SlideShare a Scribd company logo
ชื่อ - สกุล               รหัส           หนาที่
นางสาวจันทรแกว         แสงสุรินทร   533280009 - 9   presentation
นางสาวธิดารัตน          โสธรรมมงคล    533280028 - 5   report,prese
                                                         ntation
นางสาวปยะธิดา           นวลตา         533280037 - 4     report
นางสาวพิชญาพร            ฉายรัศมี      533280045 - 5   presentation
นางสาวมนฤดี              ทองกําพรา    533280052 - 8     research
นางสาววนิดา              สุแดงนอย     533280057 - 8   presentation
นางสาวสุกิตติยา          บุญหลาย       53533280074 -     Ppower
                                            8          point,report
นางสาวกนกวรรณ             ระวา        533280001 - 5     pPower
                                                          point
                                       533280040 - 5
การทดลองทีฮอรทอรน
               ่
(The Howthorn experiments)
ในระหวางป ค.ศ. 1924 – 1927 ฝายบริหารโรงงาน
Western Electric Company ตองการ
หาวิธีเพิ่มพนประสิทธิภาพการทํางานของคนในโรงงานและได
ทดลองใชหลักการตางๆทั้งทางวิทยาศาสตร และ การจัดการแต
ยังไมเปนผลสําเร็จ ตอมาทางบริษัทจึงไดเชิญนักวิชาการจาก
คณะบริหารธุรกิจแหงมหาวิทยาลัย
ฮารวาดมาวิจัยหาคําตอบวาอะไรที่เปนปจจัยกําหนดผลผลิต
สูงสุดขององคกร
ประวัติการทํางานของ (George Elton Mayo)
Elton Mayo
เคยเรียนแพทย แตหันมาสนใจจิตวิทยา ปรัชญา และชีวเคมี
  ตอมาไดรับตําแหนงผูอํานวยการโครงการวิจัยโรงงาน
  Western Electric Company ทีมหาวิทยาลัย      ่
  ฮาวารด
Elton Mayo
เปนบุคคลสําคัญตอการพัฒนาแนวคิดการจัดการ
เชิงพฤติกรรมศาสตร และการศึกษาที่ฮอวธอรนของเมโย
จัดไดวาเปนการศึกษาที่มีอิทธิพลและวางรากฐาน
การศึกษาพฤติกรรมของมนุษยในเวลาตอมา การศึกษานี้
มีวัตถุประสงคเริ่มแรกเพียงเพื่อหาความสัมพันธระหวาง
ระดับของแสงสวางในสถานที่ทํางานกับผลผลิตของ
คนงาน
• แบงคนงาน 3 แผนกใหระดับแสงไฟแตกตางกันแผนกแรก
  เพิ่มแสงขึ้น แผนกที่ 2 ลดแสงลง แผนกที่ 3 ทําทั้งสองแบบ
  ผล ระดับแสงไมสัมพันธกับผลผลิต
• แบงคน 2 กลุม คือ กลุมทดลองกับกลุมควบคุม กลุมควบคุม
  ใหระดับแสงไฟคงที่ กลุมทดลองปรับระดับความสวาง 3
  ระดับ ผล ผลิตเพิ่มขึ้นในระดับคลายคลึงกัน
• 2 กลุมเดิมเพิ่มขอจํากัดไมใหมีแสงธรรมชาติ กลุมควบคุมให
  เพิ่มแสงเทียน กลุมทดลองคอยลดแสงเทียนลง ผล
  ประสิทธิภาพเทาเดิม
• ใหอาสาสมัครหญิง 2 คน คอยๆลดแสงไฟลงเหลือเทา
     สรุป ระดับาแสงไฟที่เพิ่มเขึ้นงตา อลดลง
  แสงจันทร ผล ทํ งานไดปกติ ไม คือ หรืหรือแสดงความ
  เหนื่อยลีผลตอประสิทธิภาพและการทํางาน
     ไมมา
     ของคนงาน
• ทดลองกับคนงานหญิง ตอนแรกใหแสงเพิ่มขึ้นทุกวัน
  ตอมาใหชางมาเปลี่ยนหลอดบอกวาแสงสวางเพิ่มขึ้นแต
  ความจริงเทาเดิม ผล คนงานบอกวาชอบแสงที่สวางขึ้น
(ใชระยะเวลา 26 เดือน)

ขั้นตอนแรก เลือกประเภทงานที่เปนผลผลิตของคนมากกวาเครืองจักร
                                                       ่
ขั้นตอนที่สอง แบงขั้นตอนการทดลองออกเปน 13 ขั้นตอน ดังนี้

ขั้นที่ 1 คนงานหญิง 6 คนมาประกอบชิ้นสวนในหองทดลอง โดยแอบ
    บันทึกผลการทํางานกอนหนานี้ไว
ขั้นที่ 2 ปลอยใหทํางานนาน 5 อาทิตย
ขั้นที่ 3 จัดระบบใหคาจางใหมสําหรับคนงานหญิงทั้ง 6 คนนี้
ขั้นที่ 4- 6 ใหหญิงทั้ง 6 มีเวลาในการพักผอน
ขั้นที่ 7 เลี้ยงน้ําชาในระหวางพักเชา / บาย
ขั้นที่ 8- 9 ลดระยะเวลาการทํางานตอวันลง
ขั้นที่ 10 ยอนกลับไปขั้น 7 ใหม
ขั้นที่ 11 ใหหยุดงานวันเสาร
ขั้นที่ 12 ยอนกลับไปขั้น 1- 3 ใหม
ขั้นที่ 13 ยอนกลับไปขั้น 7-10 ใหม
ผลการทดลองการศึกษาสภาพหองทํางาน
• นักวิจัยยังไมแนใจวาผลผลิตอาจสืบเนื่องมาจากการ
  ที่คนงานหญิง 6 คน นั้นไดใชระบบการให
  คาตอบแทนระบบพิเศษ
• นักวิจัยลงความเห็นวาสาเหตุที่ผลผลิตของคนงาน
  หญิงสูงขึ้นสืบเนื่องมาจากปจจัยทางสังคมและ
  จิตวิทยา
• เห็นความสําคัญของทัศนคติ เบื่องานที่จําเจ พอไดมา
  ทดลองก็เพิ่มความสนใจในงานมากขึ้น
ศึกษาจากคนงานจํานวน 16,000 คน ของโรงงาน
Western Electric Company โดย
เทคนิคการสัมภาษณ ทําใหทราบวาโครงสรางองคการ
แบบไมเปนทางการมีบทบาทและทําหนาที่เปนกลไก
ทางสังคม ตอการเรียนรูและการทํางานของคนงาน
รวมถึงมีบทบาทเปนตัวกําหนดคุณภาพของผลงานของ
คนงาน
• การสังเกต แยกผูทดลองออกจากหองทํางานเดิม 14 คน มี
  นักวิจัยสังเกตอยูดวยเพื่อวิเคราะหกลุมไมเปนทางการ ฝาย
  บริหารกําหนดมาตรฐานวาควรผลิตเทาไร ถาผลิตไดสูง
  กวาใหเปนเปอรเซ็นตสวนเพิ่มที่เทากันทุกคน คือทํางาน
  ไดมากไดคาตอบแทนมาก ผลที่ไดก็คือ ผูทดลองกําหนด
  กันเองวาใครที่ทํางานนอยจะถูกเตือน การศึกษาโดยการ
  สังเกตครั้งนี้ ชวยใหไดขอมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ
  ระหวางบุคคลมาก
การแนะนําตัวเปนการสวนตัว สงเสริมความสัมพันธ
  ฝายบริหารกับพนักงาน
   ทําใหเกิดผูแนะนําใหคําปรึกษาแกพนักงานใน
 องค
แนวความคิดของทฤษฎีของ Elton Mayo
1. ขอตกลงเบื้องตนในการทํางาน คนงานที่สามารถปรับตัว
  เขากับกฎเกณฑอยางไมเปนทางการของกลุมคน งาน
  ดวยกัน จะมีความสบายใจและเพิ่มผลผลิต มากกวา
  คนงานที่ไมพยายามปฏิบัติหรือปรับตัวเขากับกฎเกณฑที่
  กลุมปฏิบัติ กัน กฎเกณฑเหลานี้ตกลงกันเองและยึดถือกัน
  ภายในกลุม และยังผลใหคนงานมีความรูสึกวาตนเปน
  สวน หนึ่งของกลุม
แนวความคิดของทฤษฎีของ Elton Mayo(ตอ)
2. กลุมพฤติกรรมของกลุมมีอิทธิพลจูง ใจและสามารถเปลี่ยน
 พฤติกรรมของแตละบุคคลได และกลุมยอมมีอํานาจตอรอง
 กับฝายบริหารโดยอาจจะเพิ่มผลผลิตหรือลดผลผลิตก็ ได
3. การใหรางวัลและการลงโทษ ของสังคมในหมูคนงาน
 ดวยกัน เชน การใหความเห็นอกเห็นใจของกลุมแตละบุคคล
 การใหความนับถือและความจงรักภักดีตอกลุม และกลุมตอ
 แตละบุคคล มีอิทธิพลตอคนงานมากกวาการที่ฝาย บริหารจะ
 ใหรางวัลเปนตัวเงินตอคนงานเหลานี้
แนวความคิดของทฤษฎีของ Elton Mayo(ตอ)
4. การควบคุมบังคับบัญชา การบังคับบัญชาจะมีประสิทธิภาพ
 มากที่สุด ถาฝายบริหารปรึกษากลุมและหัวหนาของกลุมที่
 ปฏิบัติงานใหบรรลุ เปาหมายใหผูบังคับบัญชาเปนคนที่นารัก
 เปนนักฟงที่ดี เปนมนุษยไมใชเปนนาย ตองใหขอคิดแลวให
 คนงานตัดสินใจ อยาเปนผูตัดสินใจปญหาเสียเอง ใหโอกาส
 คนงานเขามามีสวนรวมในการแก ปญหา เปนหนทางที่ดีที่สุด
 ที่จะไดมาซึ่งการควบคุมบังคับบัญชาที่มีประสิทธิภาพ
แนวความคิดของทฤษฎีของ Elton Mayo(ตอ)

5. การบริหารแบบประชาธิปไตย พนักงาน ทํางานได
  ผลงานดีมาก ถาเขาไดจัดการงานที่เขารับผิดชอบเอง โดย
  มีการควบคุมนอยที่สุดจากผูบริหาร หลังจากที่ไดมีการ
  ปรึกษารวมกันแลว
จุดเดน                                    จุดดอย
- เนนเรื่องความสัมพันธภายใน        -   การทดลองเปนการสุมกลุมผูทดลองจํานวนนอย
                                     -   เนนเรื่องมนุษยสัมพันธการประสานงานกลมเกลียว
  กลุมมากกวาปจจัยทีจุ่จดะไดรับ
                           เดน                     จุดดอย
                                         ภายในองคกรเพียงอยางเดียวมิไดพิจารณา
- ทําใหผูบริหารและลูกนองมี            ความรูสึก
  ความสัมพันธที่ดีตอกันและมีการ    -   การสั่งการจากผูบริหารไมไดเปนการสั่งการโดยตรง
                                         แตการสั่งการจะเกิดจากหัวหนากลุมที่ไมเปน
  แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน               ทางการซึ่งจะสงผลใหคนบางกลุมมีอํานาจมากขึ้น
- ผูบริหารเห็นความสําคัญของ             และสงผลตอการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของผลผลิต
  พนักงานมากขึ้นโดยเนนที่           -   การจูงใจโดยไมมีขอบเขตเพื่อใหคนงานมีขวัญและ
                                         กําลังใจสูงนั้นเปนวิธีที่ผิดและจะไมกอใหเกิด
  ความสัมพันธของคนในองคกร              ผลผลิตที่สูงขึ้นเสมอไปบางครั้งการเลือกวิธีการ
                                         ควบคุมที่เหมาะสมและความจําเปนที่จะตองมี
                                         ระเบียบวินัย
กาสราง      สรางความสัมพันธ   ความสัมพันธ
ความสัมพันธ         ระหวาง       ระหวางเพื่อน
ระหวางบุคคล     ผูบังคับบัญชา      รวมงาน
• การศึกษาเกี่ยวกับการจูงใจและความพอใจในงานที่
  ฮอวธอรนสามารถนําไปปรับใชในการบริหารรัฐกิจคือ
  การแบงงานตามลักษณะเฉพาะทางไมมีประสิทธิภาพ
  สูงสุดเสมอไป ควรมีการทํางานเปนกลุมใหทุกคนมีสวน
  รวมในการบริหาร และควรมีรางวัลทางจิตใจ เพื่อเปน
  ตัวกระตุนตอการทํางานและความสุขใจในการทํางาน
  มากกวารางวัลทางเศรษฐทรัพย
สรุปผลการศึกษา Hawthorne
1. ปจจัยทางสังคม เปนตัวกําหนดปริมาณผลผลิต ไมใช
  ปจจัยดานกายภาพ
2. ความคิดที่วาคนเห็นแกตัว ตองการเงินคาตอบแทน
  มากๆเปนการมองแคบๆ
3. พฤติกรรมของคนงานถูกกําหนดโดยความสัมพันธ
  ภายในกลุม
4. สนับสนุนใหมีการทําวิจัยดานผูนําตางๆ ผูนําไดเปด
  โอกาสใหคนในองคการเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจ
คําถาม
๑ . การทดลองที่ฮอรธอรนไดเนนในเรื่องใด ระหวาง ?
             1. เนนการใชเงินเปนสิ่งจูงใจ
             2. เนนเรื่องจิตใจเปนตัวกระตนในการทํางาน
        ตอบ 2. เนนเรื่องจิตใจเปน
 ๒. เจาของแนวคิดการศึกษาที่ ฮอรธอรน คือใคร ?
          ตัวกระตุนในการทํางาน

              ตอบ Elton Mayo

More Related Content

What's hot

ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์wiraja
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2krupornpana55
 
สารปรอท แหล่งกำเนิด และสถานการณ์ปัญหา
สารปรอท แหล่งกำเนิด และสถานการณ์ปัญหาสารปรอท แหล่งกำเนิด และสถานการณ์ปัญหา
สารปรอท แหล่งกำเนิด และสถานการณ์ปัญหา
csip.org > slide ความปลอดภัยในเด็ก
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
somdetpittayakom school
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)Yingjira Panomai
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
KruBeeKa
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
KruKaiNui
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
Saipanya school
 
4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร
Nitinop Tongwassanasong
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
Proud N. Boonrak
 
เรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษเรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษ
พัน พัน
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์Pazalulla Ing Chelsea
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดBio Beau
 
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
Sireetorn Buanak
 
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทยศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
Surin Keawkerd
 
กรด เบส 8
กรด เบส 8กรด เบส 8
กรด เบส 8
Saipanya school
 

What's hot (20)

ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร์
 
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
แนวทางการดำเนินงานโรงเรียนมาตรฐานสากล2
 
สารปรอท แหล่งกำเนิด และสถานการณ์ปัญหา
สารปรอท แหล่งกำเนิด และสถานการณ์ปัญหาสารปรอท แหล่งกำเนิด และสถานการณ์ปัญหา
สารปรอท แหล่งกำเนิด และสถานการณ์ปัญหา
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)การบริหาร(เอาจริง)
การบริหาร(เอาจริง)
 
02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย02 เครื่องมือในการวิจัย
02 เครื่องมือในการวิจัย
 
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บทตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
ตัวอย่างการนำเสนอโครงร่างวิจัย 3 บท
 
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
แผ่นพับโครงงานการงานอาชีพ 1
 
พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร4 การทบทวนเอกสาร
4 การทบทวนเอกสาร
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 
เรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษเรื่องภาวะมลพิษ
เรื่องภาวะมลพิษ
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
ใบงานหน่วยที่ 4 สหกรณ์
 
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูดโครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
โครงงานวิทยาศาสตร์แชมพูสระผมมะกรูด
 
ใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือใบงาน อเมริกาเหนือ
ใบงาน อเมริกาเหนือ
 
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
เทคนิคการบริหารทรัพยากรมนุษย์ทางการศึกษา(Eductaional Administraion )
 
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทยศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
ศาสนากับการสร้างสรรค์งานดนตรีไทย
 
กรด เบส 8
กรด เบส 8กรด เบส 8
กรด เบส 8
 

Viewers also liked

ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวายทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวายwiraja
 
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การwanna2728
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหาร
Prapaporn Boonplord
 
แรงจูงใจ
แรงจูงใจแรงจูงใจ
แรงจูงใจarisara
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการSaiiew
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behaviortltutortutor
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Nittaya Intarat
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
Napin Yeamprayunsawasd
 
Hawthorne experiments
Hawthorne experimentsHawthorne experiments
Hawthorne experiments
Navin Elias
 

Viewers also liked (10)

ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวายทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
ทฤษฎีเอ๊กซ์และทฤษฎีวาย
 
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การChapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
Chapter 3 พฤติกรรมศาสตร์กับการพัฒนาองค์การ
 
ทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหารทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎีทางการบริหาร
 
แรงจูงใจ
แรงจูงใจแรงจูงใจ
แรงจูงใจ
 
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการบทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
บทที่ 1 ความหมายของการบริหารราชการ
 
Chapter(1)
Chapter(1)Chapter(1)
Chapter(1)
 
Organization Behavior
Organization BehaviorOrganization Behavior
Organization Behavior
 
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการCh1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
Ch1 แนวคิดเกี่ยวกับการจัดการ
 
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการบทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
บทที่ 2 พัฒนาการของแนวคิดและทฤษฎีการจัดการ
 
Hawthorne experiments
Hawthorne experimentsHawthorne experiments
Hawthorne experiments
 

Similar to การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น

4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
Pakjira Prlopburi
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
Phakawat Owat
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์Permtrakul Khammoon
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..Areerat Robkob
 
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
Pattie Pattie
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
Prapaporn Boonplord
 
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้การงานฯ
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้การงานฯสาระและมาตรฐานการเรียนรู้การงานฯ
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้การงานฯ
ณัฐพล บัวพันธ์
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124guest417609
 
ผู้บริหารที่ดี.......
ผู้บริหารที่ดี.......ผู้บริหารที่ดี.......
ผู้บริหารที่ดี.......
Chalermpon Dondee
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ya035
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์NusaiMath
 
ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์sanniah029
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์NusaiMath
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์NusaiMath
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ya035
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ya035
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_makusoh026
 
ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์sanniah029
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นPongtong Kannacham
 

Similar to การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น (20)

4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี4 ปี สุเมธี
4 ปี สุเมธี
 
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วมการบริหารแบบมีส่วนร่วม
การบริหารแบบมีส่วนร่วม
 
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
โครงร่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..องค์กร+Pr..
องค์กร+Pr..
 
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศสรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
สรุปการประชุม AAR การเข้าร่วมงาน HA National Forum ครั้งที่ 24 จาก กสศ
 
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
คุณธรรม จริยธรรม ผู้บริหาร 1
 
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้การงานฯ
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้การงานฯสาระและมาตรฐานการเรียนรู้การงานฯ
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้การงานฯ
 
Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124Ppt Charuaypon 124
Ppt Charuaypon 124
 
ผู้บริหารที่ดี.......
ผู้บริหารที่ดี.......ผู้บริหารที่ดี.......
ผู้บริหารที่ดี.......
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
 
ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
 
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์ทฤษฎีของธอร์นไดค์
ทฤษฎีของธอร์นไดค์
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_ทฤษฎ ของธอร นไดค_
ทฤษฎ ของธอร นไดค_
 
ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์ธอร์นไดร์
ธอร์นไดร์
 
การทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้นการทำโครงงาน 5 ขั้น
การทำโครงงาน 5 ขั้น
 

More from wiraja

เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
wiraja
 
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
wiraja
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theorieswiraja
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบwiraja
 
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยาทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยาwiraja
 
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์wiraja
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการwiraja
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization
wiraja
 
Population and Ethnic Groups in China
Population and Ethnic Groups in ChinaPopulation and Ethnic Groups in China
Population and Ethnic Groups in China
wiraja
 
Introduction to Chinese Naming
Introduction to Chinese NamingIntroduction to Chinese Naming
Introduction to Chinese Naming
wiraja
 

More from wiraja (10)

เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
 
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
เทศกาลฤดูใบไม้ผลิ (ตรุษจีน)
 
002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories002191 Chapter 3 Organizational Theories
002191 Chapter 3 Organizational Theories
 
ทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบทฤษฎีระบบ
ทฤษฎีระบบ
 
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยาทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
ทฤษฎีปัจจัยจูงใจและสุขวิทยา
 
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
ทฤษฎีลำดับความต้องการของมนุษย์
 
ทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการทฤษฎีระบบราชการ
ทฤษฎีระบบราชการ
 
002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization002191Chapter 3 Organization
002191Chapter 3 Organization
 
Population and Ethnic Groups in China
Population and Ethnic Groups in ChinaPopulation and Ethnic Groups in China
Population and Ethnic Groups in China
 
Introduction to Chinese Naming
Introduction to Chinese NamingIntroduction to Chinese Naming
Introduction to Chinese Naming
 

การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น

  • 1. ชื่อ - สกุล รหัส หนาที่ นางสาวจันทรแกว แสงสุรินทร 533280009 - 9 presentation นางสาวธิดารัตน โสธรรมมงคล 533280028 - 5 report,prese ntation นางสาวปยะธิดา นวลตา 533280037 - 4 report นางสาวพิชญาพร ฉายรัศมี 533280045 - 5 presentation นางสาวมนฤดี ทองกําพรา 533280052 - 8 research นางสาววนิดา สุแดงนอย 533280057 - 8 presentation นางสาวสุกิตติยา บุญหลาย 53533280074 - Ppower 8 point,report นางสาวกนกวรรณ ระวา 533280001 - 5 pPower point 533280040 - 5
  • 3. ในระหวางป ค.ศ. 1924 – 1927 ฝายบริหารโรงงาน Western Electric Company ตองการ หาวิธีเพิ่มพนประสิทธิภาพการทํางานของคนในโรงงานและได ทดลองใชหลักการตางๆทั้งทางวิทยาศาสตร และ การจัดการแต ยังไมเปนผลสําเร็จ ตอมาทางบริษัทจึงไดเชิญนักวิชาการจาก คณะบริหารธุรกิจแหงมหาวิทยาลัย ฮารวาดมาวิจัยหาคําตอบวาอะไรที่เปนปจจัยกําหนดผลผลิต สูงสุดขององคกร
  • 4. ประวัติการทํางานของ (George Elton Mayo) Elton Mayo เคยเรียนแพทย แตหันมาสนใจจิตวิทยา ปรัชญา และชีวเคมี ตอมาไดรับตําแหนงผูอํานวยการโครงการวิจัยโรงงาน Western Electric Company ทีมหาวิทยาลัย ่ ฮาวารด
  • 5. Elton Mayo เปนบุคคลสําคัญตอการพัฒนาแนวคิดการจัดการ เชิงพฤติกรรมศาสตร และการศึกษาที่ฮอวธอรนของเมโย จัดไดวาเปนการศึกษาที่มีอิทธิพลและวางรากฐาน การศึกษาพฤติกรรมของมนุษยในเวลาตอมา การศึกษานี้ มีวัตถุประสงคเริ่มแรกเพียงเพื่อหาความสัมพันธระหวาง ระดับของแสงสวางในสถานที่ทํางานกับผลผลิตของ คนงาน
  • 6.
  • 7. • แบงคนงาน 3 แผนกใหระดับแสงไฟแตกตางกันแผนกแรก เพิ่มแสงขึ้น แผนกที่ 2 ลดแสงลง แผนกที่ 3 ทําทั้งสองแบบ ผล ระดับแสงไมสัมพันธกับผลผลิต • แบงคน 2 กลุม คือ กลุมทดลองกับกลุมควบคุม กลุมควบคุม ใหระดับแสงไฟคงที่ กลุมทดลองปรับระดับความสวาง 3 ระดับ ผล ผลิตเพิ่มขึ้นในระดับคลายคลึงกัน • 2 กลุมเดิมเพิ่มขอจํากัดไมใหมีแสงธรรมชาติ กลุมควบคุมให เพิ่มแสงเทียน กลุมทดลองคอยลดแสงเทียนลง ผล ประสิทธิภาพเทาเดิม
  • 8. • ใหอาสาสมัครหญิง 2 คน คอยๆลดแสงไฟลงเหลือเทา สรุป ระดับาแสงไฟที่เพิ่มเขึ้นงตา อลดลง แสงจันทร ผล ทํ งานไดปกติ ไม คือ หรืหรือแสดงความ เหนื่อยลีผลตอประสิทธิภาพและการทํางาน ไมมา ของคนงาน • ทดลองกับคนงานหญิง ตอนแรกใหแสงเพิ่มขึ้นทุกวัน ตอมาใหชางมาเปลี่ยนหลอดบอกวาแสงสวางเพิ่มขึ้นแต ความจริงเทาเดิม ผล คนงานบอกวาชอบแสงที่สวางขึ้น
  • 9. (ใชระยะเวลา 26 เดือน) ขั้นตอนแรก เลือกประเภทงานที่เปนผลผลิตของคนมากกวาเครืองจักร ่ ขั้นตอนที่สอง แบงขั้นตอนการทดลองออกเปน 13 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นที่ 1 คนงานหญิง 6 คนมาประกอบชิ้นสวนในหองทดลอง โดยแอบ บันทึกผลการทํางานกอนหนานี้ไว ขั้นที่ 2 ปลอยใหทํางานนาน 5 อาทิตย ขั้นที่ 3 จัดระบบใหคาจางใหมสําหรับคนงานหญิงทั้ง 6 คนนี้
  • 10. ขั้นที่ 4- 6 ใหหญิงทั้ง 6 มีเวลาในการพักผอน ขั้นที่ 7 เลี้ยงน้ําชาในระหวางพักเชา / บาย ขั้นที่ 8- 9 ลดระยะเวลาการทํางานตอวันลง ขั้นที่ 10 ยอนกลับไปขั้น 7 ใหม ขั้นที่ 11 ใหหยุดงานวันเสาร ขั้นที่ 12 ยอนกลับไปขั้น 1- 3 ใหม ขั้นที่ 13 ยอนกลับไปขั้น 7-10 ใหม
  • 11. ผลการทดลองการศึกษาสภาพหองทํางาน • นักวิจัยยังไมแนใจวาผลผลิตอาจสืบเนื่องมาจากการ ที่คนงานหญิง 6 คน นั้นไดใชระบบการให คาตอบแทนระบบพิเศษ • นักวิจัยลงความเห็นวาสาเหตุที่ผลผลิตของคนงาน หญิงสูงขึ้นสืบเนื่องมาจากปจจัยทางสังคมและ จิตวิทยา • เห็นความสําคัญของทัศนคติ เบื่องานที่จําเจ พอไดมา ทดลองก็เพิ่มความสนใจในงานมากขึ้น
  • 12. ศึกษาจากคนงานจํานวน 16,000 คน ของโรงงาน Western Electric Company โดย เทคนิคการสัมภาษณ ทําใหทราบวาโครงสรางองคการ แบบไมเปนทางการมีบทบาทและทําหนาที่เปนกลไก ทางสังคม ตอการเรียนรูและการทํางานของคนงาน รวมถึงมีบทบาทเปนตัวกําหนดคุณภาพของผลงานของ คนงาน
  • 13. • การสังเกต แยกผูทดลองออกจากหองทํางานเดิม 14 คน มี นักวิจัยสังเกตอยูดวยเพื่อวิเคราะหกลุมไมเปนทางการ ฝาย บริหารกําหนดมาตรฐานวาควรผลิตเทาไร ถาผลิตไดสูง กวาใหเปนเปอรเซ็นตสวนเพิ่มที่เทากันทุกคน คือทํางาน ไดมากไดคาตอบแทนมาก ผลที่ไดก็คือ ผูทดลองกําหนด กันเองวาใครที่ทํางานนอยจะถูกเตือน การศึกษาโดยการ สังเกตครั้งนี้ ชวยใหไดขอมูลเกี่ยวกับความสัมพันธ ระหวางบุคคลมาก
  • 14. การแนะนําตัวเปนการสวนตัว สงเสริมความสัมพันธ ฝายบริหารกับพนักงาน ทําใหเกิดผูแนะนําใหคําปรึกษาแกพนักงานใน องค
  • 15. แนวความคิดของทฤษฎีของ Elton Mayo 1. ขอตกลงเบื้องตนในการทํางาน คนงานที่สามารถปรับตัว เขากับกฎเกณฑอยางไมเปนทางการของกลุมคน งาน ดวยกัน จะมีความสบายใจและเพิ่มผลผลิต มากกวา คนงานที่ไมพยายามปฏิบัติหรือปรับตัวเขากับกฎเกณฑที่ กลุมปฏิบัติ กัน กฎเกณฑเหลานี้ตกลงกันเองและยึดถือกัน ภายในกลุม และยังผลใหคนงานมีความรูสึกวาตนเปน สวน หนึ่งของกลุม
  • 16. แนวความคิดของทฤษฎีของ Elton Mayo(ตอ) 2. กลุมพฤติกรรมของกลุมมีอิทธิพลจูง ใจและสามารถเปลี่ยน พฤติกรรมของแตละบุคคลได และกลุมยอมมีอํานาจตอรอง กับฝายบริหารโดยอาจจะเพิ่มผลผลิตหรือลดผลผลิตก็ ได 3. การใหรางวัลและการลงโทษ ของสังคมในหมูคนงาน ดวยกัน เชน การใหความเห็นอกเห็นใจของกลุมแตละบุคคล การใหความนับถือและความจงรักภักดีตอกลุม และกลุมตอ แตละบุคคล มีอิทธิพลตอคนงานมากกวาการที่ฝาย บริหารจะ ใหรางวัลเปนตัวเงินตอคนงานเหลานี้
  • 17. แนวความคิดของทฤษฎีของ Elton Mayo(ตอ) 4. การควบคุมบังคับบัญชา การบังคับบัญชาจะมีประสิทธิภาพ มากที่สุด ถาฝายบริหารปรึกษากลุมและหัวหนาของกลุมที่ ปฏิบัติงานใหบรรลุ เปาหมายใหผูบังคับบัญชาเปนคนที่นารัก เปนนักฟงที่ดี เปนมนุษยไมใชเปนนาย ตองใหขอคิดแลวให คนงานตัดสินใจ อยาเปนผูตัดสินใจปญหาเสียเอง ใหโอกาส คนงานเขามามีสวนรวมในการแก ปญหา เปนหนทางที่ดีที่สุด ที่จะไดมาซึ่งการควบคุมบังคับบัญชาที่มีประสิทธิภาพ
  • 18. แนวความคิดของทฤษฎีของ Elton Mayo(ตอ) 5. การบริหารแบบประชาธิปไตย พนักงาน ทํางานได ผลงานดีมาก ถาเขาไดจัดการงานที่เขารับผิดชอบเอง โดย มีการควบคุมนอยที่สุดจากผูบริหาร หลังจากที่ไดมีการ ปรึกษารวมกันแลว
  • 19. จุดเดน จุดดอย - เนนเรื่องความสัมพันธภายใน - การทดลองเปนการสุมกลุมผูทดลองจํานวนนอย - เนนเรื่องมนุษยสัมพันธการประสานงานกลมเกลียว กลุมมากกวาปจจัยทีจุ่จดะไดรับ เดน จุดดอย ภายในองคกรเพียงอยางเดียวมิไดพิจารณา - ทําใหผูบริหารและลูกนองมี ความรูสึก ความสัมพันธที่ดีตอกันและมีการ - การสั่งการจากผูบริหารไมไดเปนการสั่งการโดยตรง แตการสั่งการจะเกิดจากหัวหนากลุมที่ไมเปน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นกัน ทางการซึ่งจะสงผลใหคนบางกลุมมีอํานาจมากขึ้น - ผูบริหารเห็นความสําคัญของ และสงผลตอการเพิ่มขึ้นหรือลดลงของผลผลิต พนักงานมากขึ้นโดยเนนที่ - การจูงใจโดยไมมีขอบเขตเพื่อใหคนงานมีขวัญและ กําลังใจสูงนั้นเปนวิธีที่ผิดและจะไมกอใหเกิด ความสัมพันธของคนในองคกร ผลผลิตที่สูงขึ้นเสมอไปบางครั้งการเลือกวิธีการ ควบคุมที่เหมาะสมและความจําเปนที่จะตองมี ระเบียบวินัย
  • 20. กาสราง สรางความสัมพันธ ความสัมพันธ ความสัมพันธ ระหวาง ระหวางเพื่อน ระหวางบุคคล ผูบังคับบัญชา รวมงาน
  • 21. • การศึกษาเกี่ยวกับการจูงใจและความพอใจในงานที่ ฮอวธอรนสามารถนําไปปรับใชในการบริหารรัฐกิจคือ การแบงงานตามลักษณะเฉพาะทางไมมีประสิทธิภาพ สูงสุดเสมอไป ควรมีการทํางานเปนกลุมใหทุกคนมีสวน รวมในการบริหาร และควรมีรางวัลทางจิตใจ เพื่อเปน ตัวกระตุนตอการทํางานและความสุขใจในการทํางาน มากกวารางวัลทางเศรษฐทรัพย
  • 22. สรุปผลการศึกษา Hawthorne 1. ปจจัยทางสังคม เปนตัวกําหนดปริมาณผลผลิต ไมใช ปจจัยดานกายภาพ 2. ความคิดที่วาคนเห็นแกตัว ตองการเงินคาตอบแทน มากๆเปนการมองแคบๆ 3. พฤติกรรมของคนงานถูกกําหนดโดยความสัมพันธ ภายในกลุม 4. สนับสนุนใหมีการทําวิจัยดานผูนําตางๆ ผูนําไดเปด โอกาสใหคนในองคการเขามามีสวนรวมในการตัดสินใจ
  • 23. คําถาม ๑ . การทดลองที่ฮอรธอรนไดเนนในเรื่องใด ระหวาง ? 1. เนนการใชเงินเปนสิ่งจูงใจ 2. เนนเรื่องจิตใจเปนตัวกระตนในการทํางาน ตอบ 2. เนนเรื่องจิตใจเปน ๒. เจาของแนวคิดการศึกษาที่ ฮอรธอรน คือใคร ? ตัวกระตุนในการทํางาน ตอบ Elton Mayo