านี้จะส่งผลกระทบต่อแทบทุก อุตสาหกรรม ไม่ว่าโดยตรงหรือโดยอ้อม คลื่นลูกที่สามนี้ ไม่เพียงแต่จะปรับปรุงขั้นตอนการทางาน ความสามารถและประสิทธิภาพการทางานของผลิตภัณฑ์ แต่ยังช่วย เพิ่มความสามารถของเรา เพื่อตอบสนองธุรกิจและความต้องการของ มนุษย์จานวนมาก ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น มีความปลอดภัยและ เชื่อถือได้ สามารถใช้ประโยชน์อย่างเต็มที่ในการอนุรักษ์ทรัพยากร ทางธรรมชาติที่หายาก เช่นพลังงานน้าและวัตถุดิบ