SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
Download to read offline
จิก
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Barringtonia acutangula (L.) Garetn.
ชื่อสามัญ : Indian oak
วงศ์ : Barringtoniaceae
ชื่ออื่น : กระโดนทุ่ง กระโดนน้า(หนองคาย), จิกนา(ภาคใต้), ตอง(ภาคเหนือ), มุ่ยลาย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดเล็ก ลาต้น เป็นปุ่มปมและเป็นพู ผลัดใบ ชอบขึ้นริมน้า ใบ เดี่ยว ใบอ่อนสี
น้าตาลแดง ผิวใบมัน ใบออกสลับถี่ตามปลายยอด รูปใบยาวเหมือนรูปใบหอก หรือรูปไข่กลับ ใบยาว 30
เซนติเมตร ขอบใบจักถี่ ก้นใบสีแดง สั้นมาก ดอก ช่อ สีแดงห้อยลง บานจากโคนลงไปทางปลาย ช่อดอกยาว 30-
40 เซนติเมตร กลีบเลี้ยง 4 กลีบ และจะคงติดอยู่จนเป็นผล เกสรตัวผู้มีจานวนมาก มีสีชมพูถึงสีแดง ผล ยาวรีเป็น
เหลี่ยม มีสันตามยาวของผล 4 สัน ผลมีกลีบเลี้ยงติดอยู่
ส่วนที่ใช้: ราก น้าจากใบ เปลือก ผล
สรรพคุณ :
ราก - ยาระบายอ่อน ๆ และใช้แทนควินินได้
น้าจากใบ - แก้ท้องเสีย
เปลือก - ทาแก้แมลงกัดต่อย พอกแผล
ผล - แก้ไอ ขับเสมหะ
- แก้หวัด หืด
จันทน์เกศ
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Myristica fragrans Houtt.
ชื่อสามัญ : Nutmeg tree
วงศ์ : Myristicaceae
ชื่ออื่น : จันทน์บ้าน (เงี้ยว-ภาคเหนือ)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูง 5-18 เมตร เปลือกต้นเรียบ สีเทาอมดา ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปรี
กว้าง 4-5 ซม. ยาว 10-15 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบ เป็นมัน ดอก ดอกแยก
เพศอยู่คนละต้น ออกเป็นช่อตามซอกใบ สีเหลืองอ่อน กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเป็นรูปคนโท ปลายแยกออกเป็น
3 แฉก ไม่มีกลีบดอก ผล รูปทรงค่อนข้างกลม ผิวเรียบ สีเหลืองนวล พอแก่แตกอ้าออกเป็น 2 ซีก เห็นรก หุ้ม
เมล็ดสีแดง เมล็ดสีน้าตาลมี 1 เมล็ด
ส่วนที่ใช้: ผล ดอก แก่น ราก และเมล็ด
สรรพคุณ :
ผล - ให้Myristica Oil ซึ่งเป็น Volatile Oil ประกอบด้วย Myristiein และ Safrole ซึ่งเป็นตัวแต่ง
กลิ่น และขับลม
ดอก - ใช้เป็นเครื่องเทศ และขับลม
แก่น - แก้ไข้บารุงตับ ปอด
ราก - ขับลม แต่งกลิ่น เครื่องเทศ เจริญอาหาร
เมล็ด - ขับลม แก้ท้องอืดเฟ้อ เป็นเครื่องเทศ เจริญอาหาร
วิธีและปริมาณที่ใช้:
รกและเมล็ดขนาด 0.5 กรัม หรือประมาณ 1-2 เมล็ด หรือใช้รก 4 อัน ป่นรก หรือเมล็ดให้เป็นผงละเอียด
ชงน้าครั้งเดียว รับประทานวันละ 2 ครั้ง 2-3 วัน
จันทน์ลูกหอม
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Diospyros decandra Lour.
วงศ์ : Ebenaceae
ชื่ออื่น : จันอิน จันโอ จันขาว จันลูกหอม อิน (ภาคกลาง)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น สูง 10-15 เมตร เปลือกต้นเรียบ สีน้าตาลแข้มอมเทา กิ่งอ่อนยอดอ่อนมีขนสี
น้าตาลปกคลุม กิ่งก้านเหนียว ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปรี กว้าง 2.5-3 ซม. ยาว 7-10 ซม. โคนใบมน
ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบเป็นมันลื่น สีเขียวเข้ม ดอก ดอกแยกเพศอยู่ต้นเดียวกัน ดอกเพศผู้
ออกเป็นช่อ ส่วนดอกเพศเมียออกดอกเดี่ยว ดอกสีขาวนวล กลีบดอกเชื่อมติดกันสั้นๆ ผล รูปกลมแป้ นเรียกว่า ลูก
จัน ไม่มีเมล็ด ผลกลม เรียกว่า อิน มีเมล็ด ผิวเรียบ ผลอ่อนสีเขียว ผลสุกสีเหลือง มีกลิ่นหอม รับประทานได้ที่ขั้ว
ผลมีกลีบเลี้ยงติดทน
ส่วนที่ใช้: เนื้อไม้ ผล
สรรพคุณ :
เนื้อไม้ - มีรสขม หวาน ทาให้เกิดปัญญา บารุงประสาท บารุงเนื้อหนังให้สดชื่น แก้ไข้แก้ปอดตับพิการ แก้ดี
พิการ แก้ร้อนในกระหายน้า แก้เหงื่อตกหน้า ขับพยาธิ
ผล - ผลสุกสีเหลืองนวล มีกลิ่นหอม มีรสหวานและฝาดเล็กน้อย รับประทานกับน้ากะทิสดเป็นอาหาร
คูน
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cassia fistula L.
ชื่อสามัญ : Golden shower, Indian laburnum, Pudding - pine tree
วงศ์ : LEGUMINOSAE - CAESALPINIOIDEAE
ชื่ออื่น : กุเพยะ (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) ชัยพฤกษ์ราชพฤกษ์(ภาคกลาง) ปือยูปูโย เปอโซ แมะหล่าหยู่
(กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ลมแล้ง (เหนือ)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดกลาง ลาต้นสีน้าตาลแกมเทาเกลี้ยงๆ ชอบขึ้นตามป่าผลัดใบ หรือในที่ดิน
ที่มีการถ่ายเทน้าได้ดี ใบ เป็นใบช่อสีเขียวเป็นมัน ช่อหนึ่งๆ ยาวประมาณ 2.5 ซม. มีใบย่อยรูปป้ อมๆ หรือรูปไข่
3-6 คู่ ใบย่อยกว้างๆ 5-7 ซม. ยาว 9-15 ซม. โคนใบมนและค่อยๆ สอบไปทางปลายใบ เนื้อใบเกลี้ยงค่อนข้างบาง
เส้นแขนงใบถี่ และโค้งไปตามรูปใบ ดอก ออกเป็นช่อ ยาว 20-45 ซม. กลีบรองกลีบดอกรูปขอบขนานยาว
ประมาณ 1 ซม. มี 5 กลีบ มักหลุดร่วงง่าย กลีบดอกยาวกว่ากลีบรองกลีบดอกประมาณ 2-3 เท่า และมีกลีบรูปไข่
กลับ 5 กลีบ ตามพื้นกลีบจะเห็นเส้นกลีบชัดเจน เกสรผู้มีขนาดแตกต่างกันจานวน 10 อัน ก้านอับเรณูโค้งงอขึ้น
ผล เป็นฝักรูปทรงกระบอกเกลี้ยงๆ อาจยาวถึง 50 ซม. โตวัดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.0-2.5 ซม. ฝัก อ่อนสีเขียวและออก
สีดาเมื่อแก่จัด ในฝักจะมีผนังเยื่อบางๆ กั้นเป็นช่องๆ ตามขวางของฝัก และตามช่องเหล่านี้จะมีเมล็ดแบนๆ สี
น้าตาลอยู่
ส่วนที่ใช้: ใบ ดอก เปลือก แก่น ราก ฝักแก่ เปลือกเป็นสีน้าตาลเข้ม กระพี้ เมล็ด
สรรพคุณ :
ใบ - ขับพยาธิ
ดอก - แก้บาดแผลเรื้อรัง
เปลือก - บารุงโลหิต
กระพี้ - แก้โรครามะนาด
แก่น - ขับไส้เดือนในท้อง
ราก - แก้ไข้แก้โรคคุดทะราด
เมล็ด - รักษาโรคบิด
ฝักแก่ - รสหวานเอียนเล็กน้อย เป็นยาระบายถ่ายสะดวกไม่มวนไม่ไซ้ท้อง มีสารแอนทราควิโนน
(Anthraquinone glycoside) เป็นตัวยาระบาย
วิธีและปริมาณที่ใช้: โดยเอาเนื้อในฝักแก่ก้อนเท่าหัวแม่มือ (ประมาณ 4 กรัม) น้า 1 ถ้วยแก้วต้มกับน้าใส่เกลือ
เล็กน้อย ดื่มก่อนนอนหรือตอนก่อนอาหารเช้าครั้งเดียว
เหมาะเป็นยาระบายสาหรับคนที่ท้องผูกเป็นประจาและสตรีมีครรภ์
โด่ไม่รู้ล้ม
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Elephantopus scaber L.
ชื่อสามัญ : Prickly-leaved elephant's foot
วงศ์ : Asteraceae
ชื่ออื่น : หนาดผา เคยโป้ หญ้าไก่นกคุ่ม หญ้าปราบ หญ้าสามสิบสองหาบ หญ้าไฟนกคุ้ม (ภาคเหนือ) ตะชีโกวะ
(กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ขี้ไฟนกคุ่ม (เลย) คิงไฟนกคุ่ม (ชัยภูมิ) หนาดมีแคลน (สุราษฎร์ธานี)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุก ลาต้นตั้งตรงสั้นอยู่ในระดับพื้นผิวดิน ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงเวียนกัน
แน่นที่โคนต้น รูปขอบขนาน กว้าง 2-6 ซม.ยาว 10-25 ซม. ปลายใบและโคนใบมน แผ่นใบมีขนสากมือ ขอบ
ใบจักเป็นฟันเลื่อย ก้านใบสีขาวหนา ดอก ออกเป็นช่อแบบแขนงที่ปลายยอด มีใบประดับ 2 ใบ ดอกสีม่วง กลีบ
ดอกเรียวยาว ปลายกลีบดอกแหลม โคนเชื่อมติดกัน ก้านช่อดอกเหนี่ยวเมื่อโดนเหยียบก้านช่อดอกจะตั้งขึ้นมา
ใหม่เหมือนเดิม เกสรเพศผู้เป็นเส้นตรงมีอับเรณูสีม่วง ผล รูปทรงกลม มีสัน 10 สัน ผิวมีขนนุ่มปกคลุม
ส่วนที่ใช้: ทั้งต้นสด
สรรพคุณ :
มีรสขื่น แก้ปัสสาวะ และบารุงความกาหนัด มีรสกร่อย จืด ขื่นเล็กน้อย รับประทานทาให้เกิดกษัยแต่มีกาลัง
ทั้งต้นต้มรับประทานต่างน้า แก้ไข้จับสั่นหรือไข้มาเลเรียดี ใช้ต้มรับประทานแก้ไอ สาหรับสตรีที่คลอดบุตร
ใหม่ๆ บางตารากล่าวว่า แก้กษัย บารุงกาลัง ขับปัสสาวะ แก้ไข้ขับไส้เดือน แก้กามโรค แก้อักเสบ ห้ามเลือดกาเดา
แก้ดีซ่าน นิ่ว บิด เหน็บชา ท้องมาน ฝีฝักบัว
ข้อห้ามใช้:
ห้ามใช้ในผู้หญิงท้อง และผู้ที่อาการกลัวหนาว แขนขาเย็น ไม่กระหายน้า ชอบดื่มของร้อน ปวดท้อง
ท้องร่วง ปัสสาวะและปริมาณมาก มีชั้นฝ้าบนลิ้นขาวและหนา
ตาราและวิธีใช้ (ดูรายละเอียด)
หนุมานประสานกาย
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Schefflera leucantha R. Vig.
วงศ์ : Araliaceae
ชื่ออื่น : -
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูง 1-4 เมตร แตกกิ่งก้านต่าใกล้พื้นดิน เปลือกต้นเรียบเป็นสีน้าตาล ใบ เป็น
ใบประกอบแบบนิ้วมือ ออกเรียงสลับ มีใบย่อย 6-8 ใบ รูปรี กว้าง 1.5-3 ซม. ยาว 5-8 ซม. โคนใบแหลม ปลาย
ใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบสีเขียวเป็นมัน ดอก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกเล็กสีขาวนวล ผล เป็นผล
มีเนื้อ รูปทรงกลม ขนาดเล็ก
ส่วนที่ใช้: ใบสด
สรรพคุณ :
รักษาโรคหืด โรคแพ้อากาศ ขับเสมหะ
รักษาโรคหลอดลมอักเสบ
รักษาวัณโรคปอด แก้ไอ แก้อาเจียนเป็นเลือด
ตาพอกแผลห้ามเลือด ห้ามเลือด
วิธีและปริมาณที่ใช้:
รักษาโรคหืด แพ้อากาศ ขับเสมหะ และโรคหลอดลมอักเสบ
ใช้ใบสดเล็กๆ 9 ใบ ต้มกับน้า 3 ถ้วยแก้ว เคี่ยวให้เหลือ 1 ถ้วยแก้ว รับประทานวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า-เย็น
เป็นเวลา 49 วัน หืดควรจะหาย
ยาแก้อาเจียนเป็นเลือด
ใช้ใบสด 12 ใบย่อย ตาคั้นน้า 2 ถ้วยตะไล รับประทานครั้งละ 1 ถ้วยตะไล ติดต่อกัน 5-7 วัน
ใช้รักษาวัณโรค
ใช้เหมือนวิธีที่ 1 ติดต่อกัน 60 วัน แล้ว x-ray ดู ปอดจะหาย แล้วให้รับประทานต่อมาอีกระยะหนึ่ง
สารเคมี :
พบ Oleic acid, butulinic acid, D - glucose, D - Xylose, L - rhamnose
โหระพา
ชื่อวิทยาศาตร์ Ocimum basilicum Linn.1
ชื่ออังกฤษ Common Basil, Sweet Basil1
ชื่อท้องถิ่น ห่อกวยซวย ห่อวอซุ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน); อิ่มคิมขาว (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน)1
ลักษณะของพืช เป็นพืชปีเดียว มีกลิ่นหอมทั้งต้น ลาต้นตั้งตรงสูง 20-70 ซม. กิ่งก้านสีม่วง ลักษณะสี่เหลี่ยม แตก
กิ่งก้านสาขามาก มีขนอ่อนนุ่มสั้นๆ ใบรียาวออกตรงข้ามกัน ปลายใบแหลม ฐานใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบหรือ
อาจมีรอยหยักตื้นๆ คล้ายฟัน ส่องดูเห็นมีต่อมน้ามันทั่วทั้งตัวใบ ดอกออกเป็นช่อที่ยอด เรียงกันเป็นชั้นหลายชั้น
แต่ละชั้นมีดอกย่อย 6 ดอกหรือมากกว่า เรียงติดกันรอบก้านช่อดอก ดอกย่อยมีกลีบเลี้ยง ติดกันเป็นหลอดมีขน
อ่อนปกคลุม ส่วนปลายแยกเป็น 5 กลีบเล็กๆ กลีบดอกสีขาวหรือม่วงอ่อน ติดกันเป็นหลอดส่วนปลายแยกเป็น
ปาก กลีบหนึ่งกลมรีมีขนาดใหญ่กว่ากลีบอื่นอยู่ด้านล่างอีก 4 กลีบ ขนาดเล็กเท่ากันอยู่ด้านบน มีเกสรตัวผู้4 อัน
ยาวยื่นพ้นจากหลอดกลีบดอก ก้านเกสรตัวเมียเป็นเส้นยาว 1 เส้น ส่วนปลายแยกเป็น 2 แฉก รังไข่มี 4 ห้อง ผลมี
เมล็ด 4 เม็ด เมล็ดกลมรี สีน้าตาล2
ส่วนที่ใช้ทายา ทั้งต้น เมล็ด และราก2
สรรพคุณและวิธีใช้1. ทั้งต้น รสฉุน สุขุม ขับลม ทาให้เจริญอาหาร แก้ปวดหัว หวัด ปวดกระเพาะอาหาร จุกเสียด
แน่น ท้องเสีย ฟกช้าจากหกล้มหรือกระทบกระแทก และผดผื่นคันมีน้าเหลือง
- ใช้แห้ง 6-10 กรัม ต้มน้ากิน หรือใช้สด คั้นเอาน้ากิน ใช้ภายนอก ตาพอก หรือต้มน้าชะล้าง หรือเผาเป็นเถ้า บด
เป็นผงผสมทา
2. เมล็ด รสชุ่ม เย็น สุขุม ถูกน้าจะพองตัวเป็นเมือก และใช้เป็นยาระบาย
- ใช้แห้ง 2.5-5 กรัม ต้มน้า หรือแช่น้ากิน ใช้ภายนอก บดเป็นผงแต้ม
3. ราก แก้เด็กเป็นแผลมีหนอง
- เผาเป็นเถ้า พอก2
กระชาย
ชื่อวิทยาศาตร์ Boesenbergia pandurata Holtt.)1 = Boesenbergia rotunda (L.) Mansf.
(Syn. Kaempferia pandurata Roxb.)2
ชื่อท้องถิ่น กะแอน ระแอน (ภาคเหนือ); จี๊ปู ซีพู (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน); เป๊ าะซอเร๊าะ เป๊ าะสี่
(กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน);
ว่านพระอาทิตย์ (กรุงเทพฯ)
ลักษณะของพืช
เป็นพืชล้มลุก มีลาต้นอยู่ใต้ดินเรียกว่าเหง้า มีรากติดเป็นกระจุกเป็นที่สะสมอาหาร ยาว
6-10 ซม. ทรงกระบอก ปลายเรียวแหลม ผิวสีน้าตาลอ่อน เนื้อสีเหลือง มีกลิ่นหอม ส่วนที่อยู่เหนือ
พื้นดิน ประกอบด้วยโคนก้านใบที่เป็นกาบหุ้มซ้อนกัน สูง 30-50 ซม. กาบใบยาว 12-25 ซม. สีแดง
เรื่อๆ แผ่นใบรูปรีปลายแหลมโคนแหลมหรือมน ขอบเรียบ มีขนาดกว้าง 5-10 ซม. ยาว 10-30 ซม.
ดอกออกเป็นช่อที่ยอด ช่อดอกมีใบประดับเรียงทะแยงกัน ดอกที่อยู่ปลายช่อจะบานก่อน ปลายใบ
ประดับเรียบ กลีบดอกสีขาว หรือขาวอมชมพู มีลักษณะเป็นถุง แยกเป็น 2 กลีบ เห็นไม่ชัด2 ส่วน
ที่ใช้ทายา เหง้าและราก (ทั้งสดหรือแห้ง)
สรรพคุณและวิธีใช้
1. แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ และปวดท้อง
- ใช้เหง้าและรากประมาณ 1/3-1/2 กามือ (สด 5-10 กรัม แห้ง 3-5 กรัม) ต้มน้าดื่ม
2. แก้บิด (ปวดเบ่งและมีมูกหรืออาจมีเลือดด้วย)
- ใช้เหง้าหรือหัวสดครั้งละ 2 หัว (ประมาณ 15 กรัม) ย่างไฟพอสุก ตากับน้าปูนใส คั้นน้าดื่ม3
กานพลู
ชื่อวิทยาศาตร์ Syzygium aromaticum (L.) Merr. Et Perry (Syn. Eugenia caryophyllus (Sprenge)
Bullock et Harrison1 ชื่ออังกฤษ Clove1
ลักษณะของพืช เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 5-10 ม. เปลือกสีน้าตาลอ่อน เรียบ ทุกส่วนเกลี้ยง กิ่ง
ก้านเป็นรูปทรงกระบอกค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีน้าตาลเทาอ่อนๆ ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกัน รูป
ขอบขนานแกมไข่กลับ กว้าง 3-5 ซม. ยาว 7-12 ซม. ปลายแหลมโคนสอบแคบเป็นรูปลิ่ม มันเป็น
เงา ด้านล่างมีต่อมหนาแน่น เมื่อแห้งสีน้าตาลอมเทาอ่อน เส้นใบมีจานวน มากขนานกัน เห็นไม่ชัด
ทั้งสองด้าน แต่บางทีเห็นชัดด้านบน มีเส้นเรียบขอบใบ ก้านใบยาว 1-2 ซม. เล็กเรียว ดอกออก เป็น
ช่อ มักออกที่ปลายยอด หรือตามง่ามใบใกล้ๆ ปลายยอดมี 3-20 ดอก กลีบรองกลีบดอกสีเขียวอม
เหลือง มีสีแดงกระจาย เชื่อมติดกันเป็นรูปท่อ ยาว 1-1.5 ซม. ปลายแยกเป็นแฉก รูปสามเหลี่ยมแกม
รูปไข่ มี 4-5 พู ยาวประมาณ 2 มม. กลีบดอก เชื่อมติดกันคล้ายเป็นหมวก ก้านเกสรผู้ยาว 3-7 มม.
รังไข่มี 2-3 ห้อง แต่ละห้องมีไข่อ่อนจานวนมาก ท่อเกสรเมียยาวประมาณ 3 มม. ยอดเกสรเมีย
แบ่งเป็น 2 พู ผลสดรูปไข่กลับแกมรูปรี ยาว 2-2.5 ซม. สีแดงเข้ม2
ส่วนที่ใช้ทายา ดอก (ดอกกานพลูที่ดีจะต้องเป็นดอกที่มิได้สกัดเอาน้ามันออก และมีกลิ่นฉุนรสเผ็ด
จัด)3
สรรพคุณและวิธีใช้
1. แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ และปวดท้อง
- ใช้ดอกแห้ง 5-8 ดอก (0.12-0.6 กรัม) ต้มหรือบดเป็นผงรับประทาน (ดอกกานพลู) ดอก ทุบแล้ว
แช่ในน้าเดือด 1 ขวดเหล้า ใช้ชงนมเด็กจะช่วยป้ องกันไม่ให้เด็กท้องขึ้นท้องเฟ้อได้
2. แก้อาการปวดฟัน
- กลั่นเอาน้ามันใส่ฟันหรือใช้ทั้งดอกเคี้ยวแล้วอมไว้ตรงบริเวณฟันที่ปวดเพื่อระงับอาการปวดฟัน3
ผลิตภัณฑ์ น้ามันกานพลู และดอกกานพลูแห้ง อมระงับกลิ่นปาก และบรรเทาอาการปวดฟัน
กะเพรา
ชื่อวิทยาศาตร์ Ocimum sanctum Linn.1
ชื่ออังกฤษ Holy Basil1
ชื่อท้องถิ่น กอมก้อ กอมก้อดง (เชียงใหม่); กะเพราแดง (ภาคกลาง); ห่อกวอซู ห่อตูปลู (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน);
อิ่มคิมหลา (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน)1
ลักษณะของพืช เป็นไม้ล้มลุกลาต้นตั้งตรงสูง 30-60 ซม. มีขนทั่วไป ใบเดี่ยวออกตรงข้าม รูปรี หรือรีค่อนข้างยาว
กว้าง 1-2.5 ซม. ยาว 3-6 ซม. ปลายแหลม หรือมน โคนแหลม หรือแหลมเป็นครีบ ขอบเรียบ หรือจักห่างๆ มีขน
ทั้งสองด้าน มีขนมากตามเส้นใบด้านล่าง เนื้อในบาง นุ่ม สีเขียวอมม่วงแดง ดอกออกเป็นช่อที่ยอด หรือที่ปลายกิ่ง
ยาว 8-10 ซม. ริ้วประดับรูปไข่หรือรูปหัวใจ ปลายแหลม ขอบมีขน ยาว 2-3 มม. ก้านดอกโค้ง ยาว 3-4.5 มม. มีขน
ยาว 2-3 มม. กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 2.5 มม. เชื่อมติดกันเป็นหลอดปลายแยกเป็นปาก ปากบนใหญ่กว้างและแบน
ปากล่างแยก เป็นแฉกแหลม 4 แฉก แฉกกลาง 2 แฉก ยาวกว่าแฉกข้าง ด้านนอกมีต่อมและมีขน ด้านในเกลี้ยง
กลีบดอก สีขาวอมม่วง หรือสีม่วงเชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง ปลายแยกเป็นปาก ปากบนมีแฉกมน ๆ 4 แฉก ขนาด
เกือบเท่ากัน ปากล่างโค้งลง แบน ขอบเรียบ เกสรเพศผู้มี 2 คู่ คู่บนยาวกว่าคู่ล่าง ก้านเกสรไม่ติดกัน ที่โคนก้านคู่
บนมีติ่งสั้นๆ และมีขน ผลเล็ก ยาวประมาณ 1.2 มม. ปลายมน เกลี้ยง2
ส่วนที่ใช้ทายา ใบ และยอด2
สรรพคุณและวิธีใช้
แก้อาการท้องอืดท้องเฟ้อ ปวดท้อง
- -ใช้ใบและยอด 1 กามือ (น้าหนักสดประมาณ 25 กรัม แห้งประมาณ 4 กรัม) ต้มเอาน้าดื่ม เหมาะสาหรับเด็ก
- -ใช้ใบสด 3 ใบ ผสมเกลือพอสมควร บดให้ละเอียด ละลายน้าสุกหรือน้าผึ้งหยอดให้เด็กอ่อน คลอดได้ราวๆ 2-3
วันรับประทานเป็นยาขับลม2
ผลิตภัณฑ์น้ากะเพรา สรรพคุณ ช่วยขับลม แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ได้ดี
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย

More Related Content

What's hot (20)

สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุสำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
Plant ser 126_60_3
Plant ser 126_60_3Plant ser 126_60_3
Plant ser 126_60_3
 
File
FileFile
File
 
Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2
 
Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
 
Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
 

Viewers also liked

รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทยรายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทยNickson Butsriwong
 
คณาเภสัช
คณาเภสัชคณาเภสัช
คณาเภสัชPrasit Kongsup
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำNickson Butsriwong
 
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนduangkaew
 
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนสมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนguest0299389a
 
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP Vorawut Wongumpornpinit
 
Hemophilia พาวเวอร์พอยด์
Hemophilia พาวเวอร์พอยด์Hemophilia พาวเวอร์พอยด์
Hemophilia พาวเวอร์พอยด์Tiggy Ratana
 
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้งติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้งMa' Nor
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...Utai Sukviwatsirikul
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา Newพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา NewNickson Butsriwong
 
Download online herbal aromatherapy powerpoint template
Download online herbal aromatherapy powerpoint template Download online herbal aromatherapy powerpoint template
Download online herbal aromatherapy powerpoint template http://www.slideworld.com/
 
สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด Patcha Linsay
 
หมวดสัตว์
หมวดสัตว์หมวดสัตว์
หมวดสัตว์Itnog Kamix
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยguesta30f391
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมguestefb2bbf
 
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนานยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนานUdomsak Chundang
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนVorawut Wongumpornpinit
 

Viewers also liked (20)

รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทยรายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
รายละเอียดหลักสูตรเภสัชไทย
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
คณาเภสัช
คณาเภสัชคณาเภสัช
คณาเภสัช
 
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
1.6.3 สารอาหารทางหลอดเลือดดำ
 
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
 
Back pain
Back painBack pain
Back pain
 
Spinal disc herniation
Spinal disc herniationSpinal disc herniation
Spinal disc herniation
 
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือนสมุนไพรไทยในครัวเรือน
สมุนไพรไทยในครัวเรือน
 
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
 
Hemophilia พาวเวอร์พอยด์
Hemophilia พาวเวอร์พอยด์Hemophilia พาวเวอร์พอยด์
Hemophilia พาวเวอร์พอยด์
 
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้งติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา Newพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา New
 
Download online herbal aromatherapy powerpoint template
Download online herbal aromatherapy powerpoint template Download online herbal aromatherapy powerpoint template
Download online herbal aromatherapy powerpoint template
 
สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด
 
หมวดสัตว์
หมวดสัตว์หมวดสัตว์
หมวดสัตว์
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
 
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนานยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
 
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชนคู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
 

Similar to สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย

งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222saifon147
 
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดโครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดMint Jiratchaya
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องphairoa
 
กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงVaree Supa
 
สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01toonkp_shadow
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20marknoppajron
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNetAnana Anana
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Daranpop Doungdetch
 

Similar to สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย (20)

Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10
 
งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
 
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดโครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้อง
 
กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดง
 
Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
Patcharee
PatchareePatcharee
Patcharee
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 

More from รัตน์ดา ทองดอนเหมือน

ประกาศผลการสอบคัดเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1,2. หลักสูตร Mep. และชั้นป...
ประกาศผลการสอบคัดเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1,2. หลักสูตร Mep. และชั้นป...ประกาศผลการสอบคัดเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1,2. หลักสูตร Mep. และชั้นป...
ประกาศผลการสอบคัดเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1,2. หลักสูตร Mep. และชั้นป...รัตน์ดา ทองดอนเหมือน
 
ประกาศสอบราคาปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน
ประกาศสอบราคาปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียนประกาศสอบราคาปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน
ประกาศสอบราคาปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียนรัตน์ดา ทองดอนเหมือน
 

More from รัตน์ดา ทองดอนเหมือน (10)

ประกาศผลการสอบคัดเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1,2. หลักสูตร Mep. และชั้นป...
ประกาศผลการสอบคัดเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1,2. หลักสูตร Mep. และชั้นป...ประกาศผลการสอบคัดเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1,2. หลักสูตร Mep. และชั้นป...
ประกาศผลการสอบคัดเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1,2. หลักสูตร Mep. และชั้นป...
 
รับสมัครงานโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสน
รับสมัครงานโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสนรับสมัครงานโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสน
รับสมัครงานโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสน
 
ประกาศสอบราคาปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน
ประกาศสอบราคาปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียนประกาศสอบราคาปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน
ประกาศสอบราคาปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน
 
เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๑
เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๑เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๑
เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๑
 
เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๒
เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๒เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๒
เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๒
 
ประกาศสอบราคาบ้านพักครู
ประกาศสอบราคาบ้านพักครูประกาศสอบราคาบ้านพักครู
ประกาศสอบราคาบ้านพักครู
 
เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๓
เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๓เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๓
เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๓
 
ประกาศสอบราคาสนามฟุตบอล
ประกาศสอบราคาสนามฟุตบอลประกาศสอบราคาสนามฟุตบอล
ประกาศสอบราคาสนามฟุตบอล
 
สมุนไพรไทยโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสน
สมุนไพรไทยโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสนสมุนไพรไทยโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสน
สมุนไพรไทยโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสน
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 

สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย

  • 1. จิก ชื่อวิทยาศาสตร์ : Barringtonia acutangula (L.) Garetn. ชื่อสามัญ : Indian oak วงศ์ : Barringtoniaceae ชื่ออื่น : กระโดนทุ่ง กระโดนน้า(หนองคาย), จิกนา(ภาคใต้), ตอง(ภาคเหนือ), มุ่ยลาย ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดเล็ก ลาต้น เป็นปุ่มปมและเป็นพู ผลัดใบ ชอบขึ้นริมน้า ใบ เดี่ยว ใบอ่อนสี น้าตาลแดง ผิวใบมัน ใบออกสลับถี่ตามปลายยอด รูปใบยาวเหมือนรูปใบหอก หรือรูปไข่กลับ ใบยาว 30 เซนติเมตร ขอบใบจักถี่ ก้นใบสีแดง สั้นมาก ดอก ช่อ สีแดงห้อยลง บานจากโคนลงไปทางปลาย ช่อดอกยาว 30- 40 เซนติเมตร กลีบเลี้ยง 4 กลีบ และจะคงติดอยู่จนเป็นผล เกสรตัวผู้มีจานวนมาก มีสีชมพูถึงสีแดง ผล ยาวรีเป็น เหลี่ยม มีสันตามยาวของผล 4 สัน ผลมีกลีบเลี้ยงติดอยู่ ส่วนที่ใช้: ราก น้าจากใบ เปลือก ผล สรรพคุณ : ราก - ยาระบายอ่อน ๆ และใช้แทนควินินได้ น้าจากใบ - แก้ท้องเสีย เปลือก - ทาแก้แมลงกัดต่อย พอกแผล ผล - แก้ไอ ขับเสมหะ - แก้หวัด หืด จันทน์เกศ
  • 2. ชื่อวิทยาศาสตร์ : Myristica fragrans Houtt. ชื่อสามัญ : Nutmeg tree วงศ์ : Myristicaceae ชื่ออื่น : จันทน์บ้าน (เงี้ยว-ภาคเหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูง 5-18 เมตร เปลือกต้นเรียบ สีเทาอมดา ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปรี กว้าง 4-5 ซม. ยาว 10-15 ซม. ปลายใบแหลม โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบ เป็นมัน ดอก ดอกแยก เพศอยู่คนละต้น ออกเป็นช่อตามซอกใบ สีเหลืองอ่อน กลีบเลี้ยงโคนเชื่อมติดกันเป็นรูปคนโท ปลายแยกออกเป็น 3 แฉก ไม่มีกลีบดอก ผล รูปทรงค่อนข้างกลม ผิวเรียบ สีเหลืองนวล พอแก่แตกอ้าออกเป็น 2 ซีก เห็นรก หุ้ม เมล็ดสีแดง เมล็ดสีน้าตาลมี 1 เมล็ด ส่วนที่ใช้: ผล ดอก แก่น ราก และเมล็ด สรรพคุณ : ผล - ให้Myristica Oil ซึ่งเป็น Volatile Oil ประกอบด้วย Myristiein และ Safrole ซึ่งเป็นตัวแต่ง กลิ่น และขับลม ดอก - ใช้เป็นเครื่องเทศ และขับลม แก่น - แก้ไข้บารุงตับ ปอด ราก - ขับลม แต่งกลิ่น เครื่องเทศ เจริญอาหาร เมล็ด - ขับลม แก้ท้องอืดเฟ้อ เป็นเครื่องเทศ เจริญอาหาร วิธีและปริมาณที่ใช้: รกและเมล็ดขนาด 0.5 กรัม หรือประมาณ 1-2 เมล็ด หรือใช้รก 4 อัน ป่นรก หรือเมล็ดให้เป็นผงละเอียด ชงน้าครั้งเดียว รับประทานวันละ 2 ครั้ง 2-3 วัน จันทน์ลูกหอม
  • 3. ชื่อวิทยาศาสตร์ : Diospyros decandra Lour. วงศ์ : Ebenaceae ชื่ออื่น : จันอิน จันโอ จันขาว จันลูกหอม อิน (ภาคกลาง) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น สูง 10-15 เมตร เปลือกต้นเรียบ สีน้าตาลแข้มอมเทา กิ่งอ่อนยอดอ่อนมีขนสี น้าตาลปกคลุม กิ่งก้านเหนียว ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปรี กว้าง 2.5-3 ซม. ยาว 7-10 ซม. โคนใบมน ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบเป็นมันลื่น สีเขียวเข้ม ดอก ดอกแยกเพศอยู่ต้นเดียวกัน ดอกเพศผู้ ออกเป็นช่อ ส่วนดอกเพศเมียออกดอกเดี่ยว ดอกสีขาวนวล กลีบดอกเชื่อมติดกันสั้นๆ ผล รูปกลมแป้ นเรียกว่า ลูก จัน ไม่มีเมล็ด ผลกลม เรียกว่า อิน มีเมล็ด ผิวเรียบ ผลอ่อนสีเขียว ผลสุกสีเหลือง มีกลิ่นหอม รับประทานได้ที่ขั้ว ผลมีกลีบเลี้ยงติดทน ส่วนที่ใช้: เนื้อไม้ ผล สรรพคุณ : เนื้อไม้ - มีรสขม หวาน ทาให้เกิดปัญญา บารุงประสาท บารุงเนื้อหนังให้สดชื่น แก้ไข้แก้ปอดตับพิการ แก้ดี พิการ แก้ร้อนในกระหายน้า แก้เหงื่อตกหน้า ขับพยาธิ ผล - ผลสุกสีเหลืองนวล มีกลิ่นหอม มีรสหวานและฝาดเล็กน้อย รับประทานกับน้ากะทิสดเป็นอาหาร
  • 4. คูน ชื่อวิทยาศาสตร์ : Cassia fistula L. ชื่อสามัญ : Golden shower, Indian laburnum, Pudding - pine tree วงศ์ : LEGUMINOSAE - CAESALPINIOIDEAE ชื่ออื่น : กุเพยะ (กะเหรี่ยง-กาญจนบุรี) ชัยพฤกษ์ราชพฤกษ์(ภาคกลาง) ปือยูปูโย เปอโซ แมะหล่าหยู่ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ลมแล้ง (เหนือ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดกลาง ลาต้นสีน้าตาลแกมเทาเกลี้ยงๆ ชอบขึ้นตามป่าผลัดใบ หรือในที่ดิน ที่มีการถ่ายเทน้าได้ดี ใบ เป็นใบช่อสีเขียวเป็นมัน ช่อหนึ่งๆ ยาวประมาณ 2.5 ซม. มีใบย่อยรูปป้ อมๆ หรือรูปไข่ 3-6 คู่ ใบย่อยกว้างๆ 5-7 ซม. ยาว 9-15 ซม. โคนใบมนและค่อยๆ สอบไปทางปลายใบ เนื้อใบเกลี้ยงค่อนข้างบาง เส้นแขนงใบถี่ และโค้งไปตามรูปใบ ดอก ออกเป็นช่อ ยาว 20-45 ซม. กลีบรองกลีบดอกรูปขอบขนานยาว ประมาณ 1 ซม. มี 5 กลีบ มักหลุดร่วงง่าย กลีบดอกยาวกว่ากลีบรองกลีบดอกประมาณ 2-3 เท่า และมีกลีบรูปไข่ กลับ 5 กลีบ ตามพื้นกลีบจะเห็นเส้นกลีบชัดเจน เกสรผู้มีขนาดแตกต่างกันจานวน 10 อัน ก้านอับเรณูโค้งงอขึ้น ผล เป็นฝักรูปทรงกระบอกเกลี้ยงๆ อาจยาวถึง 50 ซม. โตวัดเส้นผ่าศูนย์กลาง 2.0-2.5 ซม. ฝัก อ่อนสีเขียวและออก สีดาเมื่อแก่จัด ในฝักจะมีผนังเยื่อบางๆ กั้นเป็นช่องๆ ตามขวางของฝัก และตามช่องเหล่านี้จะมีเมล็ดแบนๆ สี น้าตาลอยู่ ส่วนที่ใช้: ใบ ดอก เปลือก แก่น ราก ฝักแก่ เปลือกเป็นสีน้าตาลเข้ม กระพี้ เมล็ด สรรพคุณ : ใบ - ขับพยาธิ ดอก - แก้บาดแผลเรื้อรัง เปลือก - บารุงโลหิต กระพี้ - แก้โรครามะนาด
  • 5. แก่น - ขับไส้เดือนในท้อง ราก - แก้ไข้แก้โรคคุดทะราด เมล็ด - รักษาโรคบิด ฝักแก่ - รสหวานเอียนเล็กน้อย เป็นยาระบายถ่ายสะดวกไม่มวนไม่ไซ้ท้อง มีสารแอนทราควิโนน (Anthraquinone glycoside) เป็นตัวยาระบาย วิธีและปริมาณที่ใช้: โดยเอาเนื้อในฝักแก่ก้อนเท่าหัวแม่มือ (ประมาณ 4 กรัม) น้า 1 ถ้วยแก้วต้มกับน้าใส่เกลือ เล็กน้อย ดื่มก่อนนอนหรือตอนก่อนอาหารเช้าครั้งเดียว เหมาะเป็นยาระบายสาหรับคนที่ท้องผูกเป็นประจาและสตรีมีครรภ์ โด่ไม่รู้ล้ม
  • 6. ชื่อวิทยาศาสตร์ : Elephantopus scaber L. ชื่อสามัญ : Prickly-leaved elephant's foot วงศ์ : Asteraceae ชื่ออื่น : หนาดผา เคยโป้ หญ้าไก่นกคุ่ม หญ้าปราบ หญ้าสามสิบสองหาบ หญ้าไฟนกคุ้ม (ภาคเหนือ) ตะชีโกวะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ขี้ไฟนกคุ่ม (เลย) คิงไฟนกคุ่ม (ชัยภูมิ) หนาดมีแคลน (สุราษฎร์ธานี) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุก ลาต้นตั้งตรงสั้นอยู่ในระดับพื้นผิวดิน ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงเวียนกัน แน่นที่โคนต้น รูปขอบขนาน กว้าง 2-6 ซม.ยาว 10-25 ซม. ปลายใบและโคนใบมน แผ่นใบมีขนสากมือ ขอบ ใบจักเป็นฟันเลื่อย ก้านใบสีขาวหนา ดอก ออกเป็นช่อแบบแขนงที่ปลายยอด มีใบประดับ 2 ใบ ดอกสีม่วง กลีบ ดอกเรียวยาว ปลายกลีบดอกแหลม โคนเชื่อมติดกัน ก้านช่อดอกเหนี่ยวเมื่อโดนเหยียบก้านช่อดอกจะตั้งขึ้นมา ใหม่เหมือนเดิม เกสรเพศผู้เป็นเส้นตรงมีอับเรณูสีม่วง ผล รูปทรงกลม มีสัน 10 สัน ผิวมีขนนุ่มปกคลุม ส่วนที่ใช้: ทั้งต้นสด สรรพคุณ : มีรสขื่น แก้ปัสสาวะ และบารุงความกาหนัด มีรสกร่อย จืด ขื่นเล็กน้อย รับประทานทาให้เกิดกษัยแต่มีกาลัง ทั้งต้นต้มรับประทานต่างน้า แก้ไข้จับสั่นหรือไข้มาเลเรียดี ใช้ต้มรับประทานแก้ไอ สาหรับสตรีที่คลอดบุตร ใหม่ๆ บางตารากล่าวว่า แก้กษัย บารุงกาลัง ขับปัสสาวะ แก้ไข้ขับไส้เดือน แก้กามโรค แก้อักเสบ ห้ามเลือดกาเดา แก้ดีซ่าน นิ่ว บิด เหน็บชา ท้องมาน ฝีฝักบัว ข้อห้ามใช้: ห้ามใช้ในผู้หญิงท้อง และผู้ที่อาการกลัวหนาว แขนขาเย็น ไม่กระหายน้า ชอบดื่มของร้อน ปวดท้อง ท้องร่วง ปัสสาวะและปริมาณมาก มีชั้นฝ้าบนลิ้นขาวและหนา ตาราและวิธีใช้ (ดูรายละเอียด)
  • 7. หนุมานประสานกาย ชื่อวิทยาศาสตร์ : Schefflera leucantha R. Vig. วงศ์ : Araliaceae ชื่ออื่น : - ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พุ่ม สูง 1-4 เมตร แตกกิ่งก้านต่าใกล้พื้นดิน เปลือกต้นเรียบเป็นสีน้าตาล ใบ เป็น ใบประกอบแบบนิ้วมือ ออกเรียงสลับ มีใบย่อย 6-8 ใบ รูปรี กว้าง 1.5-3 ซม. ยาว 5-8 ซม. โคนใบแหลม ปลาย ใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบสีเขียวเป็นมัน ดอก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ดอกเล็กสีขาวนวล ผล เป็นผล มีเนื้อ รูปทรงกลม ขนาดเล็ก ส่วนที่ใช้: ใบสด สรรพคุณ : รักษาโรคหืด โรคแพ้อากาศ ขับเสมหะ รักษาโรคหลอดลมอักเสบ รักษาวัณโรคปอด แก้ไอ แก้อาเจียนเป็นเลือด ตาพอกแผลห้ามเลือด ห้ามเลือด วิธีและปริมาณที่ใช้: รักษาโรคหืด แพ้อากาศ ขับเสมหะ และโรคหลอดลมอักเสบ ใช้ใบสดเล็กๆ 9 ใบ ต้มกับน้า 3 ถ้วยแก้ว เคี่ยวให้เหลือ 1 ถ้วยแก้ว รับประทานวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหาร เช้า-เย็น เป็นเวลา 49 วัน หืดควรจะหาย ยาแก้อาเจียนเป็นเลือด ใช้ใบสด 12 ใบย่อย ตาคั้นน้า 2 ถ้วยตะไล รับประทานครั้งละ 1 ถ้วยตะไล ติดต่อกัน 5-7 วัน ใช้รักษาวัณโรค
  • 8. ใช้เหมือนวิธีที่ 1 ติดต่อกัน 60 วัน แล้ว x-ray ดู ปอดจะหาย แล้วให้รับประทานต่อมาอีกระยะหนึ่ง สารเคมี : พบ Oleic acid, butulinic acid, D - glucose, D - Xylose, L - rhamnose โหระพา ชื่อวิทยาศาตร์ Ocimum basilicum Linn.1 ชื่ออังกฤษ Common Basil, Sweet Basil1 ชื่อท้องถิ่น ห่อกวยซวย ห่อวอซุ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน); อิ่มคิมขาว (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน)1 ลักษณะของพืช เป็นพืชปีเดียว มีกลิ่นหอมทั้งต้น ลาต้นตั้งตรงสูง 20-70 ซม. กิ่งก้านสีม่วง ลักษณะสี่เหลี่ยม แตก กิ่งก้านสาขามาก มีขนอ่อนนุ่มสั้นๆ ใบรียาวออกตรงข้ามกัน ปลายใบแหลม ฐานใบเรียวแหลม ขอบใบเรียบหรือ อาจมีรอยหยักตื้นๆ คล้ายฟัน ส่องดูเห็นมีต่อมน้ามันทั่วทั้งตัวใบ ดอกออกเป็นช่อที่ยอด เรียงกันเป็นชั้นหลายชั้น แต่ละชั้นมีดอกย่อย 6 ดอกหรือมากกว่า เรียงติดกันรอบก้านช่อดอก ดอกย่อยมีกลีบเลี้ยง ติดกันเป็นหลอดมีขน อ่อนปกคลุม ส่วนปลายแยกเป็น 5 กลีบเล็กๆ กลีบดอกสีขาวหรือม่วงอ่อน ติดกันเป็นหลอดส่วนปลายแยกเป็น ปาก กลีบหนึ่งกลมรีมีขนาดใหญ่กว่ากลีบอื่นอยู่ด้านล่างอีก 4 กลีบ ขนาดเล็กเท่ากันอยู่ด้านบน มีเกสรตัวผู้4 อัน ยาวยื่นพ้นจากหลอดกลีบดอก ก้านเกสรตัวเมียเป็นเส้นยาว 1 เส้น ส่วนปลายแยกเป็น 2 แฉก รังไข่มี 4 ห้อง ผลมี เมล็ด 4 เม็ด เมล็ดกลมรี สีน้าตาล2 ส่วนที่ใช้ทายา ทั้งต้น เมล็ด และราก2 สรรพคุณและวิธีใช้1. ทั้งต้น รสฉุน สุขุม ขับลม ทาให้เจริญอาหาร แก้ปวดหัว หวัด ปวดกระเพาะอาหาร จุกเสียด แน่น ท้องเสีย ฟกช้าจากหกล้มหรือกระทบกระแทก และผดผื่นคันมีน้าเหลือง - ใช้แห้ง 6-10 กรัม ต้มน้ากิน หรือใช้สด คั้นเอาน้ากิน ใช้ภายนอก ตาพอก หรือต้มน้าชะล้าง หรือเผาเป็นเถ้า บด เป็นผงผสมทา 2. เมล็ด รสชุ่ม เย็น สุขุม ถูกน้าจะพองตัวเป็นเมือก และใช้เป็นยาระบาย - ใช้แห้ง 2.5-5 กรัม ต้มน้า หรือแช่น้ากิน ใช้ภายนอก บดเป็นผงแต้ม
  • 10. กระชาย ชื่อวิทยาศาตร์ Boesenbergia pandurata Holtt.)1 = Boesenbergia rotunda (L.) Mansf. (Syn. Kaempferia pandurata Roxb.)2 ชื่อท้องถิ่น กะแอน ระแอน (ภาคเหนือ); จี๊ปู ซีพู (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน); เป๊ าะซอเร๊าะ เป๊ าะสี่ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน); ว่านพระอาทิตย์ (กรุงเทพฯ) ลักษณะของพืช เป็นพืชล้มลุก มีลาต้นอยู่ใต้ดินเรียกว่าเหง้า มีรากติดเป็นกระจุกเป็นที่สะสมอาหาร ยาว 6-10 ซม. ทรงกระบอก ปลายเรียวแหลม ผิวสีน้าตาลอ่อน เนื้อสีเหลือง มีกลิ่นหอม ส่วนที่อยู่เหนือ พื้นดิน ประกอบด้วยโคนก้านใบที่เป็นกาบหุ้มซ้อนกัน สูง 30-50 ซม. กาบใบยาว 12-25 ซม. สีแดง เรื่อๆ แผ่นใบรูปรีปลายแหลมโคนแหลมหรือมน ขอบเรียบ มีขนาดกว้าง 5-10 ซม. ยาว 10-30 ซม. ดอกออกเป็นช่อที่ยอด ช่อดอกมีใบประดับเรียงทะแยงกัน ดอกที่อยู่ปลายช่อจะบานก่อน ปลายใบ ประดับเรียบ กลีบดอกสีขาว หรือขาวอมชมพู มีลักษณะเป็นถุง แยกเป็น 2 กลีบ เห็นไม่ชัด2 ส่วน ที่ใช้ทายา เหง้าและราก (ทั้งสดหรือแห้ง) สรรพคุณและวิธีใช้ 1. แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ และปวดท้อง - ใช้เหง้าและรากประมาณ 1/3-1/2 กามือ (สด 5-10 กรัม แห้ง 3-5 กรัม) ต้มน้าดื่ม 2. แก้บิด (ปวดเบ่งและมีมูกหรืออาจมีเลือดด้วย) - ใช้เหง้าหรือหัวสดครั้งละ 2 หัว (ประมาณ 15 กรัม) ย่างไฟพอสุก ตากับน้าปูนใส คั้นน้าดื่ม3
  • 11. กานพลู ชื่อวิทยาศาตร์ Syzygium aromaticum (L.) Merr. Et Perry (Syn. Eugenia caryophyllus (Sprenge) Bullock et Harrison1 ชื่ออังกฤษ Clove1 ลักษณะของพืช เป็นไม้ยืนต้นขนาดกลาง สูง 5-10 ม. เปลือกสีน้าตาลอ่อน เรียบ ทุกส่วนเกลี้ยง กิ่ง ก้านเป็นรูปทรงกระบอกค่อยๆ เปลี่ยนเป็นสีน้าตาลเทาอ่อนๆ ใบเป็นใบเดี่ยว ออกตรงข้ามกัน รูป ขอบขนานแกมไข่กลับ กว้าง 3-5 ซม. ยาว 7-12 ซม. ปลายแหลมโคนสอบแคบเป็นรูปลิ่ม มันเป็น เงา ด้านล่างมีต่อมหนาแน่น เมื่อแห้งสีน้าตาลอมเทาอ่อน เส้นใบมีจานวน มากขนานกัน เห็นไม่ชัด ทั้งสองด้าน แต่บางทีเห็นชัดด้านบน มีเส้นเรียบขอบใบ ก้านใบยาว 1-2 ซม. เล็กเรียว ดอกออก เป็น ช่อ มักออกที่ปลายยอด หรือตามง่ามใบใกล้ๆ ปลายยอดมี 3-20 ดอก กลีบรองกลีบดอกสีเขียวอม เหลือง มีสีแดงกระจาย เชื่อมติดกันเป็นรูปท่อ ยาว 1-1.5 ซม. ปลายแยกเป็นแฉก รูปสามเหลี่ยมแกม รูปไข่ มี 4-5 พู ยาวประมาณ 2 มม. กลีบดอก เชื่อมติดกันคล้ายเป็นหมวก ก้านเกสรผู้ยาว 3-7 มม. รังไข่มี 2-3 ห้อง แต่ละห้องมีไข่อ่อนจานวนมาก ท่อเกสรเมียยาวประมาณ 3 มม. ยอดเกสรเมีย แบ่งเป็น 2 พู ผลสดรูปไข่กลับแกมรูปรี ยาว 2-2.5 ซม. สีแดงเข้ม2 ส่วนที่ใช้ทายา ดอก (ดอกกานพลูที่ดีจะต้องเป็นดอกที่มิได้สกัดเอาน้ามันออก และมีกลิ่นฉุนรสเผ็ด จัด)3 สรรพคุณและวิธีใช้ 1. แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้ อ และปวดท้อง - ใช้ดอกแห้ง 5-8 ดอก (0.12-0.6 กรัม) ต้มหรือบดเป็นผงรับประทาน (ดอกกานพลู) ดอก ทุบแล้ว แช่ในน้าเดือด 1 ขวดเหล้า ใช้ชงนมเด็กจะช่วยป้ องกันไม่ให้เด็กท้องขึ้นท้องเฟ้อได้ 2. แก้อาการปวดฟัน - กลั่นเอาน้ามันใส่ฟันหรือใช้ทั้งดอกเคี้ยวแล้วอมไว้ตรงบริเวณฟันที่ปวดเพื่อระงับอาการปวดฟัน3 ผลิตภัณฑ์ น้ามันกานพลู และดอกกานพลูแห้ง อมระงับกลิ่นปาก และบรรเทาอาการปวดฟัน
  • 12. กะเพรา ชื่อวิทยาศาตร์ Ocimum sanctum Linn.1 ชื่ออังกฤษ Holy Basil1 ชื่อท้องถิ่น กอมก้อ กอมก้อดง (เชียงใหม่); กะเพราแดง (ภาคกลาง); ห่อกวอซู ห่อตูปลู (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน); อิ่มคิมหลา (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน)1 ลักษณะของพืช เป็นไม้ล้มลุกลาต้นตั้งตรงสูง 30-60 ซม. มีขนทั่วไป ใบเดี่ยวออกตรงข้าม รูปรี หรือรีค่อนข้างยาว กว้าง 1-2.5 ซม. ยาว 3-6 ซม. ปลายแหลม หรือมน โคนแหลม หรือแหลมเป็นครีบ ขอบเรียบ หรือจักห่างๆ มีขน ทั้งสองด้าน มีขนมากตามเส้นใบด้านล่าง เนื้อในบาง นุ่ม สีเขียวอมม่วงแดง ดอกออกเป็นช่อที่ยอด หรือที่ปลายกิ่ง ยาว 8-10 ซม. ริ้วประดับรูปไข่หรือรูปหัวใจ ปลายแหลม ขอบมีขน ยาว 2-3 มม. ก้านดอกโค้ง ยาว 3-4.5 มม. มีขน ยาว 2-3 มม. กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 2.5 มม. เชื่อมติดกันเป็นหลอดปลายแยกเป็นปาก ปากบนใหญ่กว้างและแบน ปากล่างแยก เป็นแฉกแหลม 4 แฉก แฉกกลาง 2 แฉก ยาวกว่าแฉกข้าง ด้านนอกมีต่อมและมีขน ด้านในเกลี้ยง กลีบดอก สีขาวอมม่วง หรือสีม่วงเชื่อมติดกันเป็นรูประฆัง ปลายแยกเป็นปาก ปากบนมีแฉกมน ๆ 4 แฉก ขนาด เกือบเท่ากัน ปากล่างโค้งลง แบน ขอบเรียบ เกสรเพศผู้มี 2 คู่ คู่บนยาวกว่าคู่ล่าง ก้านเกสรไม่ติดกัน ที่โคนก้านคู่ บนมีติ่งสั้นๆ และมีขน ผลเล็ก ยาวประมาณ 1.2 มม. ปลายมน เกลี้ยง2 ส่วนที่ใช้ทายา ใบ และยอด2 สรรพคุณและวิธีใช้ แก้อาการท้องอืดท้องเฟ้อ ปวดท้อง - -ใช้ใบและยอด 1 กามือ (น้าหนักสดประมาณ 25 กรัม แห้งประมาณ 4 กรัม) ต้มเอาน้าดื่ม เหมาะสาหรับเด็ก - -ใช้ใบสด 3 ใบ ผสมเกลือพอสมควร บดให้ละเอียด ละลายน้าสุกหรือน้าผึ้งหยอดให้เด็กอ่อน คลอดได้ราวๆ 2-3 วันรับประทานเป็นยาขับลม2 ผลิตภัณฑ์น้ากะเพรา สรรพคุณ ช่วยขับลม แก้ท้องอืด ท้องเฟ้อ ได้ดี