SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
1
บทที่ 1 ภาวะมลพิษ
1.1 ภาวะมลพิษคืออะไร
ภาวะมลพิษคือ สภาวะที่สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงหรือปนเปื้อนโดยมลพิษซึ่งทาให้คุณภาพของ
สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมลง เช่น มลพิษทางน้า มลพิษทางอากาศ มลพิษในดิน (พรบ.ส่งเสริมและรักษา
คุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535) ทั่วไปหมายถึงการมีสารในสิ่งแวดล้อมที่มีคุณสมบัติทางเคมี หรือใน
ปริมาณที่ป้องกันการทาหน้าที่โดยธรรมชาติและทาให้สิ่งแวดล้อมไม่เป็นที่พึงปรารถนาและมีผลกระทบต่อ
สุขภาพ ภายใต้กฎหมายน้าสะอาดตัวอย่างคือ ในความหมายที่เป็นมนุษย์เป็นผู้ทาหรือนาให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ชีวภาพ เคมี และกัมมันตรังสีในน้าหรือตัวกลางอื่นๆ
1.2 มลพิษคืออะไร
มลพิษคือ ของเสีย วัตถุอันตราย และมลสารอื่นๆ รวมทั้งกากตะกอนหรือสิ่งตกค้างจากสิ่งเหล่านั้น
ที่ถูกปล่อยจากแหล่งกาเนิดมลพิษ หรือที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ ซึ่งก่อให้เกิดหรืออาจก่อให้เกิด
ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หรือภาวะที่เป็นพิษภัยอันตรายต่อสุขภาพของประชาชนได้ และให้หมายความ
รวมถึง รังสี ความร้อน แสง เสียง ความสั่นสะเทือน หรือเหตุราคาญอื่นๆ ที่เกิดหรือถูกปล่อยออกจาก
แหล่งกาเนิดมลพิษด้วย (พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535)
1.3 ประเภทของมลพิษ
มลพิษสามารถแยกได้หลายประเภท ได้แก่
1.มลพิษทางน้า
2.มลพิษทางอากาศ
3.มลพิษทางขยะ
2
บทที่ 2 มลพิษทางน้า
ถ้าเปิดก๊อกน้าและมีน้าสีเขียวไหลออกมา คงทราบได้ทันทีว่ามีบางอย่างที่ผิดปกติปนมากับน้า แต่
กระนั้นก็ตาม น้าทีมีสีรสชาติ และกลิ่นปกติก็อาจมีสารอันตรายบางชนิดผสมอยู่ได้ การปนเปื้อนของสาร
บางอย่างที่มีผลเสียต่อน้าหรือสิ่งมีชีวิตที่อาศัยน้านั้นในการดารงชีวิต เราเรียกว่า ภาวะมลพิษทางน้า ภาวะ
มลพิษทางน้าอาจมีผลต่อน้าผิวดิน น้าบาดาลหรือกระทั่งน้าฝน ที่มาของสารมลพิษเหล่านี้อาจเกิดเองโดย
ธรรมชาติหรือการกระทาของมนุษย์สารที่ทาให้เกิดภาวะมลพิษของน้า เรียกว่า สารมลพิษสารมลพิษอาจ
เป็นจุลินทรีย์ที่ก่อโรค เช่น คริปโตสปอริเดียม สารมลพิษอื่นๆได้แก่ สารพิษ สารเคมีหรือโลหะที่เป็นพิษ
รวมทั้งสารกัมมันตรังสี
เมื่อมนุษย์รับประทานปลาจากน้าที่มีสารพิษ สารเคมีทีเป็นก็จะเข้าไปสระสมอยู่ในร่างกาย หาก
ร่างกายได้รับสารพิษเป็นเวลานานสารพิษที่จะเข้าไปสะสมจนถึงระดับที่อาจทาให้ลูกที่เกิดมามีความ
ผิดปกติหรือทาให้คนที่รับสารพิษเข้าไปกลายเป็นมะเร็ง นอกจากดื่มน้าหรือกินปลาที่มีสารมลพิษต่อให้เกิด
อันตรายต่อร่างกายแล้ว การอาบน้าหรือวายน้าที่มีภาวะมลพิษก็ทาให้เกิดการระคายเคืองหรือความผิดปกติที่
รุนแรงได้
สิ่งแรกที่ต้องทาในการทาความสะอาดแหล่งมีสารพิษ เช่น แม่น้าคูยาโฮกา คือการค้นหาต้นตอของ
สารมลพิษเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายเพิ่มขึ้น แหล่งสาคัญของสารมลพิษคือ ของเสียของมนุษย์ของ
เสียจากโรงงานอุตสาหกรรม สารเคมีการเกษตร และน้าไหลบ่าจากถนน
2.1 สาเหตุของการเกิดมลพิษทางน้า
2.1.1.ของเสียจากมนุษย์
ในปัจจุบันการทิ้งของเสียจากมนุษย์ลงในน้าเพื่อการบริโภคจะทาให้เกิดการแพร่ระบาด
ของโรคได้ แต่นักวิทยาศาสตร์เพิ่งเข้าใจเหตุผลดังกล่าวเมื่อ 150 ปีซึ่งผู้คนในย่านดังกล่าวจะน้าน้าจากบ่อ
สาธารณะใส่ถังกลับไปยังบ้านของตนเมื่อมีการแพร่ระบาดของโรค คอหิวาต์ ในชุมชนแห่งหนึ่งและทาให้มี
คนตายถึง 500 คนภายในเวลา 10 วัน นายแพทย์สโนว์ จึงทาการตรวจสอบและพบว่าสาเหตุของโรคระบาด
เกิดจากบ่อน้าแห่งหนึ่งที่อยู่ใกล้กับท่อน้าโสโครก เขาจึงพยายามยับยั้งการระบาดของโรคโดยการถอดเอา
คันโยกจากจากบ่อน้านั้นเพื่อป้องกันไม่ให้ประชาชนไปใช้น้าจากบ่อน้าดังกล่าว งานของนายแพทย์สโนว์
ชี้ให้เห็นว่าการปล่อยน้าที่โสโครกปนเปื้อนน้าที่ใช้เพื่อการบริโภคอาจก่อให้เกิดอันตรายได้
3
แหล่งที่มาของของเสียที่เป็นอันตราย
ของเสียที่เป็นอันตรายมีที่มาจากแหล่งกาเนิดที่สาคัญ 3 แหล่ง ได้แก่
1. โรงงานอุตสาหกรรม กากสารเคมีที่ได้จากขบวนกาวผลิต หรือ สารเคมีที่เหลือใช้
ภาชนะบรรจุสารเคมีตลอดจนผลิตภัณฑ์ที่เสื่อมคุณภาพหรือไม่ได้มาตรฐานรวมทั้งกากตะกอนจากระบบ
บาบัดน้าทิ้งของโรงงานเป็นของเสียอันตรายที่จะต้องได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง ของเสียเหล่านี้อาจมีทั้ง
ประเภทที่มีลักษณะเป็นสารที่เป็นพิษ สารไวไฟ สารกัดกร่อน หรือมีหลายลักษณะรวมกันขึ้นอยู่กับประเภท
ของโรงงานอุตสาหกรรม อาทิ ของเสียจากโรงงานชุบโลหะส่วนใหญ่จะมีสารพิษ เช่น ไซยาไนด์ และสาร
โลหะหนักเจือปนอยู่ได้แก่ โครเมียม แคดเมียม สังกะสี ทองแดง ฯลฯ ของเสียจากโรงงานผลิตโซดาไฟใน
ขบวนการผลิตแบบเก่า จะมีพวกสารปรอทปะปนอยู่ ของเสียจากโรงงานผลิตสีหรือโรงงานทอผ้าที่มีการ
ย้อมสีจะมีสารพวกตะกั่ว ปรอท และสารหนู ฯลฯ ของเสียจากโรงงานผลิตและบรรจุยาฆ่าแมลง ส่วนใหญ่
จะเป็นภาชนะบรรจุวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช้แล้ว ซึ่งอาจจะมีสารเคมีที่เป็นพิษ หรือสารยาฆ่าแมลงติด
ค้างอยู่ของเสียจากโรงกลั่นน้ามันจะเป็นพวกกากตะกอนน้ามันดิบ ซึ่งเป็นสารไวไฟ และอาจมีโลหะหนัก
เช่น ตะกั่ว เจือปนอยู่ของเสียจากโรงงานผลิตเฟอร์นิเจอร์และเครื่องใช้ที่เป็นโลหะจะเป็นพวกกรดหรือด่าง
ที่ใช้ในการผลิต
2. ชุมชนหรือบ้านเรือนที่พักอาศัย ของที่ใช้อยู่ในชีวิตประจาวันบางชนิดอาจจะมีสารเคมีที่
เป็นพิษหรือสารไวไฟ หรือสารกัดกร่อนเป็นส่วนประกอบอยู่ด้วย แม้ว่าของนั้นจะหมดสภาพการใช้งาน
แล้ว แต่สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบก็ยังคงเหลือความเป็นอันตรายในตัวเองอยู่ ถ้าดาเนินการกับของเสีย
นั้นๆ อย่างไม่ระมัดระวังหรือไม่ถูกวิธี ก็จะทาให้สารเคมีที่อยู่ในของเสียนั้นรั่วซึมออกมาได้ เช่น ซาก
ถ่านไฟฉาย จะมีสาวโลหะหนักพวกแมงกานีส หรือแคดเมียมอยู่ภายใน ซากแบตเตอรี่รถยนต์ เก่าอาจมี
น้ากรด และมีสาวโลหะหนักพวกตะกั่วเหลืออยู่นอกจากนี้หลอดฟลูออเรสเซนต์ที่หมดอายุใช้งานแล้วยังคง
มีสารปรอท เหลืออยู่เศษของเสียเหล่านี้ถ้าถุฏทิ้งไปโดยไม่ดูแลให้ถูกต้อง สารพิษดังกล่าวอาจถูกน้าชะล้าง
ออกมาปนเปื้อนต่อสิ่งแวดล้อมได้นอกจากนี้น้ามันเครื่อง น้ามันเบรคที่ใช้ในรถยนต์แม้จะใช้แล้วก็ยังคง
ความเป็น สารไวไฟหรือสารกัดกร่อน สาหรับภาชนะที่บรรจุยาฆ่าแมลงสาบและยุงที่ใช้หมดแล้วอาจมีเศษ
ของยาฆ่าแมลงเหลือติดค้างอยู่ น้ายาขัดพื้น หรือน้ายาล้างห้องน้าจะมีส่วนผสมของกรดหรือด่างแม้จะใช้
แล้วก็ยัง คงมีฤทธิ์ในการกัดกร่อนอยู่ ส่วนสี ทินเนอร์ ยาตลอดจนเครื่องสาอางค์ที่หมดอายุแล้ว ก็นับเป็น
ของเสียที่เป็นอันตรายด้วยเช่นกัน
4
ของเสียที่ถูกทิ้งออกมาจากโรงพยาบาลและสถานพยาบาลต่างๆ บางส่วนอาจจะมีเชื้อโรคติดต่อปะปนอยู่
เช่น เศษเนื้อเยื่อ ชิ้นส่วนอวัยวะต่างๆ น้าเหลือง น้าหนอง เสมหะ น้าลาย เหงื่อ ปัสสาวะ อุจจาระ ไขข้อ น้า
ในกระดูก น้าอสุจิ เลือด เซรุ่มของผู้ป่วย เครื่องใช้ที่สัมผัสกับผู้ป่วย เช่น ลาลี ผ้าพันแผล กระดาษชาระ เข็ม
ฉีดยา มีดผ่าตัด เสื้อผ้า จากห้องฉุกเฉิน ห้องปัจจุบันพยาบาล ห้องออร์โธปิดิกส์ หน่วยโลหิตวิทยา ห้อง
ศัลยกรรม ห้องอายุรกรรม ห้องกุมารเวชกรรม ห้องสูตินารีเวชกรรม หน่วยพยาธิวิทยา เป็นสิ่งของที่มีความ
เสี่ยงต่อการติดโรคหากไปสัมผัสเข้า นอกจากของเสียที่ติดเชื้อโรคแล้วยังมีของเสียชนิดอื่นอีก เช่น ยาที่
หมดอายุแล้ว และสารเคมีที่ใช้ในการแพทย์ตลอดจนซากสัตว์หรืออุปกรณ์ที่ทิ้งจากห้องเลี้ยงสัตว์ทดลอง
เป็นต้น
3. การเกษตรกรรม ได้แก่ การผลิตและการใช้สารเคมีทางการเกษตร เช่น ยากาจัดแมลง ยา
กาจัดวัชพืช ยากาจัดเชื้อราที่เหลือใช้หรือเสื่อมคุณภาพ ภาชนะที่บรรจุยากาจัดศัตรูพืชต่างๆ ซึ่งอาจมีเศษยา
ติดค้างอยู่สารเคมีเหล่านี้มีความเป็นพิษในตัวของมันเอง บางชนิดมีความคงทนไม่สลายตัวง่าย ทาให้มีฤทธิ์
อยู่ได้นาน ส่วนใหญ่นอกจากจะมีพิษต่อศัตรูพืชแล้วยังมีพิษต่อมนุษย์ด้วย
2.2 น้าโสโครกในเมือง
ในปัจจุบันน้าเสียจะถูกบาบัดก่อนจะปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อมแต่ขั้นตอนการบาบัดน้าดังกล่าว
สามารถฆ่าแบคทีเรียได้เท่านั้น แต่ไวรัสและปรสิตอื่นๆ สามารถทนต่อคลอรีนและกระบวนการต่างๆที่ใช้
ในการบาบัดน้าได้ไวรัสและปรสิตเหล่านนี้ส่วนใหญ่มาจากของเสียจากคนและสัตว์สามารถปนเปื้อนเข้าสู่
น้าที่ใช้บริโภค ในช่วงที่มีฝนตกหนักและน้าท่วม น้าโสโครกอาจล้นและไหลไปรวมกับท่อน้าฝน เมื่อท่อ
น้าฝนลงสู่น้าผิวดินโดยไม่ผ่านการบาบัดของเสียในน้าโสโครกก็จะปนเปื้อนเข้าสู่น้าผิวดินได้โดยตรง ด้วย
เหตุนี้ประชาชนจึงมักต้มน้าที่ใช้ในการบริโภคหลังจากมีน้าท่วมจะช่วยฆ่าจุลินทรีย์จานวนมากที่อาจก่อโรค
5
2.3 น้าโสโครกในชนบท
การทิ้งของจากมนุษย์ไม่ได้มีปัญหาสาหรับเมืองใหญ่เท่านั้น แต่เป็นปัญหาสาหรับผู้คนในชนบท
เช่นกัน คนในชนบทต้องระวังเกี่ยวกับการติดตั้งถังปฏิกูล เพราะถ้าติดตั้งใกล้แม่น้าหรือภูเขาน้าเสียอาจรั่วลง
สู่ลาธารหรือไหลเข้าสู่บ่อที่อยู่ด้านล่างของภูเขา ของเสียจากวัว หมูและไก่เป็นแหล่งของแบคทีเรียที่ก่อโรค
และสารมลพิษอื่นๆที่ไหลจากคอกหรือโรงเลี้ยงสัตว์ลงไปในแหล่งน้าได้
รูปที่ 2.3 ขยะและซากพืชซากสัตว์ในแม่น้าลาคลอง
2.4 ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม
เมืองและนครใหญ่ในประเทศอเมริกามีระบบการบาบัดน้าโสโครกที่มีประสิทธิภาพด้วยเหตุนี้
ส่วนต่างๆของประเทศจึงหันมาแก้ปัญหาการปนเปื้อนของน้าจากโรงงานและเหมืองที่ยังเป็นปัญหาอยู่ สาร
มลพิษจากอุตสาหกรรมได้แก่ สารเคมี ควัน และน้าร้อน
- สารเคมี กระบวนการมากมายในโรงงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุตสาหกรรมการผลิตสีและ
พลาสติกหรืออุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการแปรรูปโลหะมักใช้สารเคมีที่เป็นพิษและสารที่เป็นกรดรุนแรงใน
กระบวนการผลิต ในขณะที่กระบวนการผลิตและการทาเหมืองมักปล่อยของเสียที่เป็นสารพิษจาก
ปฏิกิริยาข้างเคียงหรือผลพลอยได้จากปฏิกิริยา ถึงแม้ว่าจะมีกฎหมายจากัดและควบคุมการปล่อยสารเคมี
เหล่านี้ออกจากโรงงาน แต่โรงงานบางแห่งยังปล่อยสารพิษลงสู่แม่น้าและทะเลสาบโดยตรง ของเสียที่ถูก
เก็บสะสมไว้เป็นอีกปัญหาหนึ่งที่ต้องแก้ไขเนื่องจากโรงงานอุตสาหกรรมเก็บสะสมของเสียที่เป็นพิษในถัง
หรือภาชนะอื่นๆก่อนที่จะนาไปกลบไว้ในดินเมื่อเวลาผ่านไปภาชนะเหล่านี้เกิดการผุพังหรือแตกออก
สารเคมีที่อยู่ข้างในจึงมีรั่วไหลออกมาปนเปื้อนกับดินและน้าบาดาลใต้ดินได้
6
- โรงานผลิตกระแสไฟฟ้าและโรงงานหลายแห่งเผ่าถ่านหินหรือน้ามัน เพื่อใช้เป็นพลังงานใน
กระบวนการผลิต นอกจากนี้เครื่องยนต์และรถยนต์รถบรรทุก รถเมล์ นับล้านคันต่างก็เผ่าผลาญน้ามันเป็น
พลังงานเช่นเดียวกัน ควันและไอเสียจากกิจกรรมต่างๆเหล่านี้มีผลให้เกิดควันและไอเสียออกสู่อากาศทุกวัน
โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามเมืองขนานใหญ่ ควันและไอเสียเหล่านี้ประกอบด้วยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และ
ไนโตรเจนออกไซด์ ซึ่งเมื่อรวมตัวกับน้าฝนหรือหิมะก๊าซเหล่านี้จะกลายเป็นกรดซัลฟูริกและกรดไนตริก
ปนอยู่ในน้าฝนและหิมะ น้าฝนและหิมะที่ตกลงมาจึงมีความเป็นกรดสูงกว่าปกติเรียกว่า ฝนกรด เมื่อฝนกรด
ตกมายังทะเลสาบหรือบ่อน้าจะทาให้น้าเหล่านั้นกลายเป็นกรดเพิ่มขึ้นจึงถึงขั้นเป็นอันตรายต่อปลาและ
สิ่งมีชีวิตที่อาศัยในแหล่งน้านั้นฝนกรดที่ตกลงมายังมรผลให้เกิดการสึกกร่อนของอาคารและรูปปั้นที่อยู่
กลางแจ้งด้วย
รูปที่ 2.4 ควันจากโรงงานและรถยนต์
2.5 การบาบัดน้าที่ปนเปื้อน
สารมลพิษหลายชนิดจะถูกกาจัดออกจากน้าที่ปนเปื้อนโดยกระบวนการบาบัดน้าที่เกิดขึ้นตาม
ธรรมชาติ เนื่องจากสิ่งมีชิตในทะเลสาบ ลาธาร และพื้นที่ชุ่มน้า จะช่วยกรองและทาลายของเสียทิ้งไป เช่น
รากพื้นจะทาหน้าที่เป็นตัวกรองอนุภาคขนานใหญ่ออกจากน้า พืชบางชนิดเช่น ผักตบชวา และแหนสามารถ
ดูดซึมโลหะและสารเคมีบางชนิดได้ แบคทีเรียในธรรมชาติบางชนิดสามรถกาจัดสารพิษบางชนิดได้
เช่นเดียวกับแบคทีเรียที่ใช้ในระบบบาบัดน้าเสีย เช่น แบคทีเรียที่สามารถย่อยสะลายน้ามันจะช่วยกาจัด
น้ามันที่ปนเปื้อนในน้า แบคทีเรียที่ย่อยสลายของเสียก็สามารถย่อยสลายสารเคมีที่เป็นพิษในแม่น้าและ
ทะเลสาบได้
7
ระบบในการกาจัดสารมลพิษในน้าอาจเกิดขึ้นโดยการเลียนแบบกระบวนการบาบัดตามธรรมชาติ
เหล่านี้ เช่น การใช้พื้นที่ชุ่มน้าทั้งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติหรือที่สร้างขึ้นน้าที่ปนเปื้อน มีการสร้างพื้นที่ชุ่มน้า
ใกล้เหมืองถ่านหินเพื่อบาบัดน้าไหลบ่าที่เป็นก่อนที่ปล่อยน้ากลับคืนสู่สิ่งแวดล้อม
รูปที่ 2.5 สภาพแวดล้อมที่สวยงาม
ไม่เพียงแต่สิ่งมีชีวิตสามารถช่วยในการกาจัดสารมลพิษเท่านั้น การไหลซึมผ่านชั้นหินหรือทรายลง
ไปยังชั้นหินหุ้มน้าก็คลายกับการผ่านตัวกรองตามธรรมชาติและช่วยให้น้าบาดาลขึ้น แต่การกรองตาม
ธรรมชาติยังคงไม่สามารถแยกหรือกาจัดสารมลพิษหลายชนิด เช่น โลหะหรือสารเคมีที่สร้างขึ้นได้ การ
กาจัดสารมลพิษในกลุ่มนี้ออกจากน้าบาดาลทาได้ยากมาก วิธีหนึ่งที่จะสามารถกาจัดสารพิษเหล่านี้ออกจาก
น้าบาดาล คือการสูบน้าบาดาลขึ้นมาและส่งเข้าโรงงานบาบัดน้าก่อนที่ปล่อยลงสู่ทะเลสาบที่อยู่ใกล้เคียง
2.6 การป้องกันและแก้ไขมลพิษทางน้า
การควบคุมการปล่อยน้าทิ้งลงในแหล่งน้า น้าทิ้งจากแหล่งต่าง ๆ ควรจัดการให้มีระบบ บาบัดน้า
เสีย ตัวอย่างเช่น ระบบบาบัดน้าเสียของสหกรณ์โคนมหนองโพราชบุรี
2.6.1 การกาจัดความเน่าเสียโดยธรรมชาติ โดยปกติปฏิกูลที่ทิ้งลงในน้าจะถูกจุลินทรีย์กาจัดอยู่แล้ว
โดยธรรมชาติ น้าในแม่น้าลาคลองที่มีปริมาณสารอินทรีย์มากเกินไปจะทาให้เกิดสภาวะ ที่ไม่เหมาะตอการ
ดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในน้า ธรรมชาติมีกระบวนการกาจัดเพื่อช่วยลด สารอินทรีย์ให้มีจานวนคงที่และ
เหมาะแก่สิ่งมีชีวิต ในกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์์์โดยใช้ออกซิเจนช่วยนี้ จุลินทรีย์ที่มีอยู่มากมาย
ในน้าจะทาการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้า ให้กลายเป็นแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์และน้ามนุษย์และสัตว์
8
หายใจออกมาก็มีแก๊สนี้ปะปนอยู่ พืชสีเขียวสามารถนาไปใช้สังเคราะห์แสงได้ผลจากปฏิกิริยาการ
สังเคราะห์แสงทาให้ได้พลังงานซึ่งจุลินทรีย์จะนาไปใช้ในการดารงชีวิตต่อไป วิธีแก้ไขหรือป้องกันมิให้น้า
เสีย วิธีหนึ่งก็คือ ควบคุมจานวนจุลินทรีย์ให้อยู่ในช่วงที่เหมาะสม ไม่มากเกินไปจนเกิดการ ขาดแคลนออก
ซิ เจน หรือไม่น้อยเกินไปจนย่อยสลายไม่ทัน รวมทั้งต้องควมคุมปริมาณ ออกซิเจนในน้าให้มีพื้นที่ผิ วน้า
มากพอที่จะทาให้ ออกซิเจนแทรกลงไปในน้าได้สะดวก ซึ่ง อาจช่วยได้ด้วยการทาให้อากาศในน้าเกิดการ
หมุนเวียนตลอดเวลานอกจากนี้อาจจะใช้วิธีการ เลี้ยงปลา เช่นที่สหกรณ์โคนมหนองโพราชบุรี จากัด ใน
พระบรมราชูปถัมภ์ใช้วิธี การเลี้ยง ปลานิลในบ่อน้าทิ้งที่ใช้ในการล้างทาความสะอาดอุปกรณ์ และ
เครื่องจักรที่ปนเปื้อนนม ปลานิลจะกาจัดน้าเสียโดยกินเศษนมที่ปนอยู่ในน้า เป็นต้น
2.6.2 การทาให้เจือจาง หมายถึงการทาให้ของเสียเจือจางลงด้วยน้าจานวนมากเพียงพอ เพื่อลด
ปริมาณความสกปรก เช่น การระบายน้าเสียลงในแม่น้าลาคลอง ในการระบายนั้นจาเป็น ต้องคานึงถึง
ปริมาณความสกปรกที่แหล่งน้านั้นจะสามารถรับได้ด้วย ปริมาณความสกปรก ของน้า ที่แหล่งน้าจะรับได้
ขึ้นอยู่กับปริมาตรน้าที่ใช้ในการเจือจาง หรือขึ้นอยู่กับอัตราการ ไหลของน้าในแหล่งน้า วิธีนี้จาเป็นต้องใช้
เนื้อที่กว้าง หรือปริมาตรมากจึงจะพอเพียงต่อ การเจือจางความสกปรก โดยสากลถือว่าน้าสะอาดควรมีค่า บี
โอดี 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ถ้าค่า บีโอดี มากกว่า 100 มิลลิกรัมต่อลิตร ถือว่าน้านั้นมีโอกาสเน่าเสียได้ น้าทิ้ง
ควรมีค่าสาร แขวนลอย 30 มิลลิกรัมต่อลิตร และค่า บีโอดี 20 มิลิกรัมต่อลิตรซึ่งเมื่อถูกเจือจาง ด้วยน้า
สะอาดจากแม่น้า 8 เท่าแล้ว จะมีค่า บีโอดี ไม่เกิน 4 มิลลิกรัมต่อลิตรน้าใน ลักษณะดังกล่าวถือว่าไม่มีความ
เน่าเสียแล้ว
2.6.3 การทาให้กลับคืนสู่สภาพเดิมและการนากลับมาใช้อีก เป็นวิธีทาให้น้าทิ้งกลับคืนมาเป็นผล
พลอยได้และนามาใช้ประโยชน์ได้อีก หลักการนี้มีผลดีต่อโรงงานอุตสาหกรรมโดยตรง ในการลดปริมาณ
ของเสียที่ปล่อยจากโรงงาน โดยช่วยลดค่าใช้จ่ายในการกาจัดของเสีย ประหยัดค่าใช้จ่ายในการผลิต
เนื่องจากนาสิ่งที่ใช้แล้วมาได้อีก การนาเอาน้าที่ใช้แล้ว กลับมาใช้ในกิจการอื่นอีก ไม่จาเป็นต้องใช้น้าที่มี
ความสะอาดมากนัก ดังนั้นในปัจจุบัน วิธีการนี้จึงเป็นที่นิยมกันมาก
2.6.4 ในกรณีที่น้าเน่าเสียแล้ว ห้ามทิ้งสิ่งปฏิกูลลงในแหล่งน้าอีก ทั้งนี้เพื่อให้เวลากับแหล่งน้า
กลับคืนสู่สภาพปกติตามธรรมชาติ แต่ถ้าการกลับคืนสู่สภาพเดิมช้าเกินไป สามารถเร่งได ์้ด้วยการเพิ่ม
ออกซิเจนเพื่อให้แบคทีเรียทางานได้ดีขึ้น โดยกระทาดังนี้
9
- ทาให้ลอยตัว โดยใช์โฟลตติง แอเรเตอร์ (Flaoting aerator) หลาย ๆ ตัวเติมออกซิเจน เป็นระยะ ๆ ตลอดลา
น้าที่เน่าเสีย วิธีนี้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายสูง จึงนิยมใช้กับปากแม่น้าที่ติด ทะเล ซึ่งมีการเน่าเสียร้ายแรงกว่า
บริเวณอื่น ๆ
- ใช้เรือแล่น เพื่อให้เกิดฝอยน้าและคลื่นเป็นการเพิ่มออกซิเจนให้แก่ลาน้าบริเวณที่เสีย
- เพิ่มปริมาณน้า และอัตราการไหลของน้าให้ไหลพัดพาน้าส่วนที่เน่าเสียลงในทะเล ให้หมดโดยใช้ฝนเทียม
ช่วย
2.6.5 การกักเก็บของเสียไว้ระยะหนึ่งก่อนปล่อย หรือกักเก็บไว้เพื่อปล่อยออกทีละน้อยโดย
สม่าเสมอ ทั้งนี้เพื่อให้เวลาของเสียเปลี่ยนแปลงสลายตัวไปเองตามธรรมชาติ
2.6.6 การถ่ายเทของเสียจากที่แห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่ง เพื่อเปลี่ยนแปลงแหล่งรับของเสียใหม่
ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงการทิ้งของเสียจานวนมากเกินไปลงสู่แหล่งรับของเสียเดิมจนทาให้เกิด ปัญหา
สิ่งแวดล้อมเสียอีก
10
บทที่ 3 มลพิษทางอากาศ
อากาศคือ อากาศที่อยู่รอบๆตัวเรา คือส่วนผสมของก๊าซต่างๆหลายชนิด ส่วนประกอบของก๊าซคือ
ออกซิเจนและไนโตรเจน ส่วนประกอบเพียงเล็กคือ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และก๊าซอื่นๆ
ก้อนเมฆบนท้องฟ้าก็คือไอน้าในอากาศ ที่จับตัวกันเวลาอากาศเย็นและกลายเป็ นก้อนเมฆ ดังนั้น
ส่วนประกอบสุดท้ายของอากาศคือ ไอน้า เมื่อขึ้นไปอยู่ที่สูงๆจะรู้สึกอึดอัดหายใจติดขัด เพราะอากาศที่สูง
3.1 สาเหตุของการเกิดมลพิษทางอากาศ
บรรยากาศประกอบด้วยสิ่งต่างๆที่เบาพอจะล่องลอยอยู่ได้และพาไปได้ด้วยกระแสลม ตาม
ธรรมชาติภาวะเหล่านี้เกิดขึ้นจากพายุฝุ่น ไฟป่ า หรือการปะทุของภูเขาไฟ แต่ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา
กิจกรรมของมนุษย์ให้เกิดมลภาวะทางอากาศมากขึ้น เมื่อประชากรเพิ่มขึ้นก็มีการปล่อยของเสียจาก
ภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตรกรรม เข้าสู่อากาศมากขึ้น เครื่องยนต์และเตาเผาที่ใช้เชื้อเพลิงปิโตรเลียม
เช่น น้ามัน ถ่านหิน แก๊สธรรมชาติเป็นแหล่งกาเนิดมลภาวะทางอากาศหลายชนิด สารประกอบเคมีบางชนิด
เช่น คลอโรฟูออโรคาร์บอน ที่มีอยู่ในคอมเพรสเซอร์ตู้เย็นและกระป๋ องสเปรย์ไม่เพียงแต่ปะปนในอากาศ
เท่านั้น แต่ยังทาลายชั้นโอโซนด้วย
เมื่อเผาไหม้เชื้อเพลิง เช่น ถ่านหิน น้ามัน ก็จะเกิดก๊าซหลายชนิดกระจายออกไปในอากาศ หากก๊าซ
เหล่านั้นมีจานวนมากเกินไปจะทาให้เกิดอันตรายต่อสัตว์ผู้คน พืช รวมทั้งโลกด้วย เมื่อเผาไหม้เชื้อเพลิง
จานวนมากเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า ผลิตสิ่งของต่างๆ ร่วมทั้งใช้เชื้อเพลิงกับยานพาหนะ มนุษย์เราเชื่อว่าต้อง
ใช้เชื้อเพลิงให้น้อยและแสวงหาพลังงานชนิดใหม่มาใช้แทน
ตารางที่ 3.1 ตารางมลภาวะอากาศต่างๆ
ซัลเฟอร์ออกไซด์ เป็นสารประกอบระหว่างธาตุกามะถันกับออกซิเจน
เกิดจากการเผาเชื้อเพลิงไนโตรเจน
ออกไซด์ เกิดจากการเผาผลาญเชื้อเพลิง เกิดเป็นหมอกควันที่
ทาปฏิกิริยากบแสงไฮโดรเจนคลอไรด์เป็นแก๊สที่
ระเหยง่ายและมีกลิ่นมาจากโรงงานอุตสาหกรรมฝุ่น
ละออง เกิดจากหลายสาเหตุ เป็นสาเหตุของโรคทางเดิน
หายใจเข้าไปควันและเขม่า ประกอบด้วยเขม่าของ
คาร์บอนและน้ามันดิน นากจากนี้ยังมีสารที่เป็นพิษ
ที่เป็นอนุภาคเล็กๆที่ขวนลอยอยู่ในอากาศ
11
3.2 ผลกระทบ
มลภาวะทางอากาศเกิดผลเสียหลายอย่าง ทั้งทางตรงที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพอนามัยของมนุษย์และ
ทางอ้อมซึ่งได้แก่ ทาให้เกิดการบดบังแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ที่ส่องมายังพื้นโลก หรือการทาลายทรัพย์สิน
หรือสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ
ผลต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์
มลพิษทางอากาศ มีผลต่อสุขภาพอนามัยของคนและสัตว์ปกติมลพิษทางอากาศจะเข้าสู่ร่างกายได้
จากระบบหายใจ ซึ่งแบ่งเป็นระบบทางเดินหายใจส่วนบน (ช่องจมูก และหลอดลม) และระบบทางเดิน
หายใจส่วนล่าง (Bronchial tubes และปอด) เมื่อร่างกายหายใจเอาสิ่งแปลกปลอมปะปนเข้าไป ระบบหายใจ
จะมีวิธีการต่อต้านโดยระบบทางเดินหายใจส่วนบนจะกรองฝุ่นที่มีขนาดใหญ่ (มากกว่า 5 ไมครอน) ไว้
ส่วนฝุ่นที่มีขนาดเล็กที่รอดจากการกรองเข้าไปถึงปอดทาให้เกิดการระคายเคืองได้
อากาศเป็นพิษ ทาให้เกิดโรคระบบทางเดินหายใจในปริมาณสูง สถิติผู้ป่วยด้วยโรคระบบทางเดิน
หายใจในกรุงเทพมหานครสูงขึ้นประมาณร้อยละ 20 ของทุกปี ทางการแพทย์พบว่า หากมนุษย์ขาดอากาศ
ซึ่งมีออกซิเจนสาหรับการหายใจ เพียง 2-3 นาทีก็อาจตายได้ ถ้า 5 นาทีตายแน่ อากาศในกรุงเทพเป็นพิษ
อย่างมากหลายจุด โดยมากเกิดจากไอเสียของรถยนต์โรงงานอุตสาหกรรม ถ้ามลพิษทางอากาศมากเกินขีด
อาจทาให้เกิดอันตรายถึงชีวิต
ผลกระทบต่อสัตว์และพืช
สารมลพิษต่างๆในอากาศจะเข้าสู่ต้นพืชทางใบด้วยกระบวนการหายใจของพืช ภายหลังการได้รับ
มลพิษของต้นพืชมลพิษในอากาศ เช่น สารพวกออกซิแดนซ์ จะไปทาให้ส่วนของใบแห้งเหี่ยว และทาให้
เซลล์ใบยุบตัว ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ทาให้พืชเกิดพิษเรื้อรังทาให้พืชไม่เจริญเติบโตเกิดจากการสูญเสีย
คลอโรฟิลล์ หรือการหยุดสร้างคลอโรฟิลล์ ไนโตรเจนออกไซด์จะทาให้เกิดแผลที่ใบและทาให้เกิดพิษ
เฉียบพลัน
ส่วนสัตว์จะได้รับสารมลพิษเข้าสู่ร่างกายโดยการที่หายใจเอาอากาศที่มีมลพิษปะปนอยู่ด้วยเข้าสู่ร่างกาย
โดยตรง หรือโดยการที่สัตว์กินหญ้าหรือพืชอื่น ๆ ที่มีมลพิษทางอากาศตกสะสมอยู่ด้วยปริมาณมากพอที่จะ
เกิดอันตรายได้มลพิษทางอากาศที่พบว่าทาให้เกิดอันตรายต่อปศุสัตว์มากที่สุด ได้แก่ อาร์เซนิกหรือสารหนู
ฟลูออรีน ตะกั่ว และแคดเมียม เป็นต้น
12
3.3 แนวทางการแก้ไขปัญหาการเกิดมลพิษทางอากาศ
อากาศเป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิต ดังนั้นจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องควบคุมคุณภาพอากาศให้อยู่
ในสภาพที่ไม่เป็นอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน จึงจาเป็นต้องหามาตรการต่าง ๆ เพื่อป้องกันและแก้ไข
ปัญหามลพิษทางอากาศ ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธีด้วยกัน คือ
1. การเฝ้าระวังคุณภาพอากาศ
1.1. การตรวจวัดคุณภาพอากาศด้วยหน่วยเคลื่อนที่ ซึ่งอาจทาได้โดยอาศัยเจ้าหน้าที่ของรัฐติดตามตรวจสอบ
ศึกษาแนวโน้มคุณภาพอากาศตามจุดต่าง ๆ ที่ต้องการ
1.2. การติดตั้งสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ เป็นการเฝ้าระวังที่ติดตั้งสถานีตรวจวัดแบบถาวร เพื่อเฝ้าระวัง
คุณภาพอากาศในทุก ๆ ย่าน เช่น ย่านที่พักอาศัย ย่านอุตสาหกรรม ย่านธุรกิจ ไม่ให้เกินมาตรฐาน หากพบว่า
คุณภาพ อากาศในย่านใดเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน พืช สัตว์
และทรัพย์สินต่าง ๆ จะได้หาทางป้องกันหรือแก้ไขมิให้เกิดผลเสียหายอีกต่อไป
1.3. การสังเกตการเปลี่ยนแปลงโดยประมาณ ซึ่งอาจสังเกตได้โดยประชาชนทั่วไปพบหรือสังเกตเห็นสิ่ง
ผิดปกติเกี่ยวกับคุณภาพอากาศ เช่น เห็นหมอกควันควรรีบแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ
2. การควบคุมและป้องกันการปล่อยมลพิษจากแหล่งกาเนิด
การใช้เทคโนโลยีหรืออุปกรณ์ควบคุมมลพิษประเภทต่าง ๆ นั้น จะติดตั้งเข้ากับแหล่งกาเนิดของมลพิษ เพื่อ
ทาหน้าที่กาจัดหรือลดปริมาณของมลสารที่ถูกปล่อยออกสู่บรรยากาศ ซึ่งในการควบคุมสภาวะอากาศเป็นพิษ
นั้น จะต้องพิจารณาเลือกวิธีการที่เหมาะสมประหยัดและได้ผลดีที่สุด โดยมีหลักการใหญ่ ๆ ดังนี้
2.1 พยายามเลือกใช้วัตถุดิบและเชื้อเพลิงที่ไม่มีสารก่อมลพิษทางอากาศ
2.2 ปรับปรุงคุณภาพวัตถุดิบหรือเชื้อเพลิงที่ใช้ในกระบวนการผลิตให้มีองค์ประกอบของสาร ที่อาจ
ก่อให้เกิดสารเป็นพิษขึ้นในภายหลังน้อยที่สุด
2.3 ปรับปรุงแก้ไขวิธีการในกระบวนการผลิตให้สามารถช่วยลดการเกิดสารมลพิษจากขั้นตอน การผลิตให้
เหลือน้อยหรือไม่มีเลย
2.4 ติดตั้งระบบบาบัดหรือปรับปรุงอุปกรณ์การกาจัดมลพิษทางอากาศให้เหมาะสมและมี ประสิทธิภาพ ซึ่ง
สามารถทาได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดและลักษณะของแหล่งกาเนิดมลพิษ ซึ่งจะต้องพิจารณาถึงปริมาณและ
ชนิดของอากาศเสีย มาตรฐานปริมาณอากาศเสียที่ยอมให้ปล่อยออกสู่บรรยากาศ ค่าใช้จ่ายในการลงทุนและ
การใช้งาน
13
3. การกาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศ
ต้องครอบคลุมสารมลพิษอากาศทุกประเภทจากแหล่งก่อมลพิษประเภทต่าง ๆ มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกัน
ผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนและสิ่งแวดล้อมเป็นสาคัญ และควรมีการปรับปรุงมาตรฐานให้
สอดคล้องกับสถานการณ์และปัญหาที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา
4. การออกกฎหมาย
โดยมุ่งหมายเพื่อใช้เป็นกฎเกณฑ์และมาตรการที่มีผลบังคับใช้ตามกฎหมาย ซึ่งกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ออกมานั้น
ต้องมีความเหมาะสมและถูกต้องตามหลักวิชาการเสมอ รวมทั้งเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติต้องสามารถบังคับให้เป็นไป
ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ได้
5. การกาหนดนโยบายและวางแผน เพื่อควบคุมมลพิษอากาศ
5.1 การแบ่งแยกเขตเฉพาะ (Proper Zone) คือ การวางผังเมืองหรือชุมชนออกเป็นเขตหรือย่าน ต่าง
ๆ ให้มีความเหมาะสมตามสภาพท้องถิ่นและกิจกรรมของชุมชนโดยแบ่งออกเป็นย่านต่าง ๆ ไม่ปะปนกัน
เช่น ย่านการค้า ย่านอุตสาหกรรมและย่านที่อยู่อาศัย การกาหนดผังเมืองออกเป็นย่านต่าง ๆ จะช่วยให้
สามารถควบคุมและปฏิบัติงานเกี่ยวกับมลภาวะอากาศได้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
5.2 การควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ (Control of Activities) คือการดาเนินงาน เพื่อควบคุมกิจกรรม ต่าง
ๆ ในชุมชนโดยเฉพาะกิจกรรมที่เป็นแหล่งก่อให้เกิดสารที่เป็นต้นเหตุทาให้เกิดสภาวะอากาศเป็นพิษ
จะต้องได้รับการควบคุมอย่างใกล้ชิด
5.3 การให้การศึกษาและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ซึ่งจะต้องจัดทาในหลายระดับ หลายรูปแบบ และ
ให้กับกลุ่มชนทุกกลุ่ม โดยเริ่มตั้งแต่การสอนแนวความคิดรวบยอดขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมให้กับ
ประชาชนทั่วไป เด็กนักเรียนในระดับประถม และค่อย ๆ เพิ่มเนื้อหา และ ความลึกซึ้งมากขึ้นไปโดย
ต่อเนื่องจนถึงระดับอุดมศึกษา รวมทั้งการให้ข้อมูลข่าวสารกับ มวลชนในวาระต่าง ๆ โดยอาศัยสื่อมวลชน
ในรูปแบบต่าง ๆ เช่นเกร็ดความรู้วิธีการลดควันดา การรณรงค์ลดควันขาวรถจักรยานยนต์ เป็นต้น
5.4 กาหนดเขตควบคุม และจากัดจานวนแหล่งมลพิษ มิให้มีมากขึ้นจนเป็นเหตุในการเกิดปัญหา
มลพิษ
6. การเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อเป็นแหล่งผลิตอากาศบริสุทธิ์ เช่น การสร้างสวนสาธารณะ การปลูกต้นไม้ในเขต
เมือง เป็นต้น
14
บทที่ 4 มลพิษทางขยะ
ขยะหมายถึง สิ่งที่เราไม่ได้ใช้แล้ว แล้วนาไปทิ้งมลพิษทางขยะหมายถึง สิ่งที่ทาให้เกิดปัญหากับ
สภาพแล้วล้อม ขยะเป็นปัญหาสาคัญของหลาย ๆ ท้องถิ่นเกือบทั่วโลกที่ต้องเผชิญ ขยะสร้างปัญหาให้กับ
สังคมในทุกๆด้านไม่ว่าจะเป็นด้านการคมคมนาคม ด้านที่อย่อาศัย ด้านสถานที่ท่องเที่ยว เนื่องจากใน
ปัจจุบันประเทศไทยได้ประสบกับปัญหาเรื่องมลพิษทางขยะมากพอสมควร สาเหตุหลักนั้นมากจากมนุษย์ที่
ทิ้งขยะไม่เป็นเป็นที่เป็นทาง ทิ้งขยะโดยไม่แยกประเภทของขยะ หรือทาลายขยะแบบผิดๆเช่น การฝัง และ
การเผาขยะ ซึ่งเหตุนี้อาจน้ามาซึ่งปัญหาอื่น
4.1 สาเหตุของการเกิดมลพิษทางขยะ
ขยะเป็นปัญหาสาคัญของหลาย ๆ ท้องถิ่นเกือบทั่วโลก ขยะส่วนใหญ่มักจะถูกทิ้งลงในดิน ขยะบาง
ชนิดสลายตัวให้สารประกอบอินทรีย์และสารประกอบอนินทรีย์แต่ขยะบางชนิดสลายตัวยากเช่น หนัง
พลาสติก โลหะ ฯลฯ ขยะประเภทนี้ถ้าทาลายโดยการเผาจะได้สารประกอบ ประเภทเกลือเช่น เกลือไนเตรต
สะสมอยู่ในดินเป็นจานวนมากขยะที่ได้เกิดกระบวนการ ผลิตทางอุตสาหกรรม โดยเฉพาะขยะจาก
เทคโนโลยีอุตสาหกรรมกาลังเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็ว มีความเป็นพิษสูงและย่อยสลายยากเช่น ขยะจากโรงงาน
อุตสาหกรรมที่มี โลหะหนัก เช่น ตะกั่ว ปรอท แคดเมียม เมื่อทิ้งลงดินทาให้ดินบริเวณนั้นมีโลหะหนัก
สะสมอยู่มาก สาหรับในประเทศไทยเท่าที่มีรายงานพบว่า มีการเสื่อมคุณภาพ ของดินจากตะกั่วเนื่องจาก
โรงงานถลุงตะกั่วจากซากแบตเตอรี่เก่าที่จังหวัดสมุทรปราการ นาเอากากตะกั่วที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์มาถม
ทาถนน ทาให้ดินบริเวณนั้นเกิดสภาพเป็นพิษ เป็นอันตรายต่อพืชและ ผู้บริโภคนอกจากนี้ประเทศไทยยัง
ประสบปัญหาขยะอุตสาหกรรมที่นาเข้ามาจากตางประเทศ ในรูปของสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้า อะไหล่
อุตสาหกรรม เช่น ยางรถยนต์เก่า แบตเตอรี่เก่า ถุงมือยางใช้แล้ว ถูกนาเข้ามาทิ้งในประเทศไทยอีกเป็น
จานวนมาก
4.2 ประเภทของขยะ
4.2.1 ขยะเปียก
หมายถึง ขยะที่สามารถย่อยสะลายได้ง่าย มีระยะเวลาในการย่อยสลายไม่มากเช่น เศษอาหาร พืชผัก
เปลือกผลไม้ซากสัตว์บางชนิด เป็นต้น
4.2.2 ขยะแห้ง
หมายถึง ขยะที่สามารถย่อยสลายได้ยาก ใช้เวลาในการย่อยสลายนาน บางชนิดอาจใช้เวลาเป็นสิบๆ
ปี เช่นกระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ เศษผ้า ไม้ยาง เป็นต้น
15
4.2.3 ขยะสารพิษ
หมายถึง ขยะที่เป็นอันตราย มีสารเคมีตกค้าง บางชนิดเมื่อถูกก็สามารถทาให้เสียชีวิตได้ ขยะ
สารพิษที่พบทั่วไปเช่นสารเคมี วัตถุมีพิษ ซากถ่านไฟฉาย หลอดไฟ และขยะติดเชื้อจาก
สถานพยาบาล เป็นต้น
ตารางที่ 4.2.3 ตารางระยะเวลาการย่อยสลายของขยะ
ชนิดขยะ ระยะเวลาในการย่อยสะลาย
ผ้าอ้อมสาเร็จรูป 500ปี
ถุงพลาสติก 100-450ปี
อลูมิเนีย 80-100ปี
ก้นบุหรี่ 12ปี
เปลือกส้ม 6เดือน
4.3 ผลกระทบจากปัญหามลพิษทางขยะ
4.3.1 อากาศเสีย เกิดจากการเผาขยะกลางแจ้งก่อให้เกิดควันและสารพิษทางอากาศ ทาให้ คุณภาพอากาศ
เสื่อมโทรม
4.3.2 น้าเสีย เกิดจากการกองขยะบนพื้น เมื่อฝนตกลงมาบนกองขยะ จะเกิดน้าเสียมีความ สกปรกมากไหล
ลงสู่แม่น้า
4.3.3 แหล่งพาหะนาโรค เกิดจากการกองขยะบนพื้น ทาให้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์ของหนูและ แมลงวัน เป็นต้น
ซึ่งเป็นพาหะนาโรคติดต่อ ทาให้มีผลกระทบต่อสุขภาพ อนามัยของ ประชาชน
4.4 แนวทางการแก้ไขปัญหา
4.4.1. กาจัดขยะมูลฝอยอย่างถูกหลักวิชาการ เช่น การเผาในเตาเผาขยะ การฝังกลบอย่างถูกสุขลักษณะ และ
การหมักทาปุ๋ ย เป็นต้น ซึ่งแต่ละวิธีมีความแตกต่างกันในด้านต้นทุนการดาเนินงาน ความพร้อมขององค์กร
ปริมาณและประเภทของขยะ เป็นต้น
4.4.2 จัดการขยะ โดยอาศัยหลัก 5 R คือ
- Reduce การลดปริมาณขยะ โดยลดการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีบรรจุภัณฑ์สิ้นเปลือง
- Reuse การนามาใช้ซ้า เช่น ขวดแก้ว กล่องกระดาษ กระดาษพิมพ์หน้าหลัง เป็นต้น
- Repair การซ่อมแซมแก้ไขสิ่งของต่างๆ ให้สามารถใช้งานต่อได้
- Reject การหลีกเลี่ยงใช้สิ่งที่ก่อให้เกิดมลพิษ
16
- Recycle การแปรสภาพและหมุนเวียนนากลับมาใช้ได้ใหม่ โดยนาไปผ่านกระบวนการผลิตใหม่
อีกครั้ง
4.4.3 การแยกขยะ เพื่อลดขยะที่ต้องนาไปกาจัดจริงๆ ให้เหลือน้อยที่สุด เช่น
- ขยะแห้งบางชนิดที่สามารถแปรสภาพนามากลับมาใช้ได้อีก ได้แก่ ขวดแก้ว โลหะ พลาสติก
- ขยะเปียกสามารถนามาหมักทาปุ๋ ยน้าชีวภาพ
- ขยะอันตราย เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋ องฉีดสเปรย์ต้องมีวิธีกาจัดที่ปลอดภัย
4.4.4 ส่งเสริมการผลิตที่สะอาดในภาคการผลิต โดยลดการใช้วัสดุ ลดพลังงาน และลดมลพิษ เพิ่มศักยภาพ
การใช้ทรัพยากรหมุนเวียน การนาของเสียกลับมาใช้ประโยชน์ และการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีอายุการใช้
งานได้นานขึ้น
4.4.5 ส่งเสริมให้ภาคธุรกิจเอกชนมีส่วนรวมลงทุนและดาเนินการจัดการขยะ
4.4.6 ให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องการจัดการขยะอย่างถูกหลักวิชาการ
4.4.7 รณรงค์และประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างจิตสานึกให้ประชาชนเข้าใจและยอมรับว่าเป็นภาระหน้าที่ของ
ตนเอง ในการร่วมมือกันจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชน
17
บทที่ 5
กลุ่มชุมชนตัวอย่างในการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษ
โครงการป้องกันและการแก้ไขปัญหาปัญหามลพิษในพื้นที่คลองสารภี อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี
5.1 ความเป็นมาของปัญหา
ปัญหาปลาตายใน ปี 2549
สืบเนื่องจากปัญหาเหตุการณ์อุทกภัย ได้มีการระบายน้าเข้าไปเก็บกักไว้ในทุ่งสารภี และเมื่อวันที่ 10
พฤศจิกายน 2549 ได้มีการเปิดประตูระบายน้าคลองสารภี อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี เพื่อลดระดับน้าในท้อง
นาให้เกษตรกรสามารถเก็บเกี่ยวข้าวได้ทั้งนี้ คลองสารภีเป็นคลองที่รับน้าจากทุ่งสารภีซึ่งเป็นทุ่งขนาดใหญ่
และมีการผันน้าที่ท่วมพื้นที่เข้าไปเก็บกักไว้ขณะนั้น คุณภาพน้าในทุ่งสารภีมีสภาพเสื่อมโทรมและเน่าเสีย
โดยมีค่าออกซิเจนละลายน้า (DO) เท่ากับศูนย์
เมื่อระบายน้าลงคลองสารภีและไหลลงแม่น้าปราจีนบุรี คุณภาพน้าแม่น้าปราจีนบุรีเริ่มมีปัญหาเน่าเสียจนถึง
ระดับที่ทาให้ปลาในกระชังและสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในแม่น้าตายเป็นจานวนมาก ตั้งแต่ อ.บ้านสร้าง จนถึงปาก
แม่น้าปราจีนบุรีที่บ้านบางแตน อ.บ้านสร้าง ตั้งแต่วันที่ 12 พฤศจิกายน 2549 เป็นต้นมา โดยตายมากในวันที่
11-12 พฤศจิกายน 2549
รูปที่ 5.1 ปลาเน่าตายในสถานที่เลี้ยงและลาคลอง
5.2 การดาเนินการแก้ไขปัญหาปี 2549-2550
5.2.1 กรมควบคุมมลพิษได้ร่วมตรวจสอบพื้นที่กับผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี ผู้ตรวจราชการ
สานักนายกรัฐมนตรี และหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2549 และได้เสนอแนะการ
แก้ไขปัญหาเร่งด่วนเฉพาะหน้า โดยให้ลดปริมาณการระบายน้าจากคลองสารภี และเพิ่มการระบายน้าจาก
เขื่อนหรืออ่างเก็บน้าจากพื้นที่ด้านบนเพื่อเจือจางน้าเสีย ซึ่งข้อเสนอแนะนี้ ชลประทานจังหวัดปราจีนบุรี
18
ชี้แจงว่าไม่สามารถลดปริมาณการระบายน้าจากคลองสารภีได้ เนื่องจากเกษตรกรจะเดือนร้อนไม่สามารถ
เก็บเกี่ยวข้าวได้ และข้าวจะได้รับความเสียหายหากไม่สามารถระบายน้าออกจากทุ่งได้ และจะรวมตัวกัน
ประท้วง
ประเด็นการเพิ่มการระบายน้าจากเขื่อนเพื่อเจือจางน้าเสียนั้น ผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี สั่งการให้กรม
ชลประทานดาเนินการหาทางผันน้าจากเขื่อนท่าด่าน จ.นครนายก เข้ามาเจือจางน้าเสียในแม่น้าปราจีนบุรี
และคลองสารภี ขณะนี้ดาเนินการแล้ว และทาให้คุณภาพน้าดีขึ้นมา ตามลาดับ
5.2.2 ผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้า เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2549 พบว่า แม่น้าปราจีนบุรีใน
เขต อ.เมืองปราจีนบุรี (รหัส PA03) ซึ่งอยู่เหนือจุดที่คลองสารภีระบายน้าลงมา มีค่าออกซิเจนละลายน้า
(DO) เท่ากับ 4.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ขณะที่ตั้งแต่ อ.บ้านสร้าง จนถึงปากแม่น้าปราจีนบุรีที่บ้าน บางแตน อ.
บ้านสร้าง (รหัส PA02 และ PA01) ซึ่งอยู่ทางด้านท้ายจุดระบายและได้รับผลกระทบจากการเปิดประตู
ระบายน้า มีค่าออกซิเจนละลายน้าอยู่ระหว่าง 0.2-1 มิลลิกรัมต่อลิตร
ทั้งนี้ ก่อนหน้าที่ประตูระบายน้าคลองสารภีจะเปิดประตูระบายน้าออกมา ค่าออกซิเจนละลายน้าในช่วง
บริเวณดังกล่าว ในวันที่ 30 ตุลาคม 2549 ก็มีค่าที่ไม่สูงมากนัก โดยมีค่าอยู่ระหว่าง 2.5-3.5 มิลลิกรัมต่อลิตร
เมื่อมีน้าเสียปริมาณมากระบายลงมาจึงเกินศักยภาพที่แม่น้าจะรองรับน้าเสียได้ดังนั้น การตายของปลาและ
สัตว์น้าต่างๆ ปัจจัยหลักจึง น่าจะมาจากการขาดออกซิเจนในการหายใจเป็นเวลานานติดต่อกัน
5.2.3 นอกจากนี้ ยังมีการเก็บตัวอย่างน้าเพื่อวิเคราะห์ปริมาณโลหะหนักและสารกาจัดศัตรูพืช
พบว่า ปริมาณโลหะหนักและสารกาจัดศัตรูพืชทั้งในแม่น้าและคลองสารภี มีค่าน้อยมากในระดับ ND
(None Detect) ยกเว้นบริเวณหน้าวัดบางแตน อ.บ้านสร้าง (รหัส PA01) พบสารกาจัดศัตรูพืชในกลุ่ม
ออร์กาโนคลอรีนบางตัวเกินมาตรฐาน ได้แก่ alpha-BHC พบ 0.06 ppb. (มาตรฐานกาหนด 0.02 ppb.)
Dieldrin พบ 0.2 ppb. (มาตรฐานกาหนด 0.2 ppb.) และพบสาร Endosulfan ที่ใช้ในการกาจัดหอยเชอรี่ ใน
ปริมาณ 0.07 ppb. สาหรับแหล่งที่มาของสารกาจัดศัตรูพืช ไม่สามารถระบุได้ว่ามาจากคลองสารภี เนื่องจาก
ตรวจพบสารกาจัดศัตรูพืชในน้าจากคลองสารภีในปริมาณที่น้อยมาก
5.2.4 ได้มีกลุ่มผู้เลี้ยงปลาในกระชังในพื้นที่ลุ่มน้าบางปะกง ได้ยื่นหนังสือร้องเรียนเกี่ยวกับปัญหา
น้าเสียทาให้เกิดเหตุการณ์ ปลาตายในแม่น้าบางปะกงและแม่น้าปราจีนบุรีต่อรัฐมนตรีว่า การกระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในระหว่างการตรวจเยี่ยมพื้นที่ลุ่มน้าบางประกง ในระหว่างวันที่ 16-17
ธันวาคม 2549 โดยที่กรมควบคุมมลพิษได้รับมอบหมายให้กาหนดมาตรการ ในการป้องกันและแก้ไข
ปัญหาน้าเสียในคลองสารภีและแม่น้าปราจีนบุรี โดยเน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน รวมทั้งผู้มีส่วนได้
ส่วนเสียในพื้นที่ดังกล่าว
19
รูปที่ 5.2.5 บุคคลผู้มีส่วนร่วมได้และเสียผลประโยชน์
5.2.5 อธิบดีกรมควบคุมมลพิษและคณะได้เดินทางไป ตรวจเยี่ยมพื้นที่บริเวณคลองสารภี อาเภอ
บ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี ในวันที่ 28 ธันวาคม 2549 เพื่อตรวจสอบและหาแนวทางป้องกันและแก้ไข
ปัญหามลพิษในพื้นที่คลองสารภี ณ บริเวณประตูระบายน้าคลองสารภี อาเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี
โดยประชุมร่วมกับผู้แทนกลุ่มเกษตรกร อนุกรรมการลุ่มน้าบางประกง-ปราจีนบุรี และโตนเลสาป และ
หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันหาทางแก้ไขปัญหามลพิษในพื้นที่คลองสารภี ซึ่งที่ประชุมมีมติร่วมกันให้มี
การแต่งตั้งคณะทางาน จานวน 2 คณะ ดังนี้
(1) คณะทางานตรวจสอบแหล่งกาเนิดมลพิษและหาสาเหตุของปัญหามลพิษ ในพื้นที่คลองสารภี
ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนกลุ่มเกษตรกร นักวิชาการท้องถิ่นและกรมควบคุมมลพิษ ทั้งนี้ให้ดาเนินการภายใน 2
เดือน โดยให้แล้วเสร็จประมาณเดือนมีนาคม 2550
(2) คณะทางานกาหนดมาตรการแผนงานป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษ ในพื้นที่คลองสารภีและ
กากับดูแลการดาเนินงานตามแผนงาน ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนกลุ่มเกษตรกร กลุ่มนักวิชาการท้องถิ่น กรม
ควบคุมมลพิษ กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้าและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ให้กาหนดมาตรการให้
แล้วเสร็จภายในเดือนพฤษภาคม 2550 และกากับดูแลการดาเนินงานตามแผนงานอย่างต่อเนื่องตลอด
5.2.6 อธิบดีกรมควบคุมมลพิษและคณะได้เดินทางไปสารวจสภาพพื้นที่การเกษตรบริเวณคลอง
สารภี พร้อมทั้งตรวจเยี่ยมโรงงานกระดาษ และการเลี้ยงปลากระชังในพื้นที่อาเภอบ้านสร้าง จังหวัด
ปราจีนบุรี
5.2.7 กรมควบคุมมลพิษได้ประชุมร่วมกับคณะทางานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม ของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2549 เพื่อแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาน้าเสียในคลองสารภี
20
บรรณานุกรม
Barbara Brooks Simons. สารวจโลกวิทยาศาสตร์: คู่มือครูสภาวะและภูมิอากาศ. กรุงเทพมหานคร: เพียร์
สัน เอ็นดูเคชั่น อินโดไชน่า, 2546
Barbara Brooks Simons. สารวจโลกวิทยาศาสตร์: คู่มือครูน้าและพลังงาน. กรุงเทพมหานคร: เพียร์สัน เอ็น
ดูเคชั่น อินโดไชน่า, 2547
Parramon. เทคโนโลยีEssential Atlas of Technology. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สวีริยาสาส์น จัดพิมพ์,
2547
กองอนามัยสิ่งแวดล้อม. มลพิษทางอากาศ. (ออนไลน์). แหล่งที่มา:
https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi3/monpit-a/monpit-a.htm. 8 กันยายน 2559
วรันดา สุสม. 2555. มลพิษขยะ. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://look-edu.wikispaces.com/มลพิษขยะ.
8 กันยายน 2559
21
ภาคผนวก
-ภาพการประชุม
-ภาพการนาเสนอในชั้นเรียน
-ภาพการทากิจกรรมต่างๆ
22
-ภาพข้อมูลต่างๆ
-งานย่อย4
23
- PPT
24
-งานก#1
25
-งานย่อย8
26
ผู้จัดทา
นายธนดล วิบูลย์เชื้อ ชั้น ม.5/4 เลขที่ 10 นางสาวกุลณัฐ กาฬภักดี ชั้น ม.5/4 เลขที่ 11
นางสาววรันธร ภุมรินทร์ ชั้น ม.5/4 เลขที่ 13 นางสาวรัชชนก นุชยิ้มย่อง ชั้น ม.5/4 เลขที่ 16
นางสาวณัฐริกานต์ ธรรมโชติ ชั้น ม.5/4 เลขที่ 33

More Related Content

What's hot

"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน""อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"Fern Jariya
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมGolfzie Loliconer
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมthunchanok
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามPloykarn Lamdual
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยthnaporn999
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพOrnkapat Bualom
 
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...Vorawut Wongumpornpinit
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกพัน พัน
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีoraneehussem
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์oraneehussem
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคOrnkapat Bualom
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการsomdetpittayakom school
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลGuntima NaLove
 

What's hot (20)

"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน""อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"
"อันตรายของมลพิษทางอากาศสู่การเกิดภาวะโลกร้อน"
 
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรมการปฏิวัติอุตสาหกรรม
การปฏิวัติอุตสาหกรรม
 
แนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยมแนวคิดเสรีนิยม
แนวคิดเสรีนิยม
 
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมสมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลยใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
ใบงานที่ 1 รวมกลุ่มเศรษฐกิจฯ พร้อมเฉลย
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
อิเหนา
อิเหนาอิเหนา
อิเหนา
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
คู่มือหลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ Guideline Registration Tradition...
 
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติกโครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
โครงงานการประดิษฐ์กระถางจากขวดพลาสติก
 
บทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมีบทที่ 2 พันธะเคมี
บทที่ 2 พันธะเคมี
 
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuelsเชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์ (Fossil fuels
 
วิถีไทย
วิถีไทยวิถีไทย
วิถีไทย
 
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
บทที่ 11 เคมีอินทรีย์
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภคบทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
บทที่ 5 ทฤษฎีว่าด้วยพฤติกรรมผู้บริโภค
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
บทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผลบทที่ 5 สรุปผล
บทที่ 5 สรุปผล
 

Similar to เรื่องภาวะมลพิษ

คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2Thitiporn Klainil
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2klainil
 
Air pollution wasin katavut
Air pollution wasin katavutAir pollution wasin katavut
Air pollution wasin katavutPeetAthipong
 
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อมการประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อมQuartz Yhaf
 
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1Nong Max Z Kamilia
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานThanawadee Prim
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมjariya namwichit
 

Similar to เรื่องภาวะมลพิษ (8)

คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
คุณภาพอากาศกับผลกระทบต่อสุขภาพ 2
 
Air pollution wasin katavut
Air pollution wasin katavutAir pollution wasin katavut
Air pollution wasin katavut
 
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อมการประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
การประเม นผลกระทบส _งแวดล_อม
 
Water pollution
Water pollutionWater pollution
Water pollution
 
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
โครงงาน เจลล้างมือกลิ่นผลไม้1
 
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงานตัวอย่างรายงานโครงงาน
ตัวอย่างรายงานโครงงาน
 
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อมเรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
เรื่อง สมดุลเคมีในสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม
 

More from พัน พัน

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการพัน พัน
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีพัน พัน
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรพัน พัน
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยพัน พัน
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศพัน พัน
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นพัน พัน
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์พัน พัน
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้พัน พัน
 

More from พัน พัน (20)

เรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการเรื่องระบบปฏิบัติการ
เรื่องระบบปฏิบัติการ
 
เรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซีเรื่องภาษาซี
เรื่องภาษาซี
 
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
ประวัติความเป็นมาของคอมพิวเตอร์
 
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษรการเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
การเปลี่ยนตัวเลขให้เป็นตัวอักษร
 
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
หลักการทำงาน บทบาทและอุปกรณ์พื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
รายงานเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์
 
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
การทำงานพื้นฐานของคอมพิวเตอร์
 
การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์การทำงานของคอมพิวเตอร์
การทำงานของคอมพิวเตอร์
 
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัยระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
ระบบคอมพิวเตอร์และยุคสมัย
 
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศเรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
เรื่องเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์ประเภทของคอมพิวเตอร์
ประเภทของคอมพิวเตอร์
 
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เครือข่ายคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้นเรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เรื่องคอมพิวเตอร์เบื้องต้น
 
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
เรื่องด้านคอมพิวเตอร์
 
เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์เรื่องคอมพิวเตอร์
เรื่องคอมพิวเตอร์
 
โครงงานคอม
โครงงานคอมโครงงานคอม
โครงงานคอม
 
การปริ้น
การปริ้นการปริ้น
การปริ้น
 
Office
OfficeOffice
Office
 
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
ปัญหาทรัพยากรป่าไม้
 
ยาเสพติด
ยาเสพติดยาเสพติด
ยาเสพติด
 

เรื่องภาวะมลพิษ

  • 1. 1 บทที่ 1 ภาวะมลพิษ 1.1 ภาวะมลพิษคืออะไร ภาวะมลพิษคือ สภาวะที่สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงหรือปนเปื้อนโดยมลพิษซึ่งทาให้คุณภาพของ สิ่งแวดล้อมเสื่อมโทรมลง เช่น มลพิษทางน้า มลพิษทางอากาศ มลพิษในดิน (พรบ.ส่งเสริมและรักษา คุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535) ทั่วไปหมายถึงการมีสารในสิ่งแวดล้อมที่มีคุณสมบัติทางเคมี หรือใน ปริมาณที่ป้องกันการทาหน้าที่โดยธรรมชาติและทาให้สิ่งแวดล้อมไม่เป็นที่พึงปรารถนาและมีผลกระทบต่อ สุขภาพ ภายใต้กฎหมายน้าสะอาดตัวอย่างคือ ในความหมายที่เป็นมนุษย์เป็นผู้ทาหรือนาให้เกิดการ เปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ชีวภาพ เคมี และกัมมันตรังสีในน้าหรือตัวกลางอื่นๆ 1.2 มลพิษคืออะไร มลพิษคือ ของเสีย วัตถุอันตราย และมลสารอื่นๆ รวมทั้งกากตะกอนหรือสิ่งตกค้างจากสิ่งเหล่านั้น ที่ถูกปล่อยจากแหล่งกาเนิดมลพิษ หรือที่มีอยู่ในสิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ ซึ่งก่อให้เกิดหรืออาจก่อให้เกิด ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม หรือภาวะที่เป็นพิษภัยอันตรายต่อสุขภาพของประชาชนได้ และให้หมายความ รวมถึง รังสี ความร้อน แสง เสียง ความสั่นสะเทือน หรือเหตุราคาญอื่นๆ ที่เกิดหรือถูกปล่อยออกจาก แหล่งกาเนิดมลพิษด้วย (พรบ.ส่งเสริมและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อม พ.ศ.2535) 1.3 ประเภทของมลพิษ มลพิษสามารถแยกได้หลายประเภท ได้แก่ 1.มลพิษทางน้า 2.มลพิษทางอากาศ 3.มลพิษทางขยะ
  • 2. 2 บทที่ 2 มลพิษทางน้า ถ้าเปิดก๊อกน้าและมีน้าสีเขียวไหลออกมา คงทราบได้ทันทีว่ามีบางอย่างที่ผิดปกติปนมากับน้า แต่ กระนั้นก็ตาม น้าทีมีสีรสชาติ และกลิ่นปกติก็อาจมีสารอันตรายบางชนิดผสมอยู่ได้ การปนเปื้อนของสาร บางอย่างที่มีผลเสียต่อน้าหรือสิ่งมีชีวิตที่อาศัยน้านั้นในการดารงชีวิต เราเรียกว่า ภาวะมลพิษทางน้า ภาวะ มลพิษทางน้าอาจมีผลต่อน้าผิวดิน น้าบาดาลหรือกระทั่งน้าฝน ที่มาของสารมลพิษเหล่านี้อาจเกิดเองโดย ธรรมชาติหรือการกระทาของมนุษย์สารที่ทาให้เกิดภาวะมลพิษของน้า เรียกว่า สารมลพิษสารมลพิษอาจ เป็นจุลินทรีย์ที่ก่อโรค เช่น คริปโตสปอริเดียม สารมลพิษอื่นๆได้แก่ สารพิษ สารเคมีหรือโลหะที่เป็นพิษ รวมทั้งสารกัมมันตรังสี เมื่อมนุษย์รับประทานปลาจากน้าที่มีสารพิษ สารเคมีทีเป็นก็จะเข้าไปสระสมอยู่ในร่างกาย หาก ร่างกายได้รับสารพิษเป็นเวลานานสารพิษที่จะเข้าไปสะสมจนถึงระดับที่อาจทาให้ลูกที่เกิดมามีความ ผิดปกติหรือทาให้คนที่รับสารพิษเข้าไปกลายเป็นมะเร็ง นอกจากดื่มน้าหรือกินปลาที่มีสารมลพิษต่อให้เกิด อันตรายต่อร่างกายแล้ว การอาบน้าหรือวายน้าที่มีภาวะมลพิษก็ทาให้เกิดการระคายเคืองหรือความผิดปกติที่ รุนแรงได้ สิ่งแรกที่ต้องทาในการทาความสะอาดแหล่งมีสารพิษ เช่น แม่น้าคูยาโฮกา คือการค้นหาต้นตอของ สารมลพิษเพื่อป้องกันไม่ให้เกิดความเสียหายเพิ่มขึ้น แหล่งสาคัญของสารมลพิษคือ ของเสียของมนุษย์ของ เสียจากโรงงานอุตสาหกรรม สารเคมีการเกษตร และน้าไหลบ่าจากถนน 2.1 สาเหตุของการเกิดมลพิษทางน้า 2.1.1.ของเสียจากมนุษย์ ในปัจจุบันการทิ้งของเสียจากมนุษย์ลงในน้าเพื่อการบริโภคจะทาให้เกิดการแพร่ระบาด ของโรคได้ แต่นักวิทยาศาสตร์เพิ่งเข้าใจเหตุผลดังกล่าวเมื่อ 150 ปีซึ่งผู้คนในย่านดังกล่าวจะน้าน้าจากบ่อ สาธารณะใส่ถังกลับไปยังบ้านของตนเมื่อมีการแพร่ระบาดของโรค คอหิวาต์ ในชุมชนแห่งหนึ่งและทาให้มี คนตายถึง 500 คนภายในเวลา 10 วัน นายแพทย์สโนว์ จึงทาการตรวจสอบและพบว่าสาเหตุของโรคระบาด เกิดจากบ่อน้าแห่งหนึ่งที่อยู่ใกล้กับท่อน้าโสโครก เขาจึงพยายามยับยั้งการระบาดของโรคโดยการถอดเอา คันโยกจากจากบ่อน้านั้นเพื่อป้องกันไม่ให้ประชาชนไปใช้น้าจากบ่อน้าดังกล่าว งานของนายแพทย์สโนว์ ชี้ให้เห็นว่าการปล่อยน้าที่โสโครกปนเปื้อนน้าที่ใช้เพื่อการบริโภคอาจก่อให้เกิดอันตรายได้
  • 3. 3 แหล่งที่มาของของเสียที่เป็นอันตราย ของเสียที่เป็นอันตรายมีที่มาจากแหล่งกาเนิดที่สาคัญ 3 แหล่ง ได้แก่ 1. โรงงานอุตสาหกรรม กากสารเคมีที่ได้จากขบวนกาวผลิต หรือ สารเคมีที่เหลือใช้ ภาชนะบรรจุสารเคมีตลอดจนผลิตภัณฑ์ที่เสื่อมคุณภาพหรือไม่ได้มาตรฐานรวมทั้งกากตะกอนจากระบบ บาบัดน้าทิ้งของโรงงานเป็นของเสียอันตรายที่จะต้องได้รับการจัดการอย่างถูกต้อง ของเสียเหล่านี้อาจมีทั้ง ประเภทที่มีลักษณะเป็นสารที่เป็นพิษ สารไวไฟ สารกัดกร่อน หรือมีหลายลักษณะรวมกันขึ้นอยู่กับประเภท ของโรงงานอุตสาหกรรม อาทิ ของเสียจากโรงงานชุบโลหะส่วนใหญ่จะมีสารพิษ เช่น ไซยาไนด์ และสาร โลหะหนักเจือปนอยู่ได้แก่ โครเมียม แคดเมียม สังกะสี ทองแดง ฯลฯ ของเสียจากโรงงานผลิตโซดาไฟใน ขบวนการผลิตแบบเก่า จะมีพวกสารปรอทปะปนอยู่ ของเสียจากโรงงานผลิตสีหรือโรงงานทอผ้าที่มีการ ย้อมสีจะมีสารพวกตะกั่ว ปรอท และสารหนู ฯลฯ ของเสียจากโรงงานผลิตและบรรจุยาฆ่าแมลง ส่วนใหญ่ จะเป็นภาชนะบรรจุวัตถุดิบ หรือผลิตภัณฑ์ที่ไม่ใช้แล้ว ซึ่งอาจจะมีสารเคมีที่เป็นพิษ หรือสารยาฆ่าแมลงติด ค้างอยู่ของเสียจากโรงกลั่นน้ามันจะเป็นพวกกากตะกอนน้ามันดิบ ซึ่งเป็นสารไวไฟ และอาจมีโลหะหนัก เช่น ตะกั่ว เจือปนอยู่ของเสียจากโรงงานผลิตเฟอร์นิเจอร์และเครื่องใช้ที่เป็นโลหะจะเป็นพวกกรดหรือด่าง ที่ใช้ในการผลิต 2. ชุมชนหรือบ้านเรือนที่พักอาศัย ของที่ใช้อยู่ในชีวิตประจาวันบางชนิดอาจจะมีสารเคมีที่ เป็นพิษหรือสารไวไฟ หรือสารกัดกร่อนเป็นส่วนประกอบอยู่ด้วย แม้ว่าของนั้นจะหมดสภาพการใช้งาน แล้ว แต่สารเคมีที่เป็นส่วนประกอบก็ยังคงเหลือความเป็นอันตรายในตัวเองอยู่ ถ้าดาเนินการกับของเสีย นั้นๆ อย่างไม่ระมัดระวังหรือไม่ถูกวิธี ก็จะทาให้สารเคมีที่อยู่ในของเสียนั้นรั่วซึมออกมาได้ เช่น ซาก ถ่านไฟฉาย จะมีสาวโลหะหนักพวกแมงกานีส หรือแคดเมียมอยู่ภายใน ซากแบตเตอรี่รถยนต์ เก่าอาจมี น้ากรด และมีสาวโลหะหนักพวกตะกั่วเหลืออยู่นอกจากนี้หลอดฟลูออเรสเซนต์ที่หมดอายุใช้งานแล้วยังคง มีสารปรอท เหลืออยู่เศษของเสียเหล่านี้ถ้าถุฏทิ้งไปโดยไม่ดูแลให้ถูกต้อง สารพิษดังกล่าวอาจถูกน้าชะล้าง ออกมาปนเปื้อนต่อสิ่งแวดล้อมได้นอกจากนี้น้ามันเครื่อง น้ามันเบรคที่ใช้ในรถยนต์แม้จะใช้แล้วก็ยังคง ความเป็น สารไวไฟหรือสารกัดกร่อน สาหรับภาชนะที่บรรจุยาฆ่าแมลงสาบและยุงที่ใช้หมดแล้วอาจมีเศษ ของยาฆ่าแมลงเหลือติดค้างอยู่ น้ายาขัดพื้น หรือน้ายาล้างห้องน้าจะมีส่วนผสมของกรดหรือด่างแม้จะใช้ แล้วก็ยัง คงมีฤทธิ์ในการกัดกร่อนอยู่ ส่วนสี ทินเนอร์ ยาตลอดจนเครื่องสาอางค์ที่หมดอายุแล้ว ก็นับเป็น ของเสียที่เป็นอันตรายด้วยเช่นกัน
  • 4. 4 ของเสียที่ถูกทิ้งออกมาจากโรงพยาบาลและสถานพยาบาลต่างๆ บางส่วนอาจจะมีเชื้อโรคติดต่อปะปนอยู่ เช่น เศษเนื้อเยื่อ ชิ้นส่วนอวัยวะต่างๆ น้าเหลือง น้าหนอง เสมหะ น้าลาย เหงื่อ ปัสสาวะ อุจจาระ ไขข้อ น้า ในกระดูก น้าอสุจิ เลือด เซรุ่มของผู้ป่วย เครื่องใช้ที่สัมผัสกับผู้ป่วย เช่น ลาลี ผ้าพันแผล กระดาษชาระ เข็ม ฉีดยา มีดผ่าตัด เสื้อผ้า จากห้องฉุกเฉิน ห้องปัจจุบันพยาบาล ห้องออร์โธปิดิกส์ หน่วยโลหิตวิทยา ห้อง ศัลยกรรม ห้องอายุรกรรม ห้องกุมารเวชกรรม ห้องสูตินารีเวชกรรม หน่วยพยาธิวิทยา เป็นสิ่งของที่มีความ เสี่ยงต่อการติดโรคหากไปสัมผัสเข้า นอกจากของเสียที่ติดเชื้อโรคแล้วยังมีของเสียชนิดอื่นอีก เช่น ยาที่ หมดอายุแล้ว และสารเคมีที่ใช้ในการแพทย์ตลอดจนซากสัตว์หรืออุปกรณ์ที่ทิ้งจากห้องเลี้ยงสัตว์ทดลอง เป็นต้น 3. การเกษตรกรรม ได้แก่ การผลิตและการใช้สารเคมีทางการเกษตร เช่น ยากาจัดแมลง ยา กาจัดวัชพืช ยากาจัดเชื้อราที่เหลือใช้หรือเสื่อมคุณภาพ ภาชนะที่บรรจุยากาจัดศัตรูพืชต่างๆ ซึ่งอาจมีเศษยา ติดค้างอยู่สารเคมีเหล่านี้มีความเป็นพิษในตัวของมันเอง บางชนิดมีความคงทนไม่สลายตัวง่าย ทาให้มีฤทธิ์ อยู่ได้นาน ส่วนใหญ่นอกจากจะมีพิษต่อศัตรูพืชแล้วยังมีพิษต่อมนุษย์ด้วย 2.2 น้าโสโครกในเมือง ในปัจจุบันน้าเสียจะถูกบาบัดก่อนจะปล่อยทิ้งออกสู่สิ่งแวดล้อมแต่ขั้นตอนการบาบัดน้าดังกล่าว สามารถฆ่าแบคทีเรียได้เท่านั้น แต่ไวรัสและปรสิตอื่นๆ สามารถทนต่อคลอรีนและกระบวนการต่างๆที่ใช้ ในการบาบัดน้าได้ไวรัสและปรสิตเหล่านนี้ส่วนใหญ่มาจากของเสียจากคนและสัตว์สามารถปนเปื้อนเข้าสู่ น้าที่ใช้บริโภค ในช่วงที่มีฝนตกหนักและน้าท่วม น้าโสโครกอาจล้นและไหลไปรวมกับท่อน้าฝน เมื่อท่อ น้าฝนลงสู่น้าผิวดินโดยไม่ผ่านการบาบัดของเสียในน้าโสโครกก็จะปนเปื้อนเข้าสู่น้าผิวดินได้โดยตรง ด้วย เหตุนี้ประชาชนจึงมักต้มน้าที่ใช้ในการบริโภคหลังจากมีน้าท่วมจะช่วยฆ่าจุลินทรีย์จานวนมากที่อาจก่อโรค
  • 5. 5 2.3 น้าโสโครกในชนบท การทิ้งของจากมนุษย์ไม่ได้มีปัญหาสาหรับเมืองใหญ่เท่านั้น แต่เป็นปัญหาสาหรับผู้คนในชนบท เช่นกัน คนในชนบทต้องระวังเกี่ยวกับการติดตั้งถังปฏิกูล เพราะถ้าติดตั้งใกล้แม่น้าหรือภูเขาน้าเสียอาจรั่วลง สู่ลาธารหรือไหลเข้าสู่บ่อที่อยู่ด้านล่างของภูเขา ของเสียจากวัว หมูและไก่เป็นแหล่งของแบคทีเรียที่ก่อโรค และสารมลพิษอื่นๆที่ไหลจากคอกหรือโรงเลี้ยงสัตว์ลงไปในแหล่งน้าได้ รูปที่ 2.3 ขยะและซากพืชซากสัตว์ในแม่น้าลาคลอง 2.4 ของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม เมืองและนครใหญ่ในประเทศอเมริกามีระบบการบาบัดน้าโสโครกที่มีประสิทธิภาพด้วยเหตุนี้ ส่วนต่างๆของประเทศจึงหันมาแก้ปัญหาการปนเปื้อนของน้าจากโรงงานและเหมืองที่ยังเป็นปัญหาอยู่ สาร มลพิษจากอุตสาหกรรมได้แก่ สารเคมี ควัน และน้าร้อน - สารเคมี กระบวนการมากมายในโรงงานโดยเฉพาะอย่างยิ่งในอุตสาหกรรมการผลิตสีและ พลาสติกหรืออุตสาหกรรมที่เกี่ยวกับการแปรรูปโลหะมักใช้สารเคมีที่เป็นพิษและสารที่เป็นกรดรุนแรงใน กระบวนการผลิต ในขณะที่กระบวนการผลิตและการทาเหมืองมักปล่อยของเสียที่เป็นสารพิษจาก ปฏิกิริยาข้างเคียงหรือผลพลอยได้จากปฏิกิริยา ถึงแม้ว่าจะมีกฎหมายจากัดและควบคุมการปล่อยสารเคมี เหล่านี้ออกจากโรงงาน แต่โรงงานบางแห่งยังปล่อยสารพิษลงสู่แม่น้าและทะเลสาบโดยตรง ของเสียที่ถูก เก็บสะสมไว้เป็นอีกปัญหาหนึ่งที่ต้องแก้ไขเนื่องจากโรงงานอุตสาหกรรมเก็บสะสมของเสียที่เป็นพิษในถัง หรือภาชนะอื่นๆก่อนที่จะนาไปกลบไว้ในดินเมื่อเวลาผ่านไปภาชนะเหล่านี้เกิดการผุพังหรือแตกออก สารเคมีที่อยู่ข้างในจึงมีรั่วไหลออกมาปนเปื้อนกับดินและน้าบาดาลใต้ดินได้
  • 6. 6 - โรงานผลิตกระแสไฟฟ้าและโรงงานหลายแห่งเผ่าถ่านหินหรือน้ามัน เพื่อใช้เป็นพลังงานใน กระบวนการผลิต นอกจากนี้เครื่องยนต์และรถยนต์รถบรรทุก รถเมล์ นับล้านคันต่างก็เผ่าผลาญน้ามันเป็น พลังงานเช่นเดียวกัน ควันและไอเสียจากกิจกรรมต่างๆเหล่านี้มีผลให้เกิดควันและไอเสียออกสู่อากาศทุกวัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งตามเมืองขนานใหญ่ ควันและไอเสียเหล่านี้ประกอบด้วยก๊าซซัลเฟอร์ไดออกไซด์และ ไนโตรเจนออกไซด์ ซึ่งเมื่อรวมตัวกับน้าฝนหรือหิมะก๊าซเหล่านี้จะกลายเป็นกรดซัลฟูริกและกรดไนตริก ปนอยู่ในน้าฝนและหิมะ น้าฝนและหิมะที่ตกลงมาจึงมีความเป็นกรดสูงกว่าปกติเรียกว่า ฝนกรด เมื่อฝนกรด ตกมายังทะเลสาบหรือบ่อน้าจะทาให้น้าเหล่านั้นกลายเป็นกรดเพิ่มขึ้นจึงถึงขั้นเป็นอันตรายต่อปลาและ สิ่งมีชีวิตที่อาศัยในแหล่งน้านั้นฝนกรดที่ตกลงมายังมรผลให้เกิดการสึกกร่อนของอาคารและรูปปั้นที่อยู่ กลางแจ้งด้วย รูปที่ 2.4 ควันจากโรงงานและรถยนต์ 2.5 การบาบัดน้าที่ปนเปื้อน สารมลพิษหลายชนิดจะถูกกาจัดออกจากน้าที่ปนเปื้อนโดยกระบวนการบาบัดน้าที่เกิดขึ้นตาม ธรรมชาติ เนื่องจากสิ่งมีชิตในทะเลสาบ ลาธาร และพื้นที่ชุ่มน้า จะช่วยกรองและทาลายของเสียทิ้งไป เช่น รากพื้นจะทาหน้าที่เป็นตัวกรองอนุภาคขนานใหญ่ออกจากน้า พืชบางชนิดเช่น ผักตบชวา และแหนสามารถ ดูดซึมโลหะและสารเคมีบางชนิดได้ แบคทีเรียในธรรมชาติบางชนิดสามรถกาจัดสารพิษบางชนิดได้ เช่นเดียวกับแบคทีเรียที่ใช้ในระบบบาบัดน้าเสีย เช่น แบคทีเรียที่สามารถย่อยสะลายน้ามันจะช่วยกาจัด น้ามันที่ปนเปื้อนในน้า แบคทีเรียที่ย่อยสลายของเสียก็สามารถย่อยสลายสารเคมีที่เป็นพิษในแม่น้าและ ทะเลสาบได้
  • 7. 7 ระบบในการกาจัดสารมลพิษในน้าอาจเกิดขึ้นโดยการเลียนแบบกระบวนการบาบัดตามธรรมชาติ เหล่านี้ เช่น การใช้พื้นที่ชุ่มน้าทั้งที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติหรือที่สร้างขึ้นน้าที่ปนเปื้อน มีการสร้างพื้นที่ชุ่มน้า ใกล้เหมืองถ่านหินเพื่อบาบัดน้าไหลบ่าที่เป็นก่อนที่ปล่อยน้ากลับคืนสู่สิ่งแวดล้อม รูปที่ 2.5 สภาพแวดล้อมที่สวยงาม ไม่เพียงแต่สิ่งมีชีวิตสามารถช่วยในการกาจัดสารมลพิษเท่านั้น การไหลซึมผ่านชั้นหินหรือทรายลง ไปยังชั้นหินหุ้มน้าก็คลายกับการผ่านตัวกรองตามธรรมชาติและช่วยให้น้าบาดาลขึ้น แต่การกรองตาม ธรรมชาติยังคงไม่สามารถแยกหรือกาจัดสารมลพิษหลายชนิด เช่น โลหะหรือสารเคมีที่สร้างขึ้นได้ การ กาจัดสารมลพิษในกลุ่มนี้ออกจากน้าบาดาลทาได้ยากมาก วิธีหนึ่งที่จะสามารถกาจัดสารพิษเหล่านี้ออกจาก น้าบาดาล คือการสูบน้าบาดาลขึ้นมาและส่งเข้าโรงงานบาบัดน้าก่อนที่ปล่อยลงสู่ทะเลสาบที่อยู่ใกล้เคียง 2.6 การป้องกันและแก้ไขมลพิษทางน้า การควบคุมการปล่อยน้าทิ้งลงในแหล่งน้า น้าทิ้งจากแหล่งต่าง ๆ ควรจัดการให้มีระบบ บาบัดน้า เสีย ตัวอย่างเช่น ระบบบาบัดน้าเสียของสหกรณ์โคนมหนองโพราชบุรี 2.6.1 การกาจัดความเน่าเสียโดยธรรมชาติ โดยปกติปฏิกูลที่ทิ้งลงในน้าจะถูกจุลินทรีย์กาจัดอยู่แล้ว โดยธรรมชาติ น้าในแม่น้าลาคลองที่มีปริมาณสารอินทรีย์มากเกินไปจะทาให้เกิดสภาวะ ที่ไม่เหมาะตอการ ดารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในน้า ธรรมชาติมีกระบวนการกาจัดเพื่อช่วยลด สารอินทรีย์ให้มีจานวนคงที่และ เหมาะแก่สิ่งมีชีวิต ในกระบวนการย่อยสลายสารอินทรีย์์์โดยใช้ออกซิเจนช่วยนี้ จุลินทรีย์ที่มีอยู่มากมาย ในน้าจะทาการย่อยสลายสารอินทรีย์ในน้า ให้กลายเป็นแก๊ส คาร์บอนไดออกไซด์และน้ามนุษย์และสัตว์
  • 8. 8 หายใจออกมาก็มีแก๊สนี้ปะปนอยู่ พืชสีเขียวสามารถนาไปใช้สังเคราะห์แสงได้ผลจากปฏิกิริยาการ สังเคราะห์แสงทาให้ได้พลังงานซึ่งจุลินทรีย์จะนาไปใช้ในการดารงชีวิตต่อไป วิธีแก้ไขหรือป้องกันมิให้น้า เสีย วิธีหนึ่งก็คือ ควบคุมจานวนจุลินทรีย์ให้อยู่ในช่วงที่เหมาะสม ไม่มากเกินไปจนเกิดการ ขาดแคลนออก ซิ เจน หรือไม่น้อยเกินไปจนย่อยสลายไม่ทัน รวมทั้งต้องควมคุมปริมาณ ออกซิเจนในน้าให้มีพื้นที่ผิ วน้า มากพอที่จะทาให้ ออกซิเจนแทรกลงไปในน้าได้สะดวก ซึ่ง อาจช่วยได้ด้วยการทาให้อากาศในน้าเกิดการ หมุนเวียนตลอดเวลานอกจากนี้อาจจะใช้วิธีการ เลี้ยงปลา เช่นที่สหกรณ์โคนมหนองโพราชบุรี จากัด ใน พระบรมราชูปถัมภ์ใช้วิธี การเลี้ยง ปลานิลในบ่อน้าทิ้งที่ใช้ในการล้างทาความสะอาดอุปกรณ์ และ เครื่องจักรที่ปนเปื้อนนม ปลานิลจะกาจัดน้าเสียโดยกินเศษนมที่ปนอยู่ในน้า เป็นต้น 2.6.2 การทาให้เจือจาง หมายถึงการทาให้ของเสียเจือจางลงด้วยน้าจานวนมากเพียงพอ เพื่อลด ปริมาณความสกปรก เช่น การระบายน้าเสียลงในแม่น้าลาคลอง ในการระบายนั้นจาเป็น ต้องคานึงถึง ปริมาณความสกปรกที่แหล่งน้านั้นจะสามารถรับได้ด้วย ปริมาณความสกปรก ของน้า ที่แหล่งน้าจะรับได้ ขึ้นอยู่กับปริมาตรน้าที่ใช้ในการเจือจาง หรือขึ้นอยู่กับอัตราการ ไหลของน้าในแหล่งน้า วิธีนี้จาเป็นต้องใช้ เนื้อที่กว้าง หรือปริมาตรมากจึงจะพอเพียงต่อ การเจือจางความสกปรก โดยสากลถือว่าน้าสะอาดควรมีค่า บี โอดี 2 มิลลิกรัมต่อลิตร ถ้าค่า บีโอดี มากกว่า 100 มิลลิกรัมต่อลิตร ถือว่าน้านั้นมีโอกาสเน่าเสียได้ น้าทิ้ง ควรมีค่าสาร แขวนลอย 30 มิลลิกรัมต่อลิตร และค่า บีโอดี 20 มิลิกรัมต่อลิตรซึ่งเมื่อถูกเจือจาง ด้วยน้า สะอาดจากแม่น้า 8 เท่าแล้ว จะมีค่า บีโอดี ไม่เกิน 4 มิลลิกรัมต่อลิตรน้าใน ลักษณะดังกล่าวถือว่าไม่มีความ เน่าเสียแล้ว 2.6.3 การทาให้กลับคืนสู่สภาพเดิมและการนากลับมาใช้อีก เป็นวิธีทาให้น้าทิ้งกลับคืนมาเป็นผล พลอยได้และนามาใช้ประโยชน์ได้อีก หลักการนี้มีผลดีต่อโรงงานอุตสาหกรรมโดยตรง ในการลดปริมาณ ของเสียที่ปล่อยจากโรงงาน โดยช่วยลดค่าใช้จ่ายในการกาจัดของเสีย ประหยัดค่าใช้จ่ายในการผลิต เนื่องจากนาสิ่งที่ใช้แล้วมาได้อีก การนาเอาน้าที่ใช้แล้ว กลับมาใช้ในกิจการอื่นอีก ไม่จาเป็นต้องใช้น้าที่มี ความสะอาดมากนัก ดังนั้นในปัจจุบัน วิธีการนี้จึงเป็นที่นิยมกันมาก 2.6.4 ในกรณีที่น้าเน่าเสียแล้ว ห้ามทิ้งสิ่งปฏิกูลลงในแหล่งน้าอีก ทั้งนี้เพื่อให้เวลากับแหล่งน้า กลับคืนสู่สภาพปกติตามธรรมชาติ แต่ถ้าการกลับคืนสู่สภาพเดิมช้าเกินไป สามารถเร่งได ์้ด้วยการเพิ่ม ออกซิเจนเพื่อให้แบคทีเรียทางานได้ดีขึ้น โดยกระทาดังนี้
  • 9. 9 - ทาให้ลอยตัว โดยใช์โฟลตติง แอเรเตอร์ (Flaoting aerator) หลาย ๆ ตัวเติมออกซิเจน เป็นระยะ ๆ ตลอดลา น้าที่เน่าเสีย วิธีนี้สิ้นเปลืองค่าใช้จ่ายสูง จึงนิยมใช้กับปากแม่น้าที่ติด ทะเล ซึ่งมีการเน่าเสียร้ายแรงกว่า บริเวณอื่น ๆ - ใช้เรือแล่น เพื่อให้เกิดฝอยน้าและคลื่นเป็นการเพิ่มออกซิเจนให้แก่ลาน้าบริเวณที่เสีย - เพิ่มปริมาณน้า และอัตราการไหลของน้าให้ไหลพัดพาน้าส่วนที่เน่าเสียลงในทะเล ให้หมดโดยใช้ฝนเทียม ช่วย 2.6.5 การกักเก็บของเสียไว้ระยะหนึ่งก่อนปล่อย หรือกักเก็บไว้เพื่อปล่อยออกทีละน้อยโดย สม่าเสมอ ทั้งนี้เพื่อให้เวลาของเสียเปลี่ยนแปลงสลายตัวไปเองตามธรรมชาติ 2.6.6 การถ่ายเทของเสียจากที่แห่งหนึ่งไปยังอีกแห่งหนึ่ง เพื่อเปลี่ยนแปลงแหล่งรับของเสียใหม่ ทั้งนี้เพื่อหลีกเลี่ยงการทิ้งของเสียจานวนมากเกินไปลงสู่แหล่งรับของเสียเดิมจนทาให้เกิด ปัญหา สิ่งแวดล้อมเสียอีก
  • 10. 10 บทที่ 3 มลพิษทางอากาศ อากาศคือ อากาศที่อยู่รอบๆตัวเรา คือส่วนผสมของก๊าซต่างๆหลายชนิด ส่วนประกอบของก๊าซคือ ออกซิเจนและไนโตรเจน ส่วนประกอบเพียงเล็กคือ ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และก๊าซอื่นๆ ก้อนเมฆบนท้องฟ้าก็คือไอน้าในอากาศ ที่จับตัวกันเวลาอากาศเย็นและกลายเป็ นก้อนเมฆ ดังนั้น ส่วนประกอบสุดท้ายของอากาศคือ ไอน้า เมื่อขึ้นไปอยู่ที่สูงๆจะรู้สึกอึดอัดหายใจติดขัด เพราะอากาศที่สูง 3.1 สาเหตุของการเกิดมลพิษทางอากาศ บรรยากาศประกอบด้วยสิ่งต่างๆที่เบาพอจะล่องลอยอยู่ได้และพาไปได้ด้วยกระแสลม ตาม ธรรมชาติภาวะเหล่านี้เกิดขึ้นจากพายุฝุ่น ไฟป่ า หรือการปะทุของภูเขาไฟ แต่ในช่วงหลายปีที่ผ่านมา กิจกรรมของมนุษย์ให้เกิดมลภาวะทางอากาศมากขึ้น เมื่อประชากรเพิ่มขึ้นก็มีการปล่อยของเสียจาก ภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตรกรรม เข้าสู่อากาศมากขึ้น เครื่องยนต์และเตาเผาที่ใช้เชื้อเพลิงปิโตรเลียม เช่น น้ามัน ถ่านหิน แก๊สธรรมชาติเป็นแหล่งกาเนิดมลภาวะทางอากาศหลายชนิด สารประกอบเคมีบางชนิด เช่น คลอโรฟูออโรคาร์บอน ที่มีอยู่ในคอมเพรสเซอร์ตู้เย็นและกระป๋ องสเปรย์ไม่เพียงแต่ปะปนในอากาศ เท่านั้น แต่ยังทาลายชั้นโอโซนด้วย เมื่อเผาไหม้เชื้อเพลิง เช่น ถ่านหิน น้ามัน ก็จะเกิดก๊าซหลายชนิดกระจายออกไปในอากาศ หากก๊าซ เหล่านั้นมีจานวนมากเกินไปจะทาให้เกิดอันตรายต่อสัตว์ผู้คน พืช รวมทั้งโลกด้วย เมื่อเผาไหม้เชื้อเพลิง จานวนมากเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า ผลิตสิ่งของต่างๆ ร่วมทั้งใช้เชื้อเพลิงกับยานพาหนะ มนุษย์เราเชื่อว่าต้อง ใช้เชื้อเพลิงให้น้อยและแสวงหาพลังงานชนิดใหม่มาใช้แทน ตารางที่ 3.1 ตารางมลภาวะอากาศต่างๆ ซัลเฟอร์ออกไซด์ เป็นสารประกอบระหว่างธาตุกามะถันกับออกซิเจน เกิดจากการเผาเชื้อเพลิงไนโตรเจน ออกไซด์ เกิดจากการเผาผลาญเชื้อเพลิง เกิดเป็นหมอกควันที่ ทาปฏิกิริยากบแสงไฮโดรเจนคลอไรด์เป็นแก๊สที่ ระเหยง่ายและมีกลิ่นมาจากโรงงานอุตสาหกรรมฝุ่น ละออง เกิดจากหลายสาเหตุ เป็นสาเหตุของโรคทางเดิน หายใจเข้าไปควันและเขม่า ประกอบด้วยเขม่าของ คาร์บอนและน้ามันดิน นากจากนี้ยังมีสารที่เป็นพิษ ที่เป็นอนุภาคเล็กๆที่ขวนลอยอยู่ในอากาศ
  • 11. 11 3.2 ผลกระทบ มลภาวะทางอากาศเกิดผลเสียหลายอย่าง ทั้งทางตรงที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพอนามัยของมนุษย์และ ทางอ้อมซึ่งได้แก่ ทาให้เกิดการบดบังแสงสว่างจากดวงอาทิตย์ที่ส่องมายังพื้นโลก หรือการทาลายทรัพย์สิน หรือสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ ผลต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ มลพิษทางอากาศ มีผลต่อสุขภาพอนามัยของคนและสัตว์ปกติมลพิษทางอากาศจะเข้าสู่ร่างกายได้ จากระบบหายใจ ซึ่งแบ่งเป็นระบบทางเดินหายใจส่วนบน (ช่องจมูก และหลอดลม) และระบบทางเดิน หายใจส่วนล่าง (Bronchial tubes และปอด) เมื่อร่างกายหายใจเอาสิ่งแปลกปลอมปะปนเข้าไป ระบบหายใจ จะมีวิธีการต่อต้านโดยระบบทางเดินหายใจส่วนบนจะกรองฝุ่นที่มีขนาดใหญ่ (มากกว่า 5 ไมครอน) ไว้ ส่วนฝุ่นที่มีขนาดเล็กที่รอดจากการกรองเข้าไปถึงปอดทาให้เกิดการระคายเคืองได้ อากาศเป็นพิษ ทาให้เกิดโรคระบบทางเดินหายใจในปริมาณสูง สถิติผู้ป่วยด้วยโรคระบบทางเดิน หายใจในกรุงเทพมหานครสูงขึ้นประมาณร้อยละ 20 ของทุกปี ทางการแพทย์พบว่า หากมนุษย์ขาดอากาศ ซึ่งมีออกซิเจนสาหรับการหายใจ เพียง 2-3 นาทีก็อาจตายได้ ถ้า 5 นาทีตายแน่ อากาศในกรุงเทพเป็นพิษ อย่างมากหลายจุด โดยมากเกิดจากไอเสียของรถยนต์โรงงานอุตสาหกรรม ถ้ามลพิษทางอากาศมากเกินขีด อาจทาให้เกิดอันตรายถึงชีวิต ผลกระทบต่อสัตว์และพืช สารมลพิษต่างๆในอากาศจะเข้าสู่ต้นพืชทางใบด้วยกระบวนการหายใจของพืช ภายหลังการได้รับ มลพิษของต้นพืชมลพิษในอากาศ เช่น สารพวกออกซิแดนซ์ จะไปทาให้ส่วนของใบแห้งเหี่ยว และทาให้ เซลล์ใบยุบตัว ซัลเฟอร์ไดออกไซด์ทาให้พืชเกิดพิษเรื้อรังทาให้พืชไม่เจริญเติบโตเกิดจากการสูญเสีย คลอโรฟิลล์ หรือการหยุดสร้างคลอโรฟิลล์ ไนโตรเจนออกไซด์จะทาให้เกิดแผลที่ใบและทาให้เกิดพิษ เฉียบพลัน ส่วนสัตว์จะได้รับสารมลพิษเข้าสู่ร่างกายโดยการที่หายใจเอาอากาศที่มีมลพิษปะปนอยู่ด้วยเข้าสู่ร่างกาย โดยตรง หรือโดยการที่สัตว์กินหญ้าหรือพืชอื่น ๆ ที่มีมลพิษทางอากาศตกสะสมอยู่ด้วยปริมาณมากพอที่จะ เกิดอันตรายได้มลพิษทางอากาศที่พบว่าทาให้เกิดอันตรายต่อปศุสัตว์มากที่สุด ได้แก่ อาร์เซนิกหรือสารหนู ฟลูออรีน ตะกั่ว และแคดเมียม เป็นต้น
  • 12. 12 3.3 แนวทางการแก้ไขปัญหาการเกิดมลพิษทางอากาศ อากาศเป็นปัจจัยสาคัญในการดารงชีวิต ดังนั้นจึงมีความจาเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องควบคุมคุณภาพอากาศให้อยู่ ในสภาพที่ไม่เป็นอันตรายต่อชีวิตและทรัพย์สิน จึงจาเป็นต้องหามาตรการต่าง ๆ เพื่อป้องกันและแก้ไข ปัญหามลพิษทางอากาศ ซึ่งสามารถทาได้หลายวิธีด้วยกัน คือ 1. การเฝ้าระวังคุณภาพอากาศ 1.1. การตรวจวัดคุณภาพอากาศด้วยหน่วยเคลื่อนที่ ซึ่งอาจทาได้โดยอาศัยเจ้าหน้าที่ของรัฐติดตามตรวจสอบ ศึกษาแนวโน้มคุณภาพอากาศตามจุดต่าง ๆ ที่ต้องการ 1.2. การติดตั้งสถานีตรวจวัดคุณภาพอากาศ เป็นการเฝ้าระวังที่ติดตั้งสถานีตรวจวัดแบบถาวร เพื่อเฝ้าระวัง คุณภาพอากาศในทุก ๆ ย่าน เช่น ย่านที่พักอาศัย ย่านอุตสาหกรรม ย่านธุรกิจ ไม่ให้เกินมาตรฐาน หากพบว่า คุณภาพ อากาศในย่านใดเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน พืช สัตว์ และทรัพย์สินต่าง ๆ จะได้หาทางป้องกันหรือแก้ไขมิให้เกิดผลเสียหายอีกต่อไป 1.3. การสังเกตการเปลี่ยนแปลงโดยประมาณ ซึ่งอาจสังเกตได้โดยประชาชนทั่วไปพบหรือสังเกตเห็นสิ่ง ผิดปกติเกี่ยวกับคุณภาพอากาศ เช่น เห็นหมอกควันควรรีบแจ้งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทราบ 2. การควบคุมและป้องกันการปล่อยมลพิษจากแหล่งกาเนิด การใช้เทคโนโลยีหรืออุปกรณ์ควบคุมมลพิษประเภทต่าง ๆ นั้น จะติดตั้งเข้ากับแหล่งกาเนิดของมลพิษ เพื่อ ทาหน้าที่กาจัดหรือลดปริมาณของมลสารที่ถูกปล่อยออกสู่บรรยากาศ ซึ่งในการควบคุมสภาวะอากาศเป็นพิษ นั้น จะต้องพิจารณาเลือกวิธีการที่เหมาะสมประหยัดและได้ผลดีที่สุด โดยมีหลักการใหญ่ ๆ ดังนี้ 2.1 พยายามเลือกใช้วัตถุดิบและเชื้อเพลิงที่ไม่มีสารก่อมลพิษทางอากาศ 2.2 ปรับปรุงคุณภาพวัตถุดิบหรือเชื้อเพลิงที่ใช้ในกระบวนการผลิตให้มีองค์ประกอบของสาร ที่อาจ ก่อให้เกิดสารเป็นพิษขึ้นในภายหลังน้อยที่สุด 2.3 ปรับปรุงแก้ไขวิธีการในกระบวนการผลิตให้สามารถช่วยลดการเกิดสารมลพิษจากขั้นตอน การผลิตให้ เหลือน้อยหรือไม่มีเลย 2.4 ติดตั้งระบบบาบัดหรือปรับปรุงอุปกรณ์การกาจัดมลพิษทางอากาศให้เหมาะสมและมี ประสิทธิภาพ ซึ่ง สามารถทาได้หลายวิธี ขึ้นอยู่กับชนิดและลักษณะของแหล่งกาเนิดมลพิษ ซึ่งจะต้องพิจารณาถึงปริมาณและ ชนิดของอากาศเสีย มาตรฐานปริมาณอากาศเสียที่ยอมให้ปล่อยออกสู่บรรยากาศ ค่าใช้จ่ายในการลงทุนและ การใช้งาน
  • 13. 13 3. การกาหนดมาตรฐานคุณภาพอากาศ ต้องครอบคลุมสารมลพิษอากาศทุกประเภทจากแหล่งก่อมลพิษประเภทต่าง ๆ มีวัตถุประสงค์เพื่อป้องกัน ผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชนและสิ่งแวดล้อมเป็นสาคัญ และควรมีการปรับปรุงมาตรฐานให้ สอดคล้องกับสถานการณ์และปัญหาที่เกิดขึ้นอยู่ตลอดเวลา 4. การออกกฎหมาย โดยมุ่งหมายเพื่อใช้เป็นกฎเกณฑ์และมาตรการที่มีผลบังคับใช้ตามกฎหมาย ซึ่งกฎเกณฑ์ต่าง ๆ ที่ออกมานั้น ต้องมีความเหมาะสมและถูกต้องตามหลักวิชาการเสมอ รวมทั้งเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติต้องสามารถบังคับให้เป็นไป ตามที่กฎหมายบัญญัติไว้ได้ 5. การกาหนดนโยบายและวางแผน เพื่อควบคุมมลพิษอากาศ 5.1 การแบ่งแยกเขตเฉพาะ (Proper Zone) คือ การวางผังเมืองหรือชุมชนออกเป็นเขตหรือย่าน ต่าง ๆ ให้มีความเหมาะสมตามสภาพท้องถิ่นและกิจกรรมของชุมชนโดยแบ่งออกเป็นย่านต่าง ๆ ไม่ปะปนกัน เช่น ย่านการค้า ย่านอุตสาหกรรมและย่านที่อยู่อาศัย การกาหนดผังเมืองออกเป็นย่านต่าง ๆ จะช่วยให้ สามารถควบคุมและปฏิบัติงานเกี่ยวกับมลภาวะอากาศได้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น 5.2 การควบคุมกิจกรรมต่าง ๆ (Control of Activities) คือการดาเนินงาน เพื่อควบคุมกิจกรรม ต่าง ๆ ในชุมชนโดยเฉพาะกิจกรรมที่เป็นแหล่งก่อให้เกิดสารที่เป็นต้นเหตุทาให้เกิดสภาวะอากาศเป็นพิษ จะต้องได้รับการควบคุมอย่างใกล้ชิด 5.3 การให้การศึกษาและเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ซึ่งจะต้องจัดทาในหลายระดับ หลายรูปแบบ และ ให้กับกลุ่มชนทุกกลุ่ม โดยเริ่มตั้งแต่การสอนแนวความคิดรวบยอดขั้นพื้นฐานเกี่ยวกับ สิ่งแวดล้อมให้กับ ประชาชนทั่วไป เด็กนักเรียนในระดับประถม และค่อย ๆ เพิ่มเนื้อหา และ ความลึกซึ้งมากขึ้นไปโดย ต่อเนื่องจนถึงระดับอุดมศึกษา รวมทั้งการให้ข้อมูลข่าวสารกับ มวลชนในวาระต่าง ๆ โดยอาศัยสื่อมวลชน ในรูปแบบต่าง ๆ เช่นเกร็ดความรู้วิธีการลดควันดา การรณรงค์ลดควันขาวรถจักรยานยนต์ เป็นต้น 5.4 กาหนดเขตควบคุม และจากัดจานวนแหล่งมลพิษ มิให้มีมากขึ้นจนเป็นเหตุในการเกิดปัญหา มลพิษ 6. การเพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อเป็นแหล่งผลิตอากาศบริสุทธิ์ เช่น การสร้างสวนสาธารณะ การปลูกต้นไม้ในเขต เมือง เป็นต้น
  • 14. 14 บทที่ 4 มลพิษทางขยะ ขยะหมายถึง สิ่งที่เราไม่ได้ใช้แล้ว แล้วนาไปทิ้งมลพิษทางขยะหมายถึง สิ่งที่ทาให้เกิดปัญหากับ สภาพแล้วล้อม ขยะเป็นปัญหาสาคัญของหลาย ๆ ท้องถิ่นเกือบทั่วโลกที่ต้องเผชิญ ขยะสร้างปัญหาให้กับ สังคมในทุกๆด้านไม่ว่าจะเป็นด้านการคมคมนาคม ด้านที่อย่อาศัย ด้านสถานที่ท่องเที่ยว เนื่องจากใน ปัจจุบันประเทศไทยได้ประสบกับปัญหาเรื่องมลพิษทางขยะมากพอสมควร สาเหตุหลักนั้นมากจากมนุษย์ที่ ทิ้งขยะไม่เป็นเป็นที่เป็นทาง ทิ้งขยะโดยไม่แยกประเภทของขยะ หรือทาลายขยะแบบผิดๆเช่น การฝัง และ การเผาขยะ ซึ่งเหตุนี้อาจน้ามาซึ่งปัญหาอื่น 4.1 สาเหตุของการเกิดมลพิษทางขยะ ขยะเป็นปัญหาสาคัญของหลาย ๆ ท้องถิ่นเกือบทั่วโลก ขยะส่วนใหญ่มักจะถูกทิ้งลงในดิน ขยะบาง ชนิดสลายตัวให้สารประกอบอินทรีย์และสารประกอบอนินทรีย์แต่ขยะบางชนิดสลายตัวยากเช่น หนัง พลาสติก โลหะ ฯลฯ ขยะประเภทนี้ถ้าทาลายโดยการเผาจะได้สารประกอบ ประเภทเกลือเช่น เกลือไนเตรต สะสมอยู่ในดินเป็นจานวนมากขยะที่ได้เกิดกระบวนการ ผลิตทางอุตสาหกรรม โดยเฉพาะขยะจาก เทคโนโลยีอุตสาหกรรมกาลังเพิ่มขึ้นอย่าง รวดเร็ว มีความเป็นพิษสูงและย่อยสลายยากเช่น ขยะจากโรงงาน อุตสาหกรรมที่มี โลหะหนัก เช่น ตะกั่ว ปรอท แคดเมียม เมื่อทิ้งลงดินทาให้ดินบริเวณนั้นมีโลหะหนัก สะสมอยู่มาก สาหรับในประเทศไทยเท่าที่มีรายงานพบว่า มีการเสื่อมคุณภาพ ของดินจากตะกั่วเนื่องจาก โรงงานถลุงตะกั่วจากซากแบตเตอรี่เก่าที่จังหวัดสมุทรปราการ นาเอากากตะกั่วที่ไม่ได้ใช้ประโยชน์มาถม ทาถนน ทาให้ดินบริเวณนั้นเกิดสภาพเป็นพิษ เป็นอันตรายต่อพืชและ ผู้บริโภคนอกจากนี้ประเทศไทยยัง ประสบปัญหาขยะอุตสาหกรรมที่นาเข้ามาจากตางประเทศ ในรูปของสินค้าเครื่องใช้ไฟฟ้า อะไหล่ อุตสาหกรรม เช่น ยางรถยนต์เก่า แบตเตอรี่เก่า ถุงมือยางใช้แล้ว ถูกนาเข้ามาทิ้งในประเทศไทยอีกเป็น จานวนมาก 4.2 ประเภทของขยะ 4.2.1 ขยะเปียก หมายถึง ขยะที่สามารถย่อยสะลายได้ง่าย มีระยะเวลาในการย่อยสลายไม่มากเช่น เศษอาหาร พืชผัก เปลือกผลไม้ซากสัตว์บางชนิด เป็นต้น 4.2.2 ขยะแห้ง หมายถึง ขยะที่สามารถย่อยสลายได้ยาก ใช้เวลาในการย่อยสลายนาน บางชนิดอาจใช้เวลาเป็นสิบๆ ปี เช่นกระดาษ พลาสติก แก้ว โลหะ เศษผ้า ไม้ยาง เป็นต้น
  • 15. 15 4.2.3 ขยะสารพิษ หมายถึง ขยะที่เป็นอันตราย มีสารเคมีตกค้าง บางชนิดเมื่อถูกก็สามารถทาให้เสียชีวิตได้ ขยะ สารพิษที่พบทั่วไปเช่นสารเคมี วัตถุมีพิษ ซากถ่านไฟฉาย หลอดไฟ และขยะติดเชื้อจาก สถานพยาบาล เป็นต้น ตารางที่ 4.2.3 ตารางระยะเวลาการย่อยสลายของขยะ ชนิดขยะ ระยะเวลาในการย่อยสะลาย ผ้าอ้อมสาเร็จรูป 500ปี ถุงพลาสติก 100-450ปี อลูมิเนีย 80-100ปี ก้นบุหรี่ 12ปี เปลือกส้ม 6เดือน 4.3 ผลกระทบจากปัญหามลพิษทางขยะ 4.3.1 อากาศเสีย เกิดจากการเผาขยะกลางแจ้งก่อให้เกิดควันและสารพิษทางอากาศ ทาให้ คุณภาพอากาศ เสื่อมโทรม 4.3.2 น้าเสีย เกิดจากการกองขยะบนพื้น เมื่อฝนตกลงมาบนกองขยะ จะเกิดน้าเสียมีความ สกปรกมากไหล ลงสู่แม่น้า 4.3.3 แหล่งพาหะนาโรค เกิดจากการกองขยะบนพื้น ทาให้เกิดแหล่งเพาะพันธุ์ของหนูและ แมลงวัน เป็นต้น ซึ่งเป็นพาหะนาโรคติดต่อ ทาให้มีผลกระทบต่อสุขภาพ อนามัยของ ประชาชน 4.4 แนวทางการแก้ไขปัญหา 4.4.1. กาจัดขยะมูลฝอยอย่างถูกหลักวิชาการ เช่น การเผาในเตาเผาขยะ การฝังกลบอย่างถูกสุขลักษณะ และ การหมักทาปุ๋ ย เป็นต้น ซึ่งแต่ละวิธีมีความแตกต่างกันในด้านต้นทุนการดาเนินงาน ความพร้อมขององค์กร ปริมาณและประเภทของขยะ เป็นต้น 4.4.2 จัดการขยะ โดยอาศัยหลัก 5 R คือ - Reduce การลดปริมาณขยะ โดยลดการใช้ผลิตภัณฑ์ที่มีบรรจุภัณฑ์สิ้นเปลือง - Reuse การนามาใช้ซ้า เช่น ขวดแก้ว กล่องกระดาษ กระดาษพิมพ์หน้าหลัง เป็นต้น - Repair การซ่อมแซมแก้ไขสิ่งของต่างๆ ให้สามารถใช้งานต่อได้ - Reject การหลีกเลี่ยงใช้สิ่งที่ก่อให้เกิดมลพิษ
  • 16. 16 - Recycle การแปรสภาพและหมุนเวียนนากลับมาใช้ได้ใหม่ โดยนาไปผ่านกระบวนการผลิตใหม่ อีกครั้ง 4.4.3 การแยกขยะ เพื่อลดขยะที่ต้องนาไปกาจัดจริงๆ ให้เหลือน้อยที่สุด เช่น - ขยะแห้งบางชนิดที่สามารถแปรสภาพนามากลับมาใช้ได้อีก ได้แก่ ขวดแก้ว โลหะ พลาสติก - ขยะเปียกสามารถนามาหมักทาปุ๋ ยน้าชีวภาพ - ขยะอันตราย เช่น หลอดไฟ ถ่านไฟฉาย กระป๋ องฉีดสเปรย์ต้องมีวิธีกาจัดที่ปลอดภัย 4.4.4 ส่งเสริมการผลิตที่สะอาดในภาคการผลิต โดยลดการใช้วัสดุ ลดพลังงาน และลดมลพิษ เพิ่มศักยภาพ การใช้ทรัพยากรหมุนเวียน การนาของเสียกลับมาใช้ประโยชน์ และการออกแบบผลิตภัณฑ์ให้มีอายุการใช้ งานได้นานขึ้น 4.4.5 ส่งเสริมให้ภาคธุรกิจเอกชนมีส่วนรวมลงทุนและดาเนินการจัดการขยะ 4.4.6 ให้ความรู้แก่ประชาชนในเรื่องการจัดการขยะอย่างถูกหลักวิชาการ 4.4.7 รณรงค์และประชาสัมพันธ์ เพื่อสร้างจิตสานึกให้ประชาชนเข้าใจและยอมรับว่าเป็นภาระหน้าที่ของ ตนเอง ในการร่วมมือกันจัดการขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นในชุมชน
  • 17. 17 บทที่ 5 กลุ่มชุมชนตัวอย่างในการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษ โครงการป้องกันและการแก้ไขปัญหาปัญหามลพิษในพื้นที่คลองสารภี อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี 5.1 ความเป็นมาของปัญหา ปัญหาปลาตายใน ปี 2549 สืบเนื่องจากปัญหาเหตุการณ์อุทกภัย ได้มีการระบายน้าเข้าไปเก็บกักไว้ในทุ่งสารภี และเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2549 ได้มีการเปิดประตูระบายน้าคลองสารภี อ.บ้านสร้าง จ.ปราจีนบุรี เพื่อลดระดับน้าในท้อง นาให้เกษตรกรสามารถเก็บเกี่ยวข้าวได้ทั้งนี้ คลองสารภีเป็นคลองที่รับน้าจากทุ่งสารภีซึ่งเป็นทุ่งขนาดใหญ่ และมีการผันน้าที่ท่วมพื้นที่เข้าไปเก็บกักไว้ขณะนั้น คุณภาพน้าในทุ่งสารภีมีสภาพเสื่อมโทรมและเน่าเสีย โดยมีค่าออกซิเจนละลายน้า (DO) เท่ากับศูนย์ เมื่อระบายน้าลงคลองสารภีและไหลลงแม่น้าปราจีนบุรี คุณภาพน้าแม่น้าปราจีนบุรีเริ่มมีปัญหาเน่าเสียจนถึง ระดับที่ทาให้ปลาในกระชังและสิ่งมีชีวิตต่างๆ ในแม่น้าตายเป็นจานวนมาก ตั้งแต่ อ.บ้านสร้าง จนถึงปาก แม่น้าปราจีนบุรีที่บ้านบางแตน อ.บ้านสร้าง ตั้งแต่วันที่ 12 พฤศจิกายน 2549 เป็นต้นมา โดยตายมากในวันที่ 11-12 พฤศจิกายน 2549 รูปที่ 5.1 ปลาเน่าตายในสถานที่เลี้ยงและลาคลอง 5.2 การดาเนินการแก้ไขปัญหาปี 2549-2550 5.2.1 กรมควบคุมมลพิษได้ร่วมตรวจสอบพื้นที่กับผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี ผู้ตรวจราชการ สานักนายกรัฐมนตรี และหน่วยงานต่างๆ ในพื้นที่ เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2549 และได้เสนอแนะการ แก้ไขปัญหาเร่งด่วนเฉพาะหน้า โดยให้ลดปริมาณการระบายน้าจากคลองสารภี และเพิ่มการระบายน้าจาก เขื่อนหรืออ่างเก็บน้าจากพื้นที่ด้านบนเพื่อเจือจางน้าเสีย ซึ่งข้อเสนอแนะนี้ ชลประทานจังหวัดปราจีนบุรี
  • 18. 18 ชี้แจงว่าไม่สามารถลดปริมาณการระบายน้าจากคลองสารภีได้ เนื่องจากเกษตรกรจะเดือนร้อนไม่สามารถ เก็บเกี่ยวข้าวได้ และข้าวจะได้รับความเสียหายหากไม่สามารถระบายน้าออกจากทุ่งได้ และจะรวมตัวกัน ประท้วง ประเด็นการเพิ่มการระบายน้าจากเขื่อนเพื่อเจือจางน้าเสียนั้น ผู้ว่าราชการจังหวัดปราจีนบุรี สั่งการให้กรม ชลประทานดาเนินการหาทางผันน้าจากเขื่อนท่าด่าน จ.นครนายก เข้ามาเจือจางน้าเสียในแม่น้าปราจีนบุรี และคลองสารภี ขณะนี้ดาเนินการแล้ว และทาให้คุณภาพน้าดีขึ้นมา ตามลาดับ 5.2.2 ผลการติดตามตรวจสอบคุณภาพน้า เมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2549 พบว่า แม่น้าปราจีนบุรีใน เขต อ.เมืองปราจีนบุรี (รหัส PA03) ซึ่งอยู่เหนือจุดที่คลองสารภีระบายน้าลงมา มีค่าออกซิเจนละลายน้า (DO) เท่ากับ 4.5 มิลลิกรัมต่อลิตร ขณะที่ตั้งแต่ อ.บ้านสร้าง จนถึงปากแม่น้าปราจีนบุรีที่บ้าน บางแตน อ. บ้านสร้าง (รหัส PA02 และ PA01) ซึ่งอยู่ทางด้านท้ายจุดระบายและได้รับผลกระทบจากการเปิดประตู ระบายน้า มีค่าออกซิเจนละลายน้าอยู่ระหว่าง 0.2-1 มิลลิกรัมต่อลิตร ทั้งนี้ ก่อนหน้าที่ประตูระบายน้าคลองสารภีจะเปิดประตูระบายน้าออกมา ค่าออกซิเจนละลายน้าในช่วง บริเวณดังกล่าว ในวันที่ 30 ตุลาคม 2549 ก็มีค่าที่ไม่สูงมากนัก โดยมีค่าอยู่ระหว่าง 2.5-3.5 มิลลิกรัมต่อลิตร เมื่อมีน้าเสียปริมาณมากระบายลงมาจึงเกินศักยภาพที่แม่น้าจะรองรับน้าเสียได้ดังนั้น การตายของปลาและ สัตว์น้าต่างๆ ปัจจัยหลักจึง น่าจะมาจากการขาดออกซิเจนในการหายใจเป็นเวลานานติดต่อกัน 5.2.3 นอกจากนี้ ยังมีการเก็บตัวอย่างน้าเพื่อวิเคราะห์ปริมาณโลหะหนักและสารกาจัดศัตรูพืช พบว่า ปริมาณโลหะหนักและสารกาจัดศัตรูพืชทั้งในแม่น้าและคลองสารภี มีค่าน้อยมากในระดับ ND (None Detect) ยกเว้นบริเวณหน้าวัดบางแตน อ.บ้านสร้าง (รหัส PA01) พบสารกาจัดศัตรูพืชในกลุ่ม ออร์กาโนคลอรีนบางตัวเกินมาตรฐาน ได้แก่ alpha-BHC พบ 0.06 ppb. (มาตรฐานกาหนด 0.02 ppb.) Dieldrin พบ 0.2 ppb. (มาตรฐานกาหนด 0.2 ppb.) และพบสาร Endosulfan ที่ใช้ในการกาจัดหอยเชอรี่ ใน ปริมาณ 0.07 ppb. สาหรับแหล่งที่มาของสารกาจัดศัตรูพืช ไม่สามารถระบุได้ว่ามาจากคลองสารภี เนื่องจาก ตรวจพบสารกาจัดศัตรูพืชในน้าจากคลองสารภีในปริมาณที่น้อยมาก 5.2.4 ได้มีกลุ่มผู้เลี้ยงปลาในกระชังในพื้นที่ลุ่มน้าบางปะกง ได้ยื่นหนังสือร้องเรียนเกี่ยวกับปัญหา น้าเสียทาให้เกิดเหตุการณ์ ปลาตายในแม่น้าบางปะกงและแม่น้าปราจีนบุรีต่อรัฐมนตรีว่า การกระทรวง ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ในระหว่างการตรวจเยี่ยมพื้นที่ลุ่มน้าบางประกง ในระหว่างวันที่ 16-17 ธันวาคม 2549 โดยที่กรมควบคุมมลพิษได้รับมอบหมายให้กาหนดมาตรการ ในการป้องกันและแก้ไข ปัญหาน้าเสียในคลองสารภีและแม่น้าปราจีนบุรี โดยเน้นการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน รวมทั้งผู้มีส่วนได้ ส่วนเสียในพื้นที่ดังกล่าว
  • 19. 19 รูปที่ 5.2.5 บุคคลผู้มีส่วนร่วมได้และเสียผลประโยชน์ 5.2.5 อธิบดีกรมควบคุมมลพิษและคณะได้เดินทางไป ตรวจเยี่ยมพื้นที่บริเวณคลองสารภี อาเภอ บ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี ในวันที่ 28 ธันวาคม 2549 เพื่อตรวจสอบและหาแนวทางป้องกันและแก้ไข ปัญหามลพิษในพื้นที่คลองสารภี ณ บริเวณประตูระบายน้าคลองสารภี อาเภอบ้านสร้าง จังหวัดปราจีนบุรี โดยประชุมร่วมกับผู้แทนกลุ่มเกษตรกร อนุกรรมการลุ่มน้าบางประกง-ปราจีนบุรี และโตนเลสาป และ หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อร่วมกันหาทางแก้ไขปัญหามลพิษในพื้นที่คลองสารภี ซึ่งที่ประชุมมีมติร่วมกันให้มี การแต่งตั้งคณะทางาน จานวน 2 คณะ ดังนี้ (1) คณะทางานตรวจสอบแหล่งกาเนิดมลพิษและหาสาเหตุของปัญหามลพิษ ในพื้นที่คลองสารภี ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนกลุ่มเกษตรกร นักวิชาการท้องถิ่นและกรมควบคุมมลพิษ ทั้งนี้ให้ดาเนินการภายใน 2 เดือน โดยให้แล้วเสร็จประมาณเดือนมีนาคม 2550 (2) คณะทางานกาหนดมาตรการแผนงานป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษ ในพื้นที่คลองสารภีและ กากับดูแลการดาเนินงานตามแผนงาน ซึ่งประกอบด้วยผู้แทนกลุ่มเกษตรกร กลุ่มนักวิชาการท้องถิ่น กรม ควบคุมมลพิษ กรมชลประทาน กรมทรัพยากรน้าและหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ให้กาหนดมาตรการให้ แล้วเสร็จภายในเดือนพฤษภาคม 2550 และกากับดูแลการดาเนินงานตามแผนงานอย่างต่อเนื่องตลอด 5.2.6 อธิบดีกรมควบคุมมลพิษและคณะได้เดินทางไปสารวจสภาพพื้นที่การเกษตรบริเวณคลอง สารภี พร้อมทั้งตรวจเยี่ยมโรงงานกระดาษ และการเลี้ยงปลากระชังในพื้นที่อาเภอบ้านสร้าง จังหวัด ปราจีนบุรี 5.2.7 กรมควบคุมมลพิษได้ประชุมร่วมกับคณะทางานวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม ของสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ เมื่อวันที่ 22 ธันวาคม 2549 เพื่อแลกเปลี่ยน ความคิดเห็นและข้อเสนอแนะเกี่ยวกับการแก้ไขปัญหาน้าเสียในคลองสารภี
  • 20. 20 บรรณานุกรม Barbara Brooks Simons. สารวจโลกวิทยาศาสตร์: คู่มือครูสภาวะและภูมิอากาศ. กรุงเทพมหานคร: เพียร์ สัน เอ็นดูเคชั่น อินโดไชน่า, 2546 Barbara Brooks Simons. สารวจโลกวิทยาศาสตร์: คู่มือครูน้าและพลังงาน. กรุงเทพมหานคร: เพียร์สัน เอ็น ดูเคชั่น อินโดไชน่า, 2547 Parramon. เทคโนโลยีEssential Atlas of Technology. กรุงเทพมหานคร: บริษัท สวีริยาสาส์น จัดพิมพ์, 2547 กองอนามัยสิ่งแวดล้อม. มลพิษทางอากาศ. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://web.ku.ac.th/schoolnet/snet6/envi3/monpit-a/monpit-a.htm. 8 กันยายน 2559 วรันดา สุสม. 2555. มลพิษขยะ. (ออนไลน์). แหล่งที่มา: https://look-edu.wikispaces.com/มลพิษขยะ. 8 กันยายน 2559
  • 26. 26 ผู้จัดทา นายธนดล วิบูลย์เชื้อ ชั้น ม.5/4 เลขที่ 10 นางสาวกุลณัฐ กาฬภักดี ชั้น ม.5/4 เลขที่ 11 นางสาววรันธร ภุมรินทร์ ชั้น ม.5/4 เลขที่ 13 นางสาวรัชชนก นุชยิ้มย่อง ชั้น ม.5/4 เลขที่ 16 นางสาวณัฐริกานต์ ธรรมโชติ ชั้น ม.5/4 เลขที่ 33