SlideShare a Scribd company logo
1 of 104
Download to read offline
คู่มือการใช้สมุนไพรส�ำหรับประชาชน
บรรณาธิการ
รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.นพมาศ สุนทรเจริญนนท์
รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.วิสุดา สุวิทยาวัฒน์
พนิดา ใหญ่ธรรมสาร
ภาพประกอบ
ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ส�ำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ศิลปกรรม
นนทินี สรรพคุณ
ผู้สนับสนุนการจัดพิมพ์
โครงการช่วยเหลือเพื่อการปรับตัวของภาคการผลิตและภาคบริการที่ได้รับผลกระทบ
จากการเปิดเสรีทางการค้า (กองทุน FTA) กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์
ภายใต้โครงการการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยาสมุนไพรเพื่อลดผลกระทบ
จากการเปิดเสรีทางการค้า AFTA ด้วยสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ 2554
สงวนลิขสิทธิ์
กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
พิมพ์ครั้งที่ 1 จ�ำนวน 1,000 เล่ม
ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ
National Library of Thailand Cataloging in Publication Data
คู่มือสมุนไพรส�ำหรับประชาชน.--กรุงเทพฯ : คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555.
	 102 หน้า.
1. สมุนไพร. 2. ยาแผนโบราณ. I. นพมาศ สุนทรเจริญนนท์, บรรณาธิการ.
II. วิสุดา สุวิทยาวัฒน์, บรรณาธิการ. III. พนิดา ใหญ่ธรรมสาร, บรรณาธิการ. IV.
ชื่อเรื่อง.
615.321
ISBN 978-616-279-006-5
พิมพ์ที่ บริษัท คอนเซ็พท์ เมดิคัส จ�ำกัด โทร 0-2942-3670-2
211/359 หมู่ที่ 11 ซ. ลาดพร้าววังหิน 76 ถนนลาดพร้าววังหิน แขวงลาดพร้าว กรุงเทพฯ
i
ii
สารจากคณบดี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
ยาสมุนไพรนับเป็นภูมิปัญญาของประเทศที่อยู่คู่คนไทยมาแต่ครั้งโบราณจนถึง
ปัจจุบัน ในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา ต�ำรับยาสมุนไพรบางต�ำรับถูกลืมเลือนหายไป
พร้อมๆ กับผู้รู้ หรือผู้สืบทอดต�ำรับยานั้นๆ ด้วยเหตุนี้ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย
มหิดล มีแนวคิดที่จะรักษาภูมิปัญญานี้ไว้ให้คงอยู่ ประกอบกับโครงการช่วยเหลือเพื่อ
การปรับตัวของภาคการผลิตและภาคบริการที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า
(กองทุน FTA) กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ได้มีนโยบายในการสนับสนุน
ให้มีการน�ำยาสมุนไพรมาใช้อย่างแพร่หลายทั้งภายในและต่างประเทศ เพื่อการรองรับ
กับการเตรียมตัวในการเข้าสู่เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ในปี ๒๕๕๘ โดยได้สนับสนุน
เงินงบประมาณในโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยาสมุนไพรไทย
เพื่อลดผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า AFTA ด้วยสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ
๒๕๕๔ ซึ่งหนึ่งในกิจกรรมในโครงการดังกล่าวคือ “โครงการการส่งเสริมให้ประชาชนรู้จัก
ใช้ต�ำรับยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ” เป็นโครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม
การใช้ยาสมุนไพรไทยในบัญชียาหลักแห่งชาติ ในทุกภาคส่วนเพื่อการพึ่งตนเองทางด้าน
ยารักษาโรค และปกป้องตลาดยาภายในประเทศ โดยให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับยา
สมุนไพรไทยให้ดียิ่งขึ้น ทั้งในด้านทฤษฎี งานวิจัยสมุนไพร ประโยชน์ และการน�ำไปใช้
รวมถึงการผลิตหรือเตรียมยาสมุนไพรไว้ใช้เองในครัวเรือน เป็นการกระจายความรู้ไปสู่
ทุกภาคส่วนอย่างทั่วถึง
ด้วยเหตุผลข้างต้นที่กล่าวมา จึงเป็นที่มาของหนังสือ “คู่มือการใช้สมุนไพรส�ำหรับ
ประชาชน” ได้จัดท�ำขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการดังกล่าว โดยมีคณาจารย์ และ
นักวิชาการของส�ำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นผู้
ท�ำหน้าที่ถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยีต่าง ๆ ของสมุนไพรไปสู่ประชาชน เพื่อการส่งเสริม
ให้ประชาชนรู้จักเลือกใช้สมุนไพรใกล้ตัวอย่างถูกต้อง มีประโยชน์สูงสุดและน�ำไปสู่การ
ลดการใช้ยาจากต่างประเทศรวมถึงค่าใช้จ่ายการรักษาพยาบาลได้ และเป็นการอนุรักษ์
ภูมิปัญญาการใช้ยาสมุนไพรของบรรพบุรุษสืบต่อไป
				 รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.จุฑามณี สุทธิสีสังข์
				 คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล
iii
ค�ำน�ำ
ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area : AFTA) เริ่มมี
ผลบังคับใช้อย่างเต็มรูปแบบเมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และก�ำลังขับเคลื่อนไปสู่
การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ภายใน
ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่อน�ำไปสู่การเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน (Single Market and
Single Production Base) ซึ่งจะมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินลงทุน
และแรงงานฝีมืออย่างเสรี ท�ำให้ผู้บริโภคสามารถเลือกสรรและซื้อสินค้าและบริการได้อย่าง
หลากหลายภายในภูมิภาค ผลจากการเปิดเสรีการค้าดังกล่าว ท�ำให้กลุ่มอุตสาหกรรม
สมุนไพร สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตระหนักถึงผลกระทบต่ออุตสาหกรรม
สมุนไพร จึงได้ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากโครงการช่วยเหลือเพื่อการปรับ
ตัวของภาคการผลิตและภาคบริการที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า
(กองทุน FTA) กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เพื่อด�ำเนินโครงการ
ยุทธศาสตร์การพัฒนาห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมสมุนไพรไทยเพื่อลดผลกระทบจากการ
เปิดเสรีทางการค้า AFTA ด้วยสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติในปี ๒๕๕๒ และต่อมา
ได้ขอรับการสนับสนุนเพิ่มเติมในโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยา
สมุนไพรไทยเพื่อลดผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า AFTA ด้วยสมุนไพรในบัญชียา
หลักแห่งชาติ ๒๕๕๔ ซึ่งหนึ่งในกิจกรรมในโครงการดังกล่าวคือ “โครงการการส่งเสริม
ให้ประชาชนรู้จักใช้ต�ำรับยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ” ซึ่งเป็นโครงการที่มี
วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรไทยในบัญชียาหลักแห่งชาติในทุกภาคส่วน
เพื่อการพึ่งตนเองทางด้านยารักษาโรค และปกป้องตลาดยาภายในประเทศ
หนังสือ “คู่มือการใช้สมุนไพรส�ำหรับประชาชน” เป็นหนังสือประกอบการบรรยายใน
“โครงการการส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักใช้ต�ำรับยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ” ซึ่ง
จัดการอบรมและส่งเสริมให้อาสาสมัครสาธารณสุข และประชาชนโดยทั่วไปให้มีความรู้
เกี่ยวกับงานวิจัยทั้งด้านพรีคลินิก และคลินิกของยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ เพื่อ
เป็นประโยชน์ในการน�ำไปใช้เพื่อการพึ่งตนเองทางด้านยารักษาโรค พร้อมกันนี้หนังสือ
เล่มนี้ยังประกอบด้วยข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของผักพื้นบ้านที่จะเป็นประโยชน์ต่อการ
บริโภค
iv
คณะผู้จัดท�ำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นคู่มือที่เป็นประโยชน์ไม่เพียง
แต่ผู้ที่เข้าร่วมการอบรมเท่านั้น แต่จะเป็นประโยชน์ส�ำหรับผู้ที่สนใจและห่วงใยสุขภาพ
ในทุกระดับ ซึ่งการที่คนไทยหันกลับมาใช้ยาไทยจะเป็นการลดการขาดดุลการค้าและ
เป็นการพึ่งตนเองทางด้านยา สร้างอาชีพและรายได้ให้กับประชาชน และยังเป็นการ
อนุรักษ์ภูมิปัญญาสืบต่อไป
							 บรรณาธิการ
v
รายนามผู้นิพนธ์
รองศาสตราจารย์ ภญ.พร้อมจิต ศรลัมพ์
รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.สุวรรณ ธีระวรพันธ์
รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.นพมาศ สุนทรเจริญนนท์
รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.วิสุดา สุวิทยาวัฒน์
รองศาสตราจารย์ ดร.สุจิตรา ทองประดิษฐ์โชติ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.วีณา นุกูลการ
อาจารย์ ดร.ภญ.ณัฏฐินี อนันตโชค
อาจารย์ ภญ.วรวรรณ กิจผาติ
พนิดา ใหญ่ธรรมสาร
กฤติยา ไชยนอก
อรัญญา ศรีบุศราคัม
ศิริพร เหลียงกอบกิจ
vi
สารบัญ
สารจากคณบดี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล	 iii
ค�ำน�ำ		 iv
รายนามผู้นิพนธ์	 vi
ยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ 2554	 1
กลุ่มที่ 1 ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ	 7
	 ต�ำรับยาจันทน์ลีลา 	 8
	 ต�ำรับยาไฟประลัยกัลป์  	 11
	 ต�ำรับยาหอมนวโกฐและยาหอมอินทจักร์ 	14
	 ต�ำรับยาเหลืองปิดสมุทร 	 19
	
กลุ่มที่ 2 ยาพัฒนาจากสมุนไพร	 23	
	 กล้วย	 24
	 ขมิ้นชัน  	 28
	 ขิง 	 31
	 ชุมเห็ดเทศ 	 35
	 เถาวัลย์เปรียง 	 38
	 ทองพันชั่ง 	 41
	 บัวบก 	 44
	 พญายอ 	 47
	 ไพล 	 50
	 ฟ้าทะลายโจร 	 53
	 รางจืด 	 57
ผักพื้นบ้าน	 63	
	 กระเจี๊ยบแดง 	 64
	 กระเจี๊ยบมอญ 	 64
	 กระชาย 	 65
vii
สารบัญ
	 กระโดน 	 65
	 กระถิน 	 66
	 กะทือ 	 66
	 กะเพรา 	 67
	 ขจร 	 67
	 ข่า 	 68
	 ขี้เหล็ก 	 69
	 ผักแขยง 	 70
	 คูน 	 70
	 แค 	 71
	 ชะพลู/ ช้าพลู 	 71
	 ชะอม 	 72
	 ตะลิงปลิง 	 72
	 ต�ำลึง 	 73
	 เนียมหูเสือ 	 73
	 เปราะหอม 	 74
	 ผักคราด/ผักคราดหัวแหวน 	 74
	 ผักชีล้อม 	 75
	 ผักเชียงดา/ ผักเซียงดา 	 75
	 ผักปลัง 	 76
	 ผักไผ่/ผักแพว 	 76
	 ผักเสี้ยน  	 77
	 ผักหนาม 	 77
	 ผักหวานบ้าน 	 78
	 ผักหวานป่า 	 78
	 ผักเหรียง 	 79
	 พริกชี้ฟ้า, พริกขี้หนู 	 79
viii
สารบัญ
	 พลูคาว 	 80
	 เพกา 	 80
	 ฟักข้าว 	 81
	 มะกอก 	 81
	 มะขาม 	 82
	 มะเขือพวง 	 82
	 มะตูม 	 83
	 มะม่วงหิมพานต์ 	 83
	 มะระขี้นก 	 84
	 มะแว้งเครือ 	 85
	 มะอึก 	 85
	 มันปู 	 86
	 แมงลัก 	 86
	 ยอ 	 87
	 ส้มป่อย 	 87
	 สมอไทย 	 88
	 สะเดาบ้าน 	 89
	 สะตอ 	 89
	 โสน 	 90
	 หมุย 	 90
	 หวดหม่อน 	 91
	 โหระพา 	 91
บรรณานุกรม 	 92
ix
x
1
ยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ 2554
ยาสมุนไพรตามบัญชียาหลักแห่งชาติ 2549 มีต�ำรับยา 19 ต�ำรับ แต่ในปี 2554 จะ
มีต�ำรับทั้งสิ้น 71 ต�ำรับ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ
และกลุ่มที่ 2 ยาพัฒนาจากสมุนไพร ซึ่งจะเป็นรายการยาทั่วไป และต�ำรับยาของโรงพยาบาล
รายละเอียดเป็นดังนี้
กลุ่มที่ 1 ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ
	 1.1 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบไหลเวียนโลหิต (แก้ลม)
		 (1) 	ยาหอมทิพโอสถ ยาผง ยาเม็ด ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.)
		 (2) 	ยาหอมเทพจิตร ยาผง ยาเม็ด
		 (3) 	ยาหอมนวโกฐ ยาผง ยาเม็ด ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.)
		 (4) 	ยาหอมบ�ำรุงหัวใจ ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.)
		 (5) 	ยาหอมอินทจักร์ ยาผง ยาเม็ด ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.)
	 1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร
		 1.2.1 กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
			 (1)	 ยาธาตุบรรจบ ยาแคปซูล ยาผง ยาลูกกลอน ยาแคปซูล(รพ.)
				 ยาผง(รพ.) ยาลูกกลอน(รพ.)
			 (2) 	 ยาธาตุอบเชย ยาน�้ำ(รพ.)
			 (3) 	 ยาเบญจกูล ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน
				 ยาแคปซูล(รพ.) ยาชง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.)
			 (4) 	 ยาประสะกะเพรา ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล(รพ.)
				 ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.)
			 (5) 	 ยาประสะกานพลู ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาผง(รพ.)
			 (6) 	 ยาประสะเจตพังคี ยาแคปซูล ยาผง ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.)
			 	 ยาเม็ด(รพ.)
			 (7) 	 ยามันทธาตุ ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.)
				 ยาเม็ด(รพ.)
			 (8) 	 ยามหาจักรใหญ่ ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.)
			 (9)	 ยาวิสัมพยาใหญ่ ยาผง ยาลูกกลอน
2
			 (10) 	ยาอภัยสาลี ยาลูกกลอน ยาเม็ด
		 1.2.2 กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องผูก
			 (1) 	 ยาถ่ายดีเกลือฝรั่ง ยาแคปซูล ยาเม็ด
			 (2)	 ยาธรณีสันฑะฆาต ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน
				 ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.)
		 1.2.3 กลุ่มยาแก้ท้องเสีย
			 (1)	 ยาธาตุบรรจบ ยาแคปซูล ยาผง ยาลูกกลอน ยาแคปซูล(รพ.)
				 ยาผง(รพ.) ยาลูกกลอน(รพ.)
			 (2)	 ยาเหลืองปิดสมุทร ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.)
				 ยาเม็ด(รพ.)
		 1.2.4 กลุ่มยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก
			 (1)	 ยาผสมเพชรสังฆาต ยาแคปซูล ยาแคปซูล(รพ.)
			 (2)	 ยาริดสีดวงมหากาฬ ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล(รพ.)
	 1.3	 ยารักษากลุ่มอาการทางสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา
		 (1) 	ยาประสะไพล ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล(รพ.)
			 ยาผง(รพ.) ยาลูกกลอน(รพ.)
		 (2) 	ยาปลูกไฟธาตุ ยาแคปซูล(รพ.) ยาลูกกลอน(รพ.)
		 (3)	 ยาไฟประลัยกัลป์ ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.)
			 ยาเม็ด(รพ.)
		 (4)	 ยาไฟห้ากอง ยาผง ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.)
		 (5)	 ยาเลือดงาม ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.)
		 (6)	 ยาสตรีหลังคลอด ยาต้ม(รพ.)
	 1.4 ยาแก้ไข้
		 (1)	 ยาเขียวหอม ยาผง ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.)
		 (2)	 ยาจันทน์ลีลา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.)
			 ยาเม็ด(รพ.)
		 (3)	 ยาประสะจันทน์แดง ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.)
			 ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.)
		 (4)	 ยาประสะเปราะใหญ่ ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.)
3
			 ยาเม็ด(รพ.)
		 (5)	 ยามหานิลแท่งทอง ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.)
		 (6)	 ยาห้าราก ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด
	 1.5 ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินหายใจ
		 (1)	 ยาแก้ไอผสมกานพลู ยาลูกกลอน(รพ.)
		 (2)	 ยาแก้ไอผสมมะขามป้อม ยาน�้ำ(รพ.)
		 (3)	 ยาแก้ไอผสมมะนาวดอง ยาลูกกลอน(รพ.)
		 (4)	 ยาแก้ไอพื้นบ้านอีสาน ยาน�้ำ(รพ.)
		 (5)	 ยาตรีผลา ยาลูกกลอน ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาชง(รพ.)
		 (6)	 ยาประสะมะแว้ง ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาลูกกลอน(รพ.)
		 (7)	 ยาปราบชมพูทวีป ยาแคปซูล(รพ.) ยาลูกกลอน(รพ.)
		 (8)	 ยาอ�ำมฤควาที ยาผง ยาลูกกลอน ยาผง(รพ.) ยาลูกกลอน(รพ.)
	 1.6 ยาบ�ำรุงโลหิต
		 (1)	 ยาบ�ำรุงโลหิต ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.)
			 ยาเม็ด(รพ.)
	 1.7 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก
		 1.7.1 ยาส�ำหรับรับประทาน
			 (1) 	 ยากษัยเส้น ยาลูกกลอน(รพ.)
			 (2)	 ยาแก้ลมอัมพฤกษ์ ยาผง(รพ.)
			 (3)	 ยาธรณีสันฑะฆาต ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน
				 ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.)
			 (4)	 ยาผสมโคคลาน ยาชง(รพ.) ยาต้ม(รพ.)
			 (5)	 ยาผสมเถาวัลย์เปรียง ยาลูกกลอน(รพ.)
			 (6)	 ยาสหัศธารา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน
				 ยาแคปซูล(รพ.) ยาลูกกลอน(รพ.)
		 1.7.2 ยาส�ำหรับใช้ภายนอก
			 (1)	 ยาขี้ผึ้งไพล ยาขี้ผึ้ง(รพ.)
			 (2)	 ยาประคบ ยาสมุนไพรประคบสด(รพ.) ยาสมุนไพรประคบแห้ง(รพ.)
4
	 1.8 ยาบ�ำรุงธาตุ ปรับธาตุ
		 (1)	 ยาตรีเกสรมาศ ยาชง(รพ.)
		 (2)	 ยาตรีพิกัด ยาแคปซูล (รพ.)
		 (3)	 ยาเบญจกูล ยาแคปซูล ยาชง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล(รพ.)
			 ยาชง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.)
		 (4)	 ยาปลูกไฟธาตุ ยาแคปซูล(รพ.) ยาลูกกลอน(รพ.)
กลุ่มที่ 2 ยาพัฒนาจากสมุนไพร
	 2.1 ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินอาหาร
		 (1) 	ยากล้วย ยาผง (รพ.)
		 (2)	 ยาขมิ้นชัน ยาแคปซูล ยาแคปซูล(รพ.) ยาเม็ด(รพ.)
		 (3)	 ยาขิง ยาแคปซูล ยาผง ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาชง(รพ.)
		 (4)	 ยาชุมเห็ดเทศ ยาแคปซูล ยาผง ยาแคปซูล(รพ.) ยาชง(รพ.)
		 (5)	 ยาฟ้าทะลายโจร ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล(รพ.)
			 ยาลูกกลอน(รพ.)
		 (6)	 ยามะขามแขก ยาแคปซูล(รพ.) ยาชง(รพ.)
	 2.2 ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินหายใจ
		 (1)	 ยาฟ้าทะลายโจร ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล(รพ.)
			 ยาลูกกลอน(รพ.)
	 2.3 ยารักษากลุ่มอาการของระบบผิวหนัง
		 (1)	 ยาทิงเจอร์ทองพันชั่ง ทิงเจอร์(รพ.)
		 (2)	 ยาทิงเจอร์พลู ทิงเจอร์(รพ.)
		 (3)	 ยาบัวบก ยาครีม ยาครีม(รพ.)
		 (4)	 ยาเปลือกมังคุด ยาน�้ำใส(รพ.)
		 (5)	 ยาพญายอ ยาครีม สารละลาย (solution) ส�ำหรับป้ายปาก
			 ยาโลชัน(รพ.) ยาขี้ผึ้ง(รพ.) สารละลาย (solution) ส�ำหรับป้ายปาก(รพ.)
			 ทิงเจอร์(รพ.)
	 2.4 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก
		 2.4.1 ยาส�ำหรับรับประทาน
			 (1)	 ยาเถาวัลย์เปรียง ยาแคปซูล(รพ.)
5
		 2.4.2 ยาส�ำหรับใช้ภายนอก
			 (1)	 ยาพริก ยาเจล ยาครีม(รพ.) ยาเจล(รพ.) ยาขี้ผึ้ง (รพ.)
			 (2)	 ยาไพล ยาครีม
			 (3)	 ยาน�้ำมันไพล ยาน�้ำมัน(รพ.)
	 2.5 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินปัสสาวะ
		 (1)	 ยากระเจี๊ยบ ยาชง(รพ.)
		 (2)	 ยาหญ้าหนวดแมว ยาชง(รพ.)
	 2.6 ยาแก้ไข้ แก้ร้อนใน
		 (1)	 ยาบัวบก ยาแคปซูล(รพ.) ยาชง(รพ.)
		 (2)	 ยามะระขี้นก ยาแคปซูล(รพ.) ยาชง(รพ.)
		 (3)	 ยาหญ้าปักกิ่ง ยาแคปซูล(รพ.) ยาชง(รพ.)
	 2.7 ยาถอนพิษเบื่อเมา
		 (1)	 ยารางจืด ยาแคปซูล(รพ.) ยาชง(รพ.)
	 2.8 ยาลดความอยากบุหรี่
		 (1)	 ยาหญ้าดอกขาว ยาชง(รพ.)
6
7
กลุมที่ 1
ยำแผนไทยหรือยำแผนโบรำณ
8
   ต�ำรับยาจันทน์ลีลา 
นพมาศ สุนทรเจริญนนท์
	 ต�ำรับยาจันทน์ลีลา จัดเป็นต�ำรับยาในยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ1
และยังจัด
อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ (บัญชียาจากสมุนไพร พ.ศ. 2554)2
กลุ่มบัญชียาแผนไทยหรือยา
แผนโบราณ เป็นยาแก้ไข้
ยาจันทน์ลีลา
	 ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.)
สูตรต�ำรับ
ในผงยา 99 กรัม ประกอบด้วย
	 โกฐสอ โกฐเขมา โกฐจุฬาลัมพา แก่นจันทน์ขาวหรือจันทน์ชะมด แก่นจันทน์แดง 	
	 ลูกกระดอม เถาบอระเพ็ด รากปลาไหลเผือก หนักสิ่งละ 12 กรัม พิมเสน หนัก	
	 3 กรัม
ค�ำแนะน�ำ
	 บรรเทาอาการไข้ตัวร้อน ไข้เปลี่ยนฤดู
ขนาดและวิธีใช้
ชนิดผง
ผู้ใหญ่
	 รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ละลายน�้ำสุก ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี
	 รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม ละลายน�้ำสุก ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อ
มีอาการ
ชนิดเม็ด และชนิดแคปซูล
ผู้ใหญ่
	 รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
เด็ก อายุ 6 - 12 ปี
	 รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
9
ค�ำเตือน
	 ไม่แนะน�ำให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของ	
	 ไข้เลือดออก
	 หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์
ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของเครื่องยาและสารสกัดต�ำรับยาจันทน์ลีลา
	 ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของเครื่องยาที่เป็นส่วนประกอบในต�ำรับยาจันทน์ลีลาที่
มีฤทธิ์ต้านการปวด อักเสบ และแก้ไข้ ได้แก่ โกฐเขมา (สารส�ำคัญคือ สาร β-eudesmol,
atractylochromene และ polyacetylenes มีฤทธิ์แก้ปวดและต้านการอักเสบ),
โกฐจุฬาล�ำพา (สารส�ำคัญคือ scopoletin มีฤทธิ์แก้ไข้และต้านการอักเสบ, สาร
artemisinin มีผลรักษาโรคมาลาเรียที่ดื้อต่อยา), โกฐสอ (สารส�ำคัญที่มีฤทธิ์ต้านการ
อักเสบคือ byakangelicol, สาร byakangelicin สาร imperatorin), แก่นจันทน์แดง,
บอระเพ็ด (สารส�ำคัญคือ N-trans-feruloytyramine มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ), และ
ปลาไหลเผือก (สารส�ำคัญคือ quassinoids มีฤทธิ์ต้านมาลาเรีย)3
	 สารสกัดต่อเนื่องด้วยเฮกเซน แอลกอฮอล์ และน�้ำของต�ำรับยาจันทน์ลีลามีฤทธิ์
ต้านการอักเสบ แก้ปวด และแก้ไข้ ซึ่งการศึกษาฤทธิ์ต้านการอักเสบเฉียบพลันของต�ำรับ
ยาจันทน์ลีลาโดยการใช้ ethyl phenylpropiolate (EPP) กระตุ้นการบวมของใบหูหนูขาว
พบว่ายาจันทน์ลีลาในขนาด 1, 2 และ 4 มิลลิกรัมต่อ 20 ไมโครลิตรต่อหู สามารถลด
การบวมของใบหูหนูได้ และให้ผลใกล้เคียงกับยามาตรฐาน phenylbutazone ต�ำรับยา
จันทน์ลีลา ขนาดยา 300-1,200 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน�้ำหนักตัว มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ
(carrageenan-induced paw edema) และมีฤทธิ์ยับยั้งความเจ็บปวด (formalin test)
ได้ผลดีกว่ายามาตรฐาน aspirin ใน early stage แต่ให้ผลใกล้เคียงกันใน late stage
ต�ำรับยาจันทน์ลีลาขนาด 1,200 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน�้ำหนักตัว มีฤทธิ์ลดอุณหภูมิร่างกายที่
เพิ่มสูงขึ้นได้ ส่วนการศึกษาความเป็นพิษเฉียบพลันและกึ่งเรื้อรัง พบว่าต�ำรับยาจันทน์ลีลา
ขนาดยา 5 กรัมต่อกิโลกรัมน�้ำหนักตัว ไม่ก่อพิษเฉียบพลัน และขนาดยา 600, 1,200 และ
2,400 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน�้ำหนักตัว ไม่ก่อพิษกึ่งเรื้อรัง ในระยะเวลา 90 วัน4
10
เอกสารอ้างอิง
1. 	ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ ประกาศ ณ วันที่ 26 มิถุนายน
พ.ศ. 2542. คัดจากราชกิจจานุเบกษา เล่ม 116 ตอนที่ 67 ง วันที่ 24 สิงหาคม 2542.
2. คณะกรรมการแห่งชาติด้านยา. บัญชียาหลักแห่งชาติ (รายการยาจากสมุนไพร). กรุงเทพมหานคร:
ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2554.
3.	นพมาศ สุนทรเจริญนนท์ นงลักษณ์ เรืองวิเศษ. คุณภาพเครื่องยาไทย..จากงานวิจัยสู่การ
พัฒนาอย่างยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: บริษัทคอนเซพท์ เมดิคัส จ�ำกัด, 2551.
4.	นพมาศ สุนทรเจริญนนท์ สีหณัฐ ธนาภรณ์ นงลักษณ์ เรืองวิเศษ บังอร เกียรติธนากร.
รายงานวิจัยและพัฒนาต�ำรับแผนโบราณเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน (ปี 2549). กรุงเทพมหานคร:
ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2549.
11
ต�ำรับยาไฟประลัยกัลป์
นพมาศ สุนทรเจริญนนท์
สีวบูรณ์ สิรีรัฐวงศ์
	 ต�ำรับยาไฟประลัยกัลป์ เป็นต�ำรับยาสามัญประจ�ำบ้าน1
ที่ใช้รักษาโรคเกี่ยวกับ
สตรี สตรีที่มีประจ�ำเดือนมาไม่ปกติ ปวดประจ�ำเดือน หญิงหลังคลอด ท�ำให้มดลูกเข้าอู่
เร็วขึ้น และใช้เป็นยาบ�ำรุงเลือด เจริญอาหาร และเป็นต�ำรับยาในบัญชียาจากสมุนไพร
ตามยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ ปี 2542 เป็นยารักษากลุ่มอาการทางสูติศาสตร์-
นรีเวชวิทยา
ยาไฟประลัยกัลป์
	 ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.)
สูตรต�ำรับ
ในผงยา 71 กรัม ประกอบด้วย
	 รากเจตมูลเพลิงแดง สารส้มสะตุ แก่นแสมทะเล ผิวมะกรูด การบูร หนักสิ่งละ	
	 6 กรัม
	 เหง้าขมิ้นอ้อย เหง้ากระทือ เหง้าข่า เหง้าไพล เปลือกมะรุม หนักสิ่งละ 5 กรัม
	 พริกไทยล่อน เหง้าขิง ดอกดีปลี หัวกระเทียม หนักสิ่งละ 4 กรัม
ค�ำแนะน�ำ
	 ขับน�้ำคาวปลาในเรือนไฟ ช่วยให้มดลูกเข้าอู่
ขนาดและวิธีใช้
ชนิดผง
	 รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน�้ำสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร ให้
รับประทานจนกว่าน�้ำคาวปลาจะหมด แต่ไม่เกิน 15 วัน
ชนิดเม็ด และชนิดแคปซูล
	 รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร
ข้อห้ามใช้
	 ห้ามใช้ในหญิงตกเลือดหลังคลอด หญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้
	 ห้ามใช้ในหญิงที่ผ่าคลอด เนื่องจากท�ำให้แผลหายช้า
12
ค�ำเตือน
	 ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติ	
ของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้
ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของเครื่องยา3
	 จากการสืบค้นข้อมูลทางวิทยาศาสตร์พบว่า ยังไม่มีการศึกษาวิจัยของทั้งต�ำรับ
ยาไฟประลัยกัลป์ แต่สมุนไพรที่เป็นเครื่องยาบางชนิด มีการศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่
คาดว่าจะเกี่ยวข้องกับสรรพคุณยาไทย (ขับนํ้าคาวปลาในเรือนไฟ ช่วยให้มดลูกเข้าอู่ หรือ
แก้ปวดประจ�ำเดือน) ได้แก่ ฤทธิ์กระตุ้นการบีบตัวของมดลูก ฤทธิ์คล้ายฮอร์โมนเพศหญิง
ฤทธิ์ต้านการปวดและต้านการอักเสบเป็นต้นเครื่องยาที่มีฤทธิ์กระตุ้นการบีบตัวหรือคลาย
กล้ามเนื้อของมดลูก และฤทธิ์คล้ายฮอร์โมนเพศหญิง ได้แก่ ไพล มีฤทธิ์คลายกล้ามเนื้อ
มดลูก สารส�ำคัญคือ (E)-4-(34,-Dimethoxyphenyl)-but-3-en-1-ol ซึ่งสกัดแยกได้
จากสารสกัดเฮกเซน น�้ำมันหอมระเหยขิงมีฤทธิ์คลายกล้ามเนื้อมดลูก ซึ่งสารส�ำคัญคือ
citral น�้ำมันหอมระเหย และสาร terpinolene, beta-pinene และ alpha-phelladrene
มีฤทธิ์ต้านการบีบตัวของกล้ามเนื้อเรียบของล�ำไส้เล็ก ขมิ้นอ้อย มีฤทธิ์กระตุ้นกล้ามเนื้อ
ของมดลูก มะกรูด มีฤทธิ์กระตุ้นการบีบตัวของมดลูก และเสริมฤทธิ์ uterotropic ของ
ฮอร์โมน estradiol ซึ่งมีผลท�ำให้หนูท้องเกิดการแท้งได้ เครื่องยาที่มีฤทธิ์ต้านการปวด
และต้านการอักเสบ ได้แก่ ไพล มีฤทธิ์ต้านการอักเสบทั้งการทดลองในสัตว์ทดลองและ
ในหลอดทดลอง ซึ่งสารส�ำคัญคือ phenylbutenoid dimmers, (E)-1-(3,4-dimethoxy-
phenyl) butadiene (DMPBD) ขมิ้นอ้อย มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ สารส�ำคัญคือ สาร
curdione, furanodiene และ furanodienone, 1,7-bis (4-hydroxyphenyl)-1,4,6-
heptatrien-3-one, procurcumenol, epiprocurcumenol, beta-turmerone และ ar-
turmerone สารที่มีฤทธิ์ต้านการปวดในสัตว์ทดลองคือ curcumenol, dihydrocurdione
และสาร dehydrocurdione ขิง มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ สารส�ำคัญคือ สาร gingerols
และสาร [8]-paradol) ข่า มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ สารส�ำคัญคือ galanganal, galan-
ganols B และ C, 1S-1-acetoxychavicol acetate, 1S-1-acetoxyeugenol
acetate, trans-p-hydroxycinnamaldehyde, trans-p-coumaryl alcohol, และ trans-
p-coumaryl diacetate พริกไทย สาร piperine ที่แยกได้จากผลพริกไทยมีฤทธิ์ต้านการ
อักเสบทั้งเฉียบพลันและเรื้อรังในสัตว์ทดลอง มะกรูด สารกลุ่ม coumarins ที่แยกได้มี
ฤทธิ์ต้านการอักเสบ
13
ผลกำรศึกษำฤทธิ์ทำงเภสัชวิทยำและพิษวิทยำของต�ำรับยำไฟประลัยกัลป์
พบวำ ต�ำรับยำไฟประลัยกัลป์ไม่มีฤทธิ์คล้ำยเอสโตรเจน แต่มีผลช่วยปรับสมดุลของฮอร์โมน
เอสโตรเจนในกรณีที่รังไข่ยังคงปกติ นอกจำกนี้ต�ำรับยำไฟประลัยกัลป์ยังแสดงฤทธิ์ต้ำน
กำรอักเสบและระงับปวด ซึ่งอำจเป็นไปได้ว่ำกลไกกำรออกฤทธิ์ต้ำนกำรอักเสบและระงับ
ปวดของต�ำรับยำไฟประลัยกัลป์เป็นผลจำกกำรยับยั้งกำรสร้ำงและ/หรือกำรหลั่งของสำร
สื่อกลำงกำรอักเสบและเจ็บปวด โดยเฉพำะพรอสตำแกลนดิน และต�ำรับยำไฟประลัยกัลป์
ยังสำมำรถยับยั้งทั้งควำมถี่และควำมแรงในกำรหดตัวของมดลูกจำกกำรเหนี่ยวน�ำ
ด้วย PGF ได้ ดังนั้นอำจกล่ำวได้ว่ำต�ำรับยำไฟประลัยกัลป์สำมำรถใช้บรรเทำอำกำรปวด
ประจ�ำเดือนเนื่องจำกมดลูกบีบตัวมำกเกินไปได้ กำรทดสอบควำมเป็นพิษพบว่ำ ต�ำรับยำ
ไฟประลัยกัลป์ ขนำด 5,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน�้ำหนักตัว ไม่ก่อพิษเฉียบพลัน และ
ไม่ก่อพิษกึ่งเรื้อรังเมื่อได้รับต�ำรับยำขนำด 1,000, 2,000 และ 4,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
น�้ำหนักตัว ทุกวันเป็นเวลำ 90 วัน
เอกสารอ้างอิง
1. ประกำศกระทรวงสำธำรณสุข เรื่องยำสำมัญประจ�ำบ้ำนแผนโบรำณ ประกำศ ณ วันที่ 26
มิถุนำยน พ.ศ. 2542. คัดจำกรำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม 116 ตอนที่ 67 ง วันที่ 24 สิงหำคม
2542.
2. คณะกรรมกำรแห่งชำติด้ำนยำ. บัญชียำหลักแห่งชำติ (รำยกำรยำจำกสมุนไพร). กรุงเทพ-
มหำนคร: ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรอำหำรและยำ, 2554.
3. นพมำศ สุนทรเจริญนนท์ สีวบูรณ์ สิรีรัฐวงศ์. รำยงำนวิจัยและพัฒนำต�ำรับแผนโบรำณเพื่อ
เพิ่มศักยภำพในกำรแข่งขัน (ปี 2551): ต�ำรับยำไฟประลัยกัลป์. กรุงเทพมหำนคร: ส�ำนักงำน
คณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ, 2551.
14
ต�ำรับยาหอมนวโกฐและยาหอมอินทจักร์ 
นพมาศ สุนทรเจริญนนท์
	 ต�ำรับยาหอมนวโกฐและยาหอมอินทจักร์ เป็นต�ำรับยาในยาสามัญประจ�ำบ้าน
แผนโบราณ1
และต�ำรับยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ (บัญชียาจากสมุนไพร พ.ศ. 2554)2
กลุ่มบัญชียาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ โดยเป็นยารักษากลุ่มอาการทางระบบไหลเวียน
โลหิต (แก้ลม)
ยาหอมนวโกฐ2
	 ยาผง ยาเม็ด ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.)
สูตรต�ำรับ
ในผงยา 212 กรัม ประกอบด้วย
	 โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา โกฐกระดูก โกฐก้านพร้าว 	
	 โกฐพุงปลา โกฐชฎามังสี หนักสิ่งละ 4 กรัม
	 เทียนด�ำ เทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน เทียนเยาวพาณี	
	 เทียนสัตบุษย์ เทียนเกล็ดหอย เทียนตากบ หนักสิ่งละ 4 กรัม
	 เปลือกสมุลแว้ง หญ้าตีนนก รากแฝกหอม เปลือกชะลูด หัวเปราะหอม กระล�ำพัก
	 ขอนดอก เนื้อไม้กฤษณา หนักสิ่งละ 4 กรัม
	 เหง้าขิงแห้งดอกดีปลีรากเจตมูลเพลิงแดงเถาสะค้านรากช้าพลูหนักสิ่งละ3กรัม
	 หัวแห้วหมู ลูกกระวาน ดอกกานพลู ดอกจันทน์ ลูกจันทน์ เปลือกอบเชยญวน
	 ลูกผักชีลา แก่นสน หนักสิ่งละ 4 กรัม
	 แก่นสักขี ลูกราชดัด ลูกสารพัดพิษ แก่นจันทน์เทศ แก่นจันทน์แดง ลูกกระดอม 	
	 เถาบอระเพ็ด หนักสิ่งละ 4 กรัม
	 เกสรบัวหลวง ดอกบุนนาค ดอกพิกุล ดอกสารภี ดอกมะลิ หนักสิ่งละ 4 กรัม
	 เนื้อลูกมะขามป้อม เนื้อลูกสมอพิเภก รากชะเอมเทศ หนักสิ่งละ 4 กรัม
	 พิมเสน หนัก 1 กรัม
ค�ำแนะน�ำ
	 แก้ลมวิงเวียน คลื่นเหียน อาเจียน (ลมจุกแน่นในอก) ในผู้สูงอายุ
	 แก้ลมปลายไข้ (หลังจากฟื้นไข้แล้วยังมีอาการ เช่น คลื่นเหียน วิงเวียน เบื่ออาหาร
ท้องอืด และอ่อนเพลีย)
15
ขนาดและวิธีใช้
ชนิดผง
	 รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ละลายน�้ำกระสาย เมื่อมีอาการ ทุก 3 - 4 ชั่วโมง
ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง
น�้ำกระสายยาที่ใช้
	 กรณีแก้ลมวิงเวียน คลื่นเหียน อาเจียน (ลมจุกแน่นในอก) ในผู้สูงอายุ ใช้น�้ำ
ลูกผักชี (15 กรัม) หรือเทียนด�ำ (15 กรัม) ต้มเป็นน�้ำกระสายยา
	 กรณีแก้ลมปลายไข้ (หลังจากฟื้นไข้แล้วยังมีอาการ เช่น คลื่นเหียน วิงเวียน
เบื่ออาหาร ท้องอืด อ่อนเพลีย) ใช้ก้านสะเดา (33 ก้าน หรือ 15 กรัม) ลูกกระดอม (7 ลูก
หรือ 15 กรัม) และเถาบอระเพ็ด (7 องคุลี หรือ 15 กรัม) ต้มเป็นน�้ำกระสายยา ถ้าหา
น�้ำกระสายยาไม่ได้ ให้ใช้น�้ำสุกแทน
ชนิดเม็ด
	 รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ ไม่ควรเกินวันละ
3 ครั้ง
ข้อห้ามใช้
	 ห้ามใช้ ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้
ค�ำเตือน
	 ควรระวังในการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant)
และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
	 ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้
ยาหอมอินทจักร์2
	 ยาผง ยาเม็ด ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.)
สูตรต�ำรับ
	 ในผงยา 98 กรัม ประกอบด้วย
	 เถาสะค้าน รากช้าพลู เหง้าขิง ดอกดีปลี รากเจตมูลเพลิงแดง ลูกผักชีลา โกฐสอ
โกฐเขมา โกฐก้านพร้าว โกฐพุงปลา โกฐจุฬาลัมพา โกฐเชียง โกฐกักกรา โกฐน�้ำเต้า
โกฐกระดูก เทียนด�ำ เทียนขาว เทียนแดง เทียนข้าวเปลือก เทียนเยาวพาณี แก่นจันทน์
แดง แก่นจันทน์เทศ เถามวกแดง เถามวกขาว รากย่านาง เปลือกชะลูด เปลือกอบเชย
เปลือกสมุลแว้ง กฤษณา กระล�ำพัก เถาบอระเพ็ด ลูกกระดอม ก�ำยาน ขอนดอก ลูกจันทน์
ดอกจันทน์ ลูกกระวาน ดอกกานพลู ล�ำพันแดง ดอกสารภี ดอกพิกุล ดอกบุนนาค
16
ดอกจ�ำปา ดอกกระดังงา ดอกมะลิ ดอกค�ำไทย แก่นฝางเสน ดีวัว พิมเสน หนักสิ่งละ 2 กรัม
ค�ำแนะน�ำ
	 แก้ลมบาดทะจิต
	 แก้คลื่นเหียนอาเจียน
	 แก้ลมจุกเสียด
ขนาดและวิธีใช้
ชนิดผง
	 รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ละลายน�้ำกระสายยา ทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกิน
วันละ 3 ครั้ง
น�้ำกระสายยาที่ใช้
	 กรณีแก้ลมบาดทะจิต ใช้น�้ำดอกมะลิ
	 กรณีแก้คลื่นเหียนอาเจียน ใช้น�้ำลูกผักชี เทียนด�ำต้ม ถ้าไม่มีใช้น�้ำสุก
	 กรณีแก้ลมจุกเสียด ใช้น�้ำขิงต้ม
ชนิดเม็ด
	 รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัมทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง
ข้อห้ามใช้
	 ห้ามใช้ ในหญิงตั้งครรภ์
ค�ำเตือน
	 ควรระวังในการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant)
และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
	 ควรระวังการใช้ กับผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้เกสรดอกไม้
ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของเครื่องยาและสารสกัดต�ำรับยาหอม3
	 ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของเครื่องยาที่เป็นส่วนประกอบในต�ำรับยาหอมทั้ง
สองต�ำรับ พบว่าเครื่องยาเหล่านี้ มีฤทธิ์ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบทางเดินอาหาร
และระบบประสาทส่วนกลาง ซึ่งเครื่องยาที่มีผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด จะมีฤทธิ์
ลดความดันโลหิต ได้แก่ กระเทียม กฤษณา ชะเอมเทศ เปราะหอม ย่านาง เกสรบัวหลวง
ฝาง หญ้าฝรั่น อบเชยเทศ ขอนดอก เทียนข้าวเปลือก เทียนด�ำ เทียนแดง เทียนเยาวพาณี
มีฤทธิ์เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ ได้แก่ บอระเพ็ด ฝาง เทียนแดง ขิง หรือลด
อัตราการเต้นของหัวใจ ได้แก่ ชะเอมเทศ เทียนด�ำ หรือมีผลท�ำให้หัวใจที่เต้นผิดปกติ
มีการเต้นได้ปกติ ได้แก่ เกสรบัวหลวง โกฐสอ ผักชีล้อม หรือท�ำให้ระบบการไหลเวียน
17
โลหิตดีขึ้น ได้แก่ แห้วหมู ส่วนเครื่องยาที่มีผลต่อระบบทางเดินอาหาร จะมีฤทธิ์ลดการ
บีบตัวของกระเพาะและล�ำไส้ ได้แก่ กระเทียม ช้าพลู ลูกผักชี อบเชยเทศ โกฐเชียง
โกฐกระดูก โกฐหัวบัว กานพลู เทียนแดง ขิง ลูกจันทน์ หรือมีผลลดการหลั่งน�้ำย่อยและ
กรด ได้แก่ โกฐกระดูก ชะเอมเทศ และลูกจันทน์ หรือมีผลเพิ่มการหลั่งเมือกในกระเพาะ
อาหาร ได้แก่ ชะเอมเทศ เปราะหอม และต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร ได้แก่
โกฐกระดูก ชะเอมเทศ เปราะหอม ดีปลี ฝาง อบเชยเทศ โกฐจุฬาลัมพา โกฐเชียง
ขอนดอก เทียนข้าวเปลือก เทียนด�ำ เทียนตาตั๊กแตน เทียนสัตตบุษย์ หรือมีฤทธิ์ต้าน
การอาเจียน ได้แก่ แห้วหมู กานพลู ขิง เครื่องยาที่มีฤทธิ์ต่อประสาทส่วนกลาง จะมี
ฤทธิ์เสริมระยะเวลาหลับของยา pentobarbitone ยาวนานขึ้น ได้แก่ ดอกบุนนาค มี
ฤทธิ์คลายความกังวล ท�ำให้สงบ ได้แก่ ลูกผักชี โกฐเชียง จันทน์เทศ กานพลู โกฐสอ
หญ้าฝรั่น ลูกจันทน์ พิกุล และท�ำให้เลือดไหล เวียนไปเลี้ยงสมองดีขึ้น ได้แก่ หญ้าฝรั่น
เป็นต้น
	 สารสกัดต่อเนื่องด้วยเฮกเซน แอลกอฮอล์ และน�้ำของต�ำรับยาหอมนวโกฐ มี
ฤทธิ์เพิ่มความดัน systolic ได้มากและนานกว่าต�ำรับยาหอมอินทจักร์ สารสกัดทั้งสอง
ต�ำรับมีผลต่อความดัน diastolic ได้ใกล้เคียงกัน และมีผลลดอัตราการเต้นของหัวใจ
เล็กน้อยในช่วงเวลา 45-90 นาที สารสกัดต�ำรับยาหอมนวโกฐมีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งของ
กรด และมีฤทธิ์ยับยั้งการหดตัวของล�ำไส้เล็กได้มากกว่าสารสกัดต�ำรับยาหอมอินทจักร์4
สารสกัดต�ำรับยาหอมทั้งสองมีฤทธิ์เพิ่มอัตราการไหลเวียนเลือดที่สมองหนู โดยเป็นผลมา
จากการขยายตัวของหลอดเลือดแดงขนาดเล็กของสมอง5
สารสกัดต�ำรับยาหอมนวโกฐมี
ฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลางมากกว่าสารสกัดต�ำรับยาหอมอินทจักร์6
สารสกัดต�ำรับ
ยาหอมทั้งสองมีผลต่อระบบภูมิคุ้มกันแบบอาศัยเซลล์ โดยเพิ่มการแบ่งตัวของลิมโฟซัยท์
แต่สารสกัดต�ำรับยาหอมนวโกฐมีฤทธิ์ลดการท�ำงานของ natural killer cells (NK cells)
ด้วย7
18
เอกสารอางอิง
1. ประกำศกระทรวงสำธำรณสุข เรื่องยำสำมัญประจ�ำบ้ำนแผนโบรำณ ประกำศ ณ วันที่ 26
มิถุนำยน พ.ศ. 2542. คัดจำกรำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม 116 ตอนที่ 67 ง วันที่ 24 สิงหำคม 2542.
2. คณะกรรมกำรแห่งชำติด้ำนยำ. บัญชียำหลักแห่งชำติ (รำยกำรยำจำกสมุนไพร). กรุงเทพมหำนคร:
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรอำหำรและยำ, 2554.
3. นพมำศ สุนทรเจริญนนท์ นงลักษณ์ เรืองวิเศษ. คุณภำพเครื่องยำไทยจำกงำนวิจัยสู่กำรพัฒนำ
อย่ำงยั่งยืน. กรุงเทพมหำนคร: บริษัทคอนเซพท์ เมดิคัส จ�ำกัด, 2551.
4. สุวรรณ ธีระวรพันธ์ วิสุดำ สุวิทยำวัฒน์. กำรศึกษำฤทธิ์ของยำหอมต่อกำรท�ำงำนของระบบไหล
เวียนโลหิต ระบบทำงเดินอำหำรและควำมเป็นพิษ. เอกสำรประกอบกำรประชุมกำรเผยแพร่ผล
งำนวิจัยด้ำนกำรพัฒนำสมุนไพรเพื่ออุตสำหกรรม จัดโดยภำรกิจโครงกำรและประสำนงำนวิจัย
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ วันที่ 28-29 กันยำยน 2549 ณ โรงแรมมิรำเคิลแกรนด์คอน
เวนชั่น กรุงเทพมหำนคร. หน้ำ 107-11.
5. อัมพร จำริยะพงศ์สกุล สุทธิลักษณ์ ปทุมรำช. กำรศึกษำผลของยำหอมและสำรสกัดสมุนไพร
ต่ออัตรำกำรไหลเวียนเลือดในสมอง. เอกสำรประกอบกำรประชุมกำรเผยแพร่ผลงำนวิจัยด้ำน
กำรพัฒนำสมุนไพรเพื่ออุตสำหกรรม จัดโดยภำรกิจโครงกำรและประสำนงำนวิจัย ส�ำนักงำน
คณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ วันที่ 28-29 กันยำยน 2549 ณ โรงแรมมิรำเคิลแกรนด์คอนเวนชั่น
กรุงเทพมหำนคร. หน้ำ 112-6.
6. มยุรี ตันติสิระ บุญยงค์ ตันติสิระ เพ็ญพิมล ผลทรัพย์ จิตติมำ ศรีสมบูรณ์. โครงกำรกำรศึกษำ
ฤทธิ์ต่อระบบประสำทส่วนกลำงของสมุนไพร. เอกสำรประกอบกำรประชุมกำรเผยแพร่ผลงำนวิจัย
ด้ำนกำรพัฒนำสมุนไพรเพื่ออุตสำหกรรม จัดโดย ภำรกิจโครงกำรและประสำนงำนวิจัย ส�ำนักงำน
คณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ วันที่ 28-29 กันยำยน 2549 ณ โรงแรมมิรำเคิลแกรนด์คอนเวนชั่น
กรุงเทพมหำนคร. หน้ำ 87-91.
7. บุษรำวรรณ ศรีวรรธนะ วีณำ ตรีแสงศรี บงกช จิตจักร ปรำณี ชวลิตธ�ำรง. กำรศึกษำฤทธิ์ของพืช
สมุนไพรไทยต่อระบบภูมิคุ้มกันแบบอำศัยเซลล์. เอกสำรประกอบกำรประชุมกำรเผยแพร่ผล
งำนวิจัยด้ำนกำรพัฒนำสมุนไพรเพื่ออุตสำหกรรม จัดโดยภำรกิจโครงกำรและประสำนงำนวิจัย
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ วันที่ 28-29 กันยำยน 2549 ณ โรงแรมมิรำเคิลแกรนด์
คอนเวนชั่น กรุงเทพมหำนคร. หน้ำ 58-79.
19
ต�ำรับยาเหลืองปิดสมุทร
นพมาศ สุนทรเจริญนนท์
	 ต�ำรับยาเหลืองปิดสมุทรเป็นต�ำรับยาในยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ1
และ
ยังจัดอยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ (บัญชียาจากสมุนไพร พ.ศ. 2554)2
กลุ่มบัญชียาแผน
ไทยหรือยาแผนโบราณ โดยเป็นยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร2
ยาเหลืองปิดสมุทร
	 ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.)
สูตรต�ำรับ
ในผงยา 90 กรัม ประกอบด้วย
	 เหง้าขมิ้นชัน หนัก 30 กรัม
	 ชันย้อย ครั่ง สีเสียดเทศ เปลือกสีเสียดไทย ใบเทียน ใบทับทิม หัวแห้วหมู
	 เหง้าขมิ้นอ้อย เปลือกเพกา รากกล้วยตีบ หัวกระเทียมคั่ว ดอกดีปลี หนักสิ่งละ	
	 5 กรัม
ค�ำแนะน�ำ
	 บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูก หรือ
มีเลือดปนและท้องเสียชนิดที่ไม่มีไข้
ขนาดและวิธีใช้
ชนิดผง
ผู้ใหญ่	 รับประทานครั้งละ 1 กรัม
เด็ก 	 อายุ 3 - 5 เดือน ครั้งละ 200 มิลลิกรัม
	 อายุ 6 - 12 เดือน ครั้งละ 300 - 400 มิลลิกรัม
	 อายุ 1 - 12 ปี ครั้งละ 500 - 700 มิลลิกรัม
	 ละลายน�้ำกระสายยา รับประทานทุก 3 - 5 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
น�้ำกระสายยาที่ใช้
	 ใช้น�้ำเปลือกลูกทับทิมหรือเปลือกแคต้ม แทรกกับน�้ำปูนใสเป็นน�้ำกระสายยา
	 ส�ำหรับเด็กเล็กให้บดผสมกับน�้ำกระสายยา ใช้รับประทานหรือกวาดก็ได้ ถ้าหา	
	 น�้ำกระสายยาไม่ได้ให้ใช้น�้ำสุกแทน
ชนิดเม็ดและชนิดแคปซูล
ผู้ใหญ่ 	 รับประทานครั้งละ 1 กรัม
20
เด็ก 	 อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 - 700 มิลลิกรัม ทุก 3 - 5 ชั่วโมง
	 เมื่อมีอาการ
ค�ำเตือน
	 ใช้ไม่เกิน 1 วัน หากอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์
ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของเครื่องยาและสารสกัดต�ำรับยาเหลืองปิดสมุทร
	 ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของเครื่องยาที่เป็นส่วนประกอบในต�ำรับยาเหลืองปิด
สมุทร ที่มีฤทธิ์แก้ท้องเสีย โดยมีฤทธิ์ต้านเชื้อจุลชีพที่ก่อเกิดอาการท้องเสีย และลดการ
บีบตัวของล�ำไส้ ได้แก่ กระเทียม (สารส�ำคัญคือ allicin, ajoene และ diallyl trisulfide),
ขมิ้นชัน (สารส�ำคัญคือ สารกลุ่ม curcuminoids), ขมิ้นอ้อย (สารส�ำคัญคือ น�้ำมันหอม
ระเหย), ดีปลี, ทับทิม (สารส�ำคัญคือ สารกลุ่ม tannins), เพกา (สารส�ำคัญคือ chrysin,
oroxylin A และ lapachol), สีเสียดไทย (สารส�ำคัญคือ สารกลุ่ม tannins), สีเสียดเทศ
(สารส�ำคัญคือ สารกลุ่ม tannins) หญ้าแห้วหมู, เบญกานี
	 สารสกัดแอลกอฮอล์และสารสกัดน�้ำของต�ำรับยาเหลืองปิดสมุทร มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อ
ก่อเกิดโรคอุจจาระร่วง (เชื้อแบคทีเรียสายพันธุ์มาตรฐาน คือ Bacillus cereus ATCC
14579, Escherichia coli ATCC 25922, Salmonella typhimurium ATCC 11331,
Shigella flexneri DMSC 1130, Staphylococcus aureus ATCC 25923, Vibrio
parahaemolyticus DMST 5665 และแบคทีเรียที่แยกได้จากอาหาร) ได้ดีกว่าตัวยา
เดี่ยวๆ ทั้งนี้สารสกัดน�้ำของต�ำรับยาสามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียทดสอบได้ดีกว่าสารสกัด
แอลกอฮอล์4
และสารสกัดต�ำรับยาเหลืองปิดสมุทรขนาด 0.25, 0.5 และ 1 มิลลิกรัม/
มิลลิลิตร มีฤทธิ์ยับยั้งกล้ามเนื้อเรียบของล�ำไส้เล็กหนูตะเภา ที่กระตุ้นด้วยสาร
acetylcholine ในการทดลอง ส่วนการทดลองในหนูถีบจักรพบว่า สารสกัดขนาด 1,000,
2,000 และ 4,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม มีฤทธิ์ลดอาการท้องเสียที่เกิดจากการป้อนน�้ำมัน
ละหุ่ง และผลการศึกษาความเป็นพิษเฉียบพลันและพิษกึ่งเรื้อรังในหนูขาว พบว่าไม่
พบพิษเฉียบพลัน เมื่อป้อนสารสกัดขนาด 5,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ครั้งเดียวและสังเกตุ
พฤติกรรมภายใน 14 วัน ไม่พบความผิดปกติใดๆ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม และไม่
พบความผิดปกติของอวัยวะภายในของหนู ส่วนการศึกษาความเป็นพิษกึ่งเรื้อรังพบว่า การ
ให้สารสกัดขนาด 1,000, 2.000, และ 4,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม เป็นเวลา 90 วัน และบาง
กลุ่มที่ศึกษา 118 วัน ไม่พบความผิดปกติของหนูทดลอง ทั้งน�้ำหนักตัว ค่าทางโลหิตวิทยา
ค่าทางชีวเคมี และพยาธิวิทยา ยกเว้นกลุ่มหนูตัวผู้ที่มีน�้ำหนักเพิ่มมากกว่ากลุ่มควบคุม
แต่ไม่พบความผิดปกติอื่นๆ5
21
เอกสารอางอิง
1. ประกำศกระทรวงสำธำรณสุข เรื่องยำสำมัญประจ�ำบ้ำนแผนโบรำณ ประกำศ ณ วันที่ 26
มิถุนำยน พ.ศ. 2542. คัดจำกรำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม 116 ตอนที่ 67 ง วันที่ 24 สิงหำคม 2542.
2. คณะกรรมกำรแห่งชำติด้ำนยำ. บัญชียำหลักแห่งชำติ (รำยกำรยำจำกสมุนไพร). กรุงเทพมหำนคร:
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรอำหำรและยำ, 2554.
3. นพมำศ สุนทรเจริญนนท์ นงลักษณ์ เรืองวิเศษ. คุณภำพเครื่องยำไทยจำกงำนวิจัยสู่กำรพัฒนำ
อย่ำงยั่งยืน. กรุงเทพมหำนคร: บริษัทคอนเซพท์ เมดิคัส จ�ำกัด, 2551.
4. จันทร์เพ็ญ วิวัฒน์. รำยงำนวิจัยและพัฒนำต�ำรับแผนโบรำณเพื่อเพิ่มศักยภำพในกำรแข่งขัน (ปี
2549). กรุงเทพมหำนคร: ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ, 2549.
5. นพมำศ สุนทรเจริญนนท์ สีหณัฐ ธนำภรณ์ นงลักษณ์ เรืองวิเศษ บังอร เกียรติธนำกร. รำยงำน
วิจัยและพัฒนำต�ำรับแผนโบรำณเพื่อเพิ่มศักยภำพในกำรแข่งขัน (ปี 2549). กรุงเทพมหำนคร:
ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ, 2549.
22
2323
กลุมที่ 2
ยาพัฒนาจากสมุนไพร
24
กลวย
กฤติยา ไชยนอก
ยากล้วย
ยาผง (รพ.)
สูตรต�ารับ
	 ผงของกล้วยน�้าว้าชนิดแก่จัด	[Musa sp. (ABB group) “Klui Nam Wa”]
	 หรือกล้วยหักมุกชนิดแก่จัด	[Musa sp. (ABB group) “triploid” cv.]
	 วงศ์	MUSACEAE
ข้อบ่งใช้
	 รักษาแผลในกระเพาะอาหาร	 บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการ
ติดเชื้อ	เช่น	อุจจาระไม่เป็นมูก	หรือมีเลือดปน
ขนาดและวิธีใช้
	 รับประทาน	ครั้งละ	10	กรัม	ชงน�้าอุ่น	120-200	มิลลิลิตร	วันละ	3	ครั้ง	
ก่อนอาหาร	
ข้อควรระวัง
	 ไม่ควรใช้	ในคนที่ท้องผูก	และการรับประทานติดต่อกันนาน	ๆ	อาจท�าให้ท้องอืด
อาการไม่พึงประสงค์
	 อาจเกิดอาการท้องอืดได้1
25
การศึกษาทางคลินิก
การศึกษาประสิทธิผลในการรักษาอาการท้องเสีย
	 การศึกษาทางคลินิกแบบสุ่มในผู้ป่วยที่มีอาการท้องเสียจ�ำนวน 31 คน โดยแบ่ง
ผู้ป่วยเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ได้รับกล้วย และกลุ่มที่ได้รับยาตามค�ำสั่งแพทย์ (ขึ้นกับ
อาการของผู้ป่วย) พบว่าความรุนแรงของอาการท้องเสียลดลงทั้ง 2 กลุ่ม2
	 การศึกษาทางคลินิกแบบ double-blind ในผู้ป่วยเพศชายอายุระหว่าง 5-12
เดือน จ�ำนวน 62 คน โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ให้รับประทานข้าวผสมกล้วย ขนาด
250 กรัม/ลิตร (22 คน) กลุ่มที่ 2 รับประทานเพคตินจากกล้วย ขนาด 4 กรัม/กิโลกรัม (19
คน) และกลุ่มควบคุมรับประทานข้าวเพียงอย่างเดียว (21 คน) ซึ่งทั้งหมดจะได้รับพลังงาน
54 กิโลแคลอรี่/เดซิลิตร/วัน เป็นเวลา 7 วัน พบว่าในวันที่ 3 ของการทดลอง ผู้ป่วยในกลุ่ม
ที่ได้รับเพคติน กล้วย และกลุ่มควบคุมมีอาการดีขึ้น 59%, 55% และ 15% ตามล�ำดับ
อย่างมีนัยส�ำคัญ (p<0.001) และในวันที่ 4 อาการก็ดีขึ้น 82%, 78% และ 23% ตาม
ล�ำดับ นอกจากนี้กลุ่มที่ได้รับกล้วยและเพคตินยังสามารถลดปริมาณของอุจจาระ และลด
จ�ำนวนครั้งของการอาเจียน รวมทั้งเพิ่มระยะห่างในการถ่ายได้อีกด้วย3
	 การศึกษาทางคลินิกแบบสุ่มในแถบชนบทของประเทศบังกลาเทศในผู้ป่วยเด็ก
อายุระหว่าง 6-36 เดือน จ�ำนวน 2,968 คน ท�ำการศึกษาโดยการสุ่ม เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่
กลุ่มที่ได้รับการรักษาตามมาตรฐาน และกลุ่มที่รับประทานกล้วยปรุงสุกร่วมด้วย เก็บ
ข้อมูลเป็นเวลา 14 วัน พบว่ากล้วยสามารถรักษาอาการท้องเสียในเด็กได้ ทั้งในกลุ่มที่มี
อาการท้องเสียแบบเฉียบพลัน โดยอาการจะดีขึ้นในวันที่ 3 และในกลุ่มที่มีอาการท้องเสีย
แบบเรื้อรัง อาการจะดีขึ้นในวันที่ 104
การทดสอบฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา
ฤทธิ์ป้องกันและรักษาแผลในกระเพาะอาหาร
	 มีการศึกษาในสัตว์ทดลองเป็นจ�ำนวนมากที่ระบุว่า แป้งจากกล้วยดิบสามารถ
ยับยั้งการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร โดยมีฤทธิ์ในการสมานแผล เพิ่มความแข็งแรง
ของเยื่อบุกระเพาะอาหาร5
และเร่งการแบ่งตัวของเซลล์6
นอกจากนี้ยังพบว่าสารเพคติน
และสาร phosphatidylcholine จากกล้วย รวมทั้งยาน�้ำในรูปแบบของสารแขวนลอยซึ่ง
เตรียมจากกล้วยดิบ เมื่อให้ในความเข้มข้นสูง สามารถลดการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร
ทั้งแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรังได้ แต่ยาน�้ำในรูปแบบดังกล่าวให้ผลการรักษาที่ไม่
สมบูรณ์ และออกฤทธิ์เพียงชั่วคราวเท่านั้น7
26
การทดสอบความเป็นพิษ
1. ความเป็นพิษเฉียบพลัน
	 หนูแรทที่กินแป้งจากกล้วย ขนาด 1.25, 2.5 และ 5 กรัม/กิโลกรัม นาน 5
สัปดาห์ พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางโลหิตวิทยา และชีวเคมีเพียงเล็กน้อย ไม่พบความ
ผิดปกติทางสรีรวิทยา8
2. ก่อกลายพันธุ์
	 สารสกัดน�้ำจากดอกกล้วย ไม่ท�ำให้เกิดการก่อกลายพันธุ์ สารสกัดน�้ำ8
และผงแห้ง
ของผลสุกจากกล้วยน�้ำว้า กล้วยหอม และกล้วยไข่9
ยังมีฤทธิ์ช่วยยับยั้งการก่อกลายพันธุ์
ด้วย9-10
3. พิษต่อยีน
	 อาสาสมัครรับประทานกล้วย 3-6 ผล เป็นเวลา 3 วัน พบว่า อาสาสมัคร 6
ใน 7 คน มีปริมาณ micronuclei เพิ่ม แต่ไม่ต่างจากกลุ่มควบคุม10
แสดงว่าไม่เป็นพิษ
ต่อยีน
4. ท�ำให้เกิดอาการแพ้
	 มีรายงานว่าผู้ที่รับประทานกล้วย อาจเกิดอาการแพ้ได้ โดยอาการแพ้ส่วนใหญ่เกิดจาก
ยางกล้วย11
27
เอกสารอ้างอิง
1.	 ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา.  บัญชียาหลักแห่งชาติ (รายการยาจากสมุนไพร). นนทบุรี:
ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2554.
2.	 Emery EA, Ahmad S, Koethe JD, Skipper A, Perlmutter S, Paskin DL.  Banana flakes
control diarrhea in enterally fed patients.  Nutr Clin Pract 1997;12(2):72-5.  
3.	 Rabbani GH, Teka T, Zaman B, Majid N, Khatun M, Fuchs GJ. Clinical studies in
persistent diarrhea: dietary management with green banana or pectin in Bangladeshi
children. Gastroenterology 2001;121(3):554-60.
4.	 Rabbani GH, Larson CP, Islam R, Saha UR, Kabir A. Green banana-supplemented diet
in the home management of acute and prolonged diarrhoea in children: a community-
based trial in rural Bangladesh. Trop Med Int Health 2010;15(10):1132-9.
5.	 Goel RK, Gupta S, Shankar R, Sanyal AK.  Anti-ulcerogenic effect of banana powder
(Musa sapientum var. paradisiaca) and its effect on mucosal resistance. J Ethnophar-
macol 1986;18(1):33-44.  
6.	 Mukhopadhyaya K, Bhattacharya D, Chakraborty A, Goel RK, Sanyal AK. Effect of
banana powder (Musa sapientum var. paradisiaca) on gastric mucosal shedding. J        
Ethnopharmacol 1987;21(1):11-9.  
7.	 Dunjic BS, Svensson I, Axelson J, Adlercreutz P, Ar’Rajab A, Larsson K, Bengmark S.  
Green banana protection of gastric mucosa against experimentally induced injuries in
rats.  A multicomponent mechanism?.  Scand J Gastroenterol 1993;28(10):894-8.  
8.	 Costa M, Antonio MA, Souza Brito ARM.  Effects of prolonged administration of
Musa paradisiaca L. (banana), an antiulcerogenic substance, in rats. Phytother Res
1997;11(1):28-31.  
9.	 Saseelung S.  Antimutagenicity of water extract from Thai indigenous vegetables using
somatic mutation and recombination test.  รายงานการวิจัย ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัย
แห่งชาติ, 2003.  
10.	Kruawan K, Kangsadalampai K, Limpichaisopon K.  Antimutagenic of different            
lyophilized ripe bananas on mutagens in Ames test and somatic mutation and            
	 recombination test.  Thai J Pharm Sci 2004;28(1-2):83-94.  
11.	Dompmartin A, Szczurko C, Michel M, et al.  Two cases of urticaria following fruit
ingestion, with cross-sensitivity to latex.  Contact Dermatitis 1994;30(4):250-2.
28
ขมิ้นชัน
วรวรรณ กิจผาติ
กฤติยา ไชยนอก
ยาขมิ้นชัน	
	 ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาแคปซูล (รพ.) ยาเม็ด (รพ.)
สูตรต�ำรับ	
	 ผงของเหง้าขมิ้นชัน (Curcuma longa L.) วงศ์ ZINGIBERACEAE มีสาร
ส�ำคัญ curcuminoids ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 โดยน�้ำหนัก (w/w) และน�้ำมันระเหยง่ายไม่
น้อยกว่าร้อยละ 6 โดยปริมาตรต่อน�้ำหนัก (v/w)
ข้อบ่งใช้	
	 บรรเทาอาการแน่นจุกเสียด ท้องอืด ท้องเฟ้อ
ขนาดและวิธีใช้	
	 รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน
ข้อห้ามใช้
	 ห้ามใช้ในผู้ที่ท่อน�้ำดีอุดตัน หรือผู้ที่ไวต่อยานี้
ค�ำเตือน
	 ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน�้ำดี ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์
	 ควรระวังการใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์
	 ควรระวังการใช้ในเด็ก เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลด้านประสิทธิผลและความ
ปลอดภัย
	 ควรระวังการใช้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulants) และยาต้านการ
จับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets)
	 ควรระวังการใช้ร่วมกับยาที่กระบวนการเมแทบอลิซึมผ่านเอนไซม์ Cytochrome
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน
คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน

More Related Content

What's hot

สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย porntiwa karndon
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...Utai Sukviwatsirikul
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1prayut2516
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันUtai Sukviwatsirikul
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPrachaya Sriswang
 
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนduangkaew
 
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม Utai Sukviwatsirikul
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยพัน พัน
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์bambookruble
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงUtai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ.2566.pdf
บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ.2566.pdfบัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ.2566.pdf
บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ.2566.pdfVorawut Wongumpornpinit
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยพัน พัน
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความHom Rim
 
คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน
คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลานคัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน
คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลานVorawut Wongumpornpinit
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1gchom
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์พัน พัน
 

What's hot (20)

Ppt.เพศ
Ppt.เพศPpt.เพศ
Ppt.เพศ
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
คู่มือผลิตและประกันคุณภาพเภสัชตำรับโรงพยาบาลยา จากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาต...
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
Ppt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใสPpt. คุณแม่วัยใส
Ppt. คุณแม่วัยใส
 
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียนสอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
สอนการใช้สมุนไพรสำหรับนักเรียน
 
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทยแบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
แบบฝึกเสริมทักษะการอ่านภาษาไทย
 
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
แบบทดสอบก่อนเรียนเรื่องการแต่งคำประพันธ์
 
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูงโรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
โรคเบาหวานและความดันโลหิตสูง
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ.2566.pdf
บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ.2566.pdfบัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ.2566.pdf
บัญชียาหลักแห่งชาติด้านสมุนไพร พ.ศ.2566.pdf
 
การผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทยการผสมวงดนตรีไทย
การผสมวงดนตรีไทย
 
บันทึกข้อความ
บันทึกข้อความบันทึกข้อความ
บันทึกข้อความ
 
คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน
คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลานคัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน
คัมภีร์ธาตุพระนารายณ์ ฉบับใบลาน
 
หน่วย 3
หน่วย 3 หน่วย 3
หน่วย 3
 
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
แบบฝึกทักษะวิทยาศาสตร์ เรื่อง สิ่งรอบตัวเรา ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
 
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์
 

Viewers also liked

พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยguesta30f391
 
สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด Patcha Linsay
 
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนานยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนานUdomsak Chundang
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยsasimaphon2539
 
เภสัชตำรับโรงพยาบาลแผนปัจจุบัน จาก สมุนไพร 49 v3 0
เภสัชตำรับโรงพยาบาลแผนปัจจุบัน จาก สมุนไพร 49 v3 0เภสัชตำรับโรงพยาบาลแผนปัจจุบัน จาก สมุนไพร 49 v3 0
เภสัชตำรับโรงพยาบาลแผนปัจจุบัน จาก สมุนไพร 49 v3 0Pongpithak Supakitjaroenkula
 
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กร...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กร...คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กร...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กร...Vorawut Wongumpornpinit
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาNickson Butsriwong
 
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )Utai Sukviwatsirikul
 
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทย
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทยEbooksint ตำรายาสมุนไพรไทย
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทยRose Banioki
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2 ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2 Utai Sukviwatsirikul
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3 ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3 Utai Sukviwatsirikul
 
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
 ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น  ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP Vorawut Wongumpornpinit
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมguestefb2bbf
 
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอางควบคุม
คู่มือการพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอางควบคุมคู่มือการพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอางควบคุม
คู่มือการพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอางควบคุมVorawut Wongumpornpinit
 
ผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
ผักพื้นบ้านเขลางค์นครผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
ผักพื้นบ้านเขลางค์นครIntrapan Suwan
 
คุณค่าทางโภชนาการในผลไม้
คุณค่าทางโภชนาการในผลไม้คุณค่าทางโภชนาการในผลไม้
คุณค่าทางโภชนาการในผลไม้Vorawut Wongumpornpinit
 

Viewers also liked (20)

พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
 
สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด
 
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนานยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
เภสัชตำรับโรงพยาบาลแผนปัจจุบัน จาก สมุนไพร 49 v3 0
เภสัชตำรับโรงพยาบาลแผนปัจจุบัน จาก สมุนไพร 49 v3 0เภสัชตำรับโรงพยาบาลแผนปัจจุบัน จาก สมุนไพร 49 v3 0
เภสัชตำรับโรงพยาบาลแผนปัจจุบัน จาก สมุนไพร 49 v3 0
 
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กร...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กร...คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กร...
คู่มือ/หลักเกณฑ์การขึ้นทะเบียนตำรับยาแผนโบราณ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กร...
 
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยาพื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
พื้นฐานการวิเคราะห์ตำรับยา
 
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
 
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทย
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทยEbooksint ตำรายาสมุนไพรไทย
Ebooksint ตำรายาสมุนไพรไทย
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2 ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3 ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3
 
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
 ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น  ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
ศาสตร์การแพทย์แผนจีนเบื้องต้น
 
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
แนวทางหลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิตยาแผนโบราณและผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร GMP
 
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวมสมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
สมุนไพรในชีวิตประจำวัน รวม
 
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ  เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
แนวทางเวชปฏิบัติการใช้ยารักษาภาวะไขมันผิดปกติ เพื่อป็องกันโรคหัวใจและหลอดเลื...
 
คู่มือการพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอางควบคุม
คู่มือการพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอางควบคุมคู่มือการพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอางควบคุม
คู่มือการพิจารณาการจดแจ้งเครื่องสำอางควบคุม
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
ผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
ผักพื้นบ้านเขลางค์นครผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
ผักพื้นบ้านเขลางค์นคร
 
คุณค่าทางโภชนาการในผลไม้
คุณค่าทางโภชนาการในผลไม้คุณค่าทางโภชนาการในผลไม้
คุณค่าทางโภชนาการในผลไม้
 

Similar to คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน

9789740336129
97897403361299789740336129
9789740336129CUPress
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖Utai Sukviwatsirikul
 
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557Utai Sukviwatsirikul
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศแผนงาน นสธ.
 
Cezza - smoking addictive therapy solution (full ver.)
Cezza - smoking addictive therapy solution (full ver.)Cezza - smoking addictive therapy solution (full ver.)
Cezza - smoking addictive therapy solution (full ver.)Pisut Samutsakorn
 
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2Utai Sukviwatsirikul
 
รู้จัก รู้ใช้ เอ็นพีวี: จุลินทรีย์กำจัดศัตรูพืช
รู้จัก รู้ใช้ เอ็นพีวี: จุลินทรีย์กำจัดศัตรูพืชรู้จัก รู้ใช้ เอ็นพีวี: จุลินทรีย์กำจัดศัตรูพืช
รู้จัก รู้ใช้ เอ็นพีวี: จุลินทรีย์กำจัดศัตรูพืชpiyapornnok
 
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1Utai Sukviwatsirikul
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Technology Innovation Center
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติyah2527
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ2556 1
ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ2556 1ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ2556 1
ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ2556 1sms_msn_
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4taem
 
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคเหนือ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคเหนือ (2556).pdfวัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคเหนือ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคเหนือ (2556).pdfVorawut Wongumpornpinit
 
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมีหนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมีUtai Sukviwatsirikul
 
กนกวรรณ
กนกวรรณกนกวรรณ
กนกวรรณAui Bigy
 
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา Utai Sukviwatsirikul
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตGob Chantaramanee
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมRachanont Hiranwong
 

Similar to คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน (20)

9789740336129
97897403361299789740336129
9789740336129
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
 
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
 
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศพรรัตน์  สินชัยพานิช  ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
พรรัตน์ สินชัยพานิช ระบบเฝ้าระวังอาหารภายในประเทศ
 
Cezza - smoking addictive therapy solution (full ver.)
Cezza - smoking addictive therapy solution (full ver.)Cezza - smoking addictive therapy solution (full ver.)
Cezza - smoking addictive therapy solution (full ver.)
 
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2
มูลค่าการบริโภคยาในประเทศไทย พ.ศ. 2543-2544 ตอน 2
 
News4vol5
News4vol5News4vol5
News4vol5
 
รู้จัก รู้ใช้ เอ็นพีวี: จุลินทรีย์กำจัดศัตรูพืช
รู้จัก รู้ใช้ เอ็นพีวี: จุลินทรีย์กำจัดศัตรูพืชรู้จัก รู้ใช้ เอ็นพีวี: จุลินทรีย์กำจัดศัตรูพืช
รู้จัก รู้ใช้ เอ็นพีวี: จุลินทรีย์กำจัดศัตรูพืช
 
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1
การประชุมชี้แจง สาระสำคัญใน (ร่าง) พระราชบัญญัติยา ฉบับใหม่ no.1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
Postharvest Newsletter ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 กรกฎาคม - กันยายน 2553
 
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
ชนิดและการกระจายพันธุ์ของพืชต่างถิ่นรุกรานในอุทยานแห่งชาติ
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ2556 1
ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ2556 1ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ2556 1
ยาสามัญประจำบ้านแผนโบราณ2556 1
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
 
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคเหนือ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคเหนือ (2556).pdfวัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคเหนือ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคเหนือ (2556).pdf
 
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมีหนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
 
กนกวรรณ
กนกวรรณกนกวรรณ
กนกวรรณ
 
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
การควบคุมป้องกันแบคทีเรียดื้อยา
 
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิตนำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
นำเสนอการดำเนินงาน Dhs ประเด็นสุขภาพ odop สุขภาพจิต
 
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรมระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
ระบบยาและงานบริบาลเภสัชกรรม
 

More from Vorawut Wongumpornpinit

Grammar Rules _ Speak Good English Movement.pdf
Grammar Rules _ Speak Good English Movement.pdfGrammar Rules _ Speak Good English Movement.pdf
Grammar Rules _ Speak Good English Movement.pdfVorawut Wongumpornpinit
 
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdfโภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdfVorawut Wongumpornpinit
 
ประกาศกรมฯ เรื่อง มาตรฐานการปลูกและการเก็บเกี่ยวที่ดีของพืชกัญชา (Thailand gu...
ประกาศกรมฯ เรื่อง มาตรฐานการปลูกและการเก็บเกี่ยวที่ดีของพืชกัญชา (Thailand gu...ประกาศกรมฯ เรื่อง มาตรฐานการปลูกและการเก็บเกี่ยวที่ดีของพืชกัญชา (Thailand gu...
ประกาศกรมฯ เรื่อง มาตรฐานการปลูกและการเก็บเกี่ยวที่ดีของพืชกัญชา (Thailand gu...Vorawut Wongumpornpinit
 
แผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570.pdf
แผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570.pdfแผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570.pdf
แผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570.pdfVorawut Wongumpornpinit
 
รายงานสุขภาพคนไทย-2566.pdf
รายงานสุขภาพคนไทย-2566.pdfรายงานสุขภาพคนไทย-2566.pdf
รายงานสุขภาพคนไทย-2566.pdfVorawut Wongumpornpinit
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย ฉบับสมบูรณ์.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย ฉบับสมบูรณ์.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย ฉบับสมบูรณ์.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย ฉบับสมบูรณ์.pdfVorawut Wongumpornpinit
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdfVorawut Wongumpornpinit
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdfVorawut Wongumpornpinit
 
IUNS Country Policy Analysis Nutrition Impact of Agricul.pdf
IUNS Country Policy Analysis Nutrition Impact of Agricul.pdfIUNS Country Policy Analysis Nutrition Impact of Agricul.pdf
IUNS Country Policy Analysis Nutrition Impact of Agricul.pdfVorawut Wongumpornpinit
 
กลยุทธ์ ค้าปลีก สร้างความปลอดภัยอาหาร (2557).pdf
กลยุทธ์ ค้าปลีก สร้างความปลอดภัยอาหาร (2557).pdfกลยุทธ์ ค้าปลีก สร้างความปลอดภัยอาหาร (2557).pdf
กลยุทธ์ ค้าปลีก สร้างความปลอดภัยอาหาร (2557).pdfVorawut Wongumpornpinit
 
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdfวัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdfVorawut Wongumpornpinit
 
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2556).pdfวัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2556).pdfVorawut Wongumpornpinit
 
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคกลาง (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคกลาง (2556).pdfวัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคกลาง (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคกลาง (2556).pdfVorawut Wongumpornpinit
 
เวชกรรมไทยเบื้องต้น คู่มือมาตรฐานการฝึกอบรม สาขาการแพทย์แผนไทย ประเภทการนวดไท...
เวชกรรมไทยเบื้องต้น คู่มือมาตรฐานการฝึกอบรม สาขาการแพทย์แผนไทย ประเภทการนวดไท...เวชกรรมไทยเบื้องต้น คู่มือมาตรฐานการฝึกอบรม สาขาการแพทย์แผนไทย ประเภทการนวดไท...
เวชกรรมไทยเบื้องต้น คู่มือมาตรฐานการฝึกอบรม สาขาการแพทย์แผนไทย ประเภทการนวดไท...Vorawut Wongumpornpinit
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ.pdf
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ.pdfการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ.pdf
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ.pdfVorawut Wongumpornpinit
 
คู่มือเกณฑ์ชุมชนต้นแบบดูแลผู้สูงอายุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.pdf
คู่มือเกณฑ์ชุมชนต้นแบบดูแลผู้สูงอายุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.pdfคู่มือเกณฑ์ชุมชนต้นแบบดูแลผู้สูงอายุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.pdf
คู่มือเกณฑ์ชุมชนต้นแบบดูแลผู้สูงอายุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.pdfVorawut Wongumpornpinit
 
วัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdfวัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdfVorawut Wongumpornpinit
 
Astaxanthin The world's best kept health secret Natural astaxanthin.pdf
Astaxanthin The world's best kept health secret Natural astaxanthin.pdfAstaxanthin The world's best kept health secret Natural astaxanthin.pdf
Astaxanthin The world's best kept health secret Natural astaxanthin.pdfVorawut Wongumpornpinit
 
รูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdf
รูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdfรูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdf
รูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdfVorawut Wongumpornpinit
 

More from Vorawut Wongumpornpinit (20)

Grammar Rules _ Speak Good English Movement.pdf
Grammar Rules _ Speak Good English Movement.pdfGrammar Rules _ Speak Good English Movement.pdf
Grammar Rules _ Speak Good English Movement.pdf
 
Psilocybin mushroom handbook.pdf
Psilocybin mushroom handbook.pdfPsilocybin mushroom handbook.pdf
Psilocybin mushroom handbook.pdf
 
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdfโภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
โภชนศาสตร์ ในภูมิปัญญาไทย.pdf
 
ประกาศกรมฯ เรื่อง มาตรฐานการปลูกและการเก็บเกี่ยวที่ดีของพืชกัญชา (Thailand gu...
ประกาศกรมฯ เรื่อง มาตรฐานการปลูกและการเก็บเกี่ยวที่ดีของพืชกัญชา (Thailand gu...ประกาศกรมฯ เรื่อง มาตรฐานการปลูกและการเก็บเกี่ยวที่ดีของพืชกัญชา (Thailand gu...
ประกาศกรมฯ เรื่อง มาตรฐานการปลูกและการเก็บเกี่ยวที่ดีของพืชกัญชา (Thailand gu...
 
แผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570.pdf
แผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570.pdfแผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570.pdf
แผนปฏิบัติการด้านสมุนไพรแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2566-2570.pdf
 
รายงานสุขภาพคนไทย-2566.pdf
รายงานสุขภาพคนไทย-2566.pdfรายงานสุขภาพคนไทย-2566.pdf
รายงานสุขภาพคนไทย-2566.pdf
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย ฉบับสมบูรณ์.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย ฉบับสมบูรณ์.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย ฉบับสมบูรณ์.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย ฉบับสมบูรณ์.pdf
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 3.pdf
 
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdfตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
ตำรับยาจีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย เล่ม 2.pdf
 
IUNS Country Policy Analysis Nutrition Impact of Agricul.pdf
IUNS Country Policy Analysis Nutrition Impact of Agricul.pdfIUNS Country Policy Analysis Nutrition Impact of Agricul.pdf
IUNS Country Policy Analysis Nutrition Impact of Agricul.pdf
 
กลยุทธ์ ค้าปลีก สร้างความปลอดภัยอาหาร (2557).pdf
กลยุทธ์ ค้าปลีก สร้างความปลอดภัยอาหาร (2557).pdfกลยุทธ์ ค้าปลีก สร้างความปลอดภัยอาหาร (2557).pdf
กลยุทธ์ ค้าปลีก สร้างความปลอดภัยอาหาร (2557).pdf
 
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdfวัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคใต้ (2556).pdf
 
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2556).pdfวัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (2556).pdf
 
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคกลาง (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคกลาง (2556).pdfวัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคกลาง (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทย - ภาคกลาง (2556).pdf
 
เวชกรรมไทยเบื้องต้น คู่มือมาตรฐานการฝึกอบรม สาขาการแพทย์แผนไทย ประเภทการนวดไท...
เวชกรรมไทยเบื้องต้น คู่มือมาตรฐานการฝึกอบรม สาขาการแพทย์แผนไทย ประเภทการนวดไท...เวชกรรมไทยเบื้องต้น คู่มือมาตรฐานการฝึกอบรม สาขาการแพทย์แผนไทย ประเภทการนวดไท...
เวชกรรมไทยเบื้องต้น คู่มือมาตรฐานการฝึกอบรม สาขาการแพทย์แผนไทย ประเภทการนวดไท...
 
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ.pdf
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ.pdfการดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ.pdf
การดูแลสุขภาพผู้สูงอายุแบบบูรณาการ.pdf
 
คู่มือเกณฑ์ชุมชนต้นแบบดูแลผู้สูงอายุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.pdf
คู่มือเกณฑ์ชุมชนต้นแบบดูแลผู้สูงอายุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.pdfคู่มือเกณฑ์ชุมชนต้นแบบดูแลผู้สูงอายุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.pdf
คู่มือเกณฑ์ชุมชนต้นแบบดูแลผู้สูงอายุ กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.pdf
 
วัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdfวัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdf
วัฒนธรรมอาหารไทยจากอดีตสู่ปัจจุบัน (2556).pdf
 
Astaxanthin The world's best kept health secret Natural astaxanthin.pdf
Astaxanthin The world's best kept health secret Natural astaxanthin.pdfAstaxanthin The world's best kept health secret Natural astaxanthin.pdf
Astaxanthin The world's best kept health secret Natural astaxanthin.pdf
 
รูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdf
รูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdfรูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdf
รูปแบบการบริหารจัดการอาหาร และโภชนาการในโรงเรียนอย่างครบวงจร.pdf
 

คู่มือการใช้สมุนไพรสำหรับประชาชน

  • 1.
  • 2. คู่มือการใช้สมุนไพรส�ำหรับประชาชน บรรณาธิการ รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.นพมาศ สุนทรเจริญนนท์ รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.วิสุดา สุวิทยาวัฒน์ พนิดา ใหญ่ธรรมสาร ภาพประกอบ ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ส�ำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ศิลปกรรม นนทินี สรรพคุณ ผู้สนับสนุนการจัดพิมพ์ โครงการช่วยเหลือเพื่อการปรับตัวของภาคการผลิตและภาคบริการที่ได้รับผลกระทบ จากการเปิดเสรีทางการค้า (กองทุน FTA) กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ภายใต้โครงการการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยาสมุนไพรเพื่อลดผลกระทบ จากการเปิดเสรีทางการค้า AFTA ด้วยสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ 2554 สงวนลิขสิทธิ์ กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล พิมพ์ครั้งที่ 1 จ�ำนวน 1,000 เล่ม ข้อมูลทางบรรณานุกรมของส�ำนักหอสมุดแห่งชาติ National Library of Thailand Cataloging in Publication Data คู่มือสมุนไพรส�ำหรับประชาชน.--กรุงเทพฯ : คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล, 2555. 102 หน้า. 1. สมุนไพร. 2. ยาแผนโบราณ. I. นพมาศ สุนทรเจริญนนท์, บรรณาธิการ. II. วิสุดา สุวิทยาวัฒน์, บรรณาธิการ. III. พนิดา ใหญ่ธรรมสาร, บรรณาธิการ. IV. ชื่อเรื่อง. 615.321 ISBN 978-616-279-006-5 พิมพ์ที่ บริษัท คอนเซ็พท์ เมดิคัส จ�ำกัด โทร 0-2942-3670-2 211/359 หมู่ที่ 11 ซ. ลาดพร้าววังหิน 76 ถนนลาดพร้าววังหิน แขวงลาดพร้าว กรุงเทพฯ i
  • 3. ii
  • 4. สารจากคณบดี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล ยาสมุนไพรนับเป็นภูมิปัญญาของประเทศที่อยู่คู่คนไทยมาแต่ครั้งโบราณจนถึง ปัจจุบัน ในระยะเวลาหลายปีที่ผ่านมา ต�ำรับยาสมุนไพรบางต�ำรับถูกลืมเลือนหายไป พร้อมๆ กับผู้รู้ หรือผู้สืบทอดต�ำรับยานั้นๆ ด้วยเหตุนี้ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัย มหิดล มีแนวคิดที่จะรักษาภูมิปัญญานี้ไว้ให้คงอยู่ ประกอบกับโครงการช่วยเหลือเพื่อ การปรับตัวของภาคการผลิตและภาคบริการที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า (กองทุน FTA) กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ ได้มีนโยบายในการสนับสนุน ให้มีการน�ำยาสมุนไพรมาใช้อย่างแพร่หลายทั้งภายในและต่างประเทศ เพื่อการรองรับ กับการเตรียมตัวในการเข้าสู่เขตการค้าเสรีอาเซียน (AFTA) ในปี ๒๕๕๘ โดยได้สนับสนุน เงินงบประมาณในโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยาสมุนไพรไทย เพื่อลดผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า AFTA ด้วยสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ ๒๕๕๔ ซึ่งหนึ่งในกิจกรรมในโครงการดังกล่าวคือ “โครงการการส่งเสริมให้ประชาชนรู้จัก ใช้ต�ำรับยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ” เป็นโครงการที่มีวัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริม การใช้ยาสมุนไพรไทยในบัญชียาหลักแห่งชาติ ในทุกภาคส่วนเพื่อการพึ่งตนเองทางด้าน ยารักษาโรค และปกป้องตลาดยาภายในประเทศ โดยให้ประชาชนมีความรู้เกี่ยวกับยา สมุนไพรไทยให้ดียิ่งขึ้น ทั้งในด้านทฤษฎี งานวิจัยสมุนไพร ประโยชน์ และการน�ำไปใช้ รวมถึงการผลิตหรือเตรียมยาสมุนไพรไว้ใช้เองในครัวเรือน เป็นการกระจายความรู้ไปสู่ ทุกภาคส่วนอย่างทั่วถึง ด้วยเหตุผลข้างต้นที่กล่าวมา จึงเป็นที่มาของหนังสือ “คู่มือการใช้สมุนไพรส�ำหรับ ประชาชน” ได้จัดท�ำขึ้นเพื่อตอบสนองความต้องการดังกล่าว โดยมีคณาจารย์ และ นักวิชาการของส�ำนักงานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล เป็นผู้ ท�ำหน้าที่ถ่ายทอดความรู้ เทคโนโลยีต่าง ๆ ของสมุนไพรไปสู่ประชาชน เพื่อการส่งเสริม ให้ประชาชนรู้จักเลือกใช้สมุนไพรใกล้ตัวอย่างถูกต้อง มีประโยชน์สูงสุดและน�ำไปสู่การ ลดการใช้ยาจากต่างประเทศรวมถึงค่าใช้จ่ายการรักษาพยาบาลได้ และเป็นการอนุรักษ์ ภูมิปัญญาการใช้ยาสมุนไพรของบรรพบุรุษสืบต่อไป รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.จุฑามณี สุทธิสีสังข์ คณบดีคณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล iii
  • 5. ค�ำน�ำ ความตกลงเขตการค้าเสรีอาเซียน (ASEAN Free Trade Area : AFTA) เริ่มมี ผลบังคับใช้อย่างเต็มรูปแบบเมื่อวันที่ ๑ มกราคม พ.ศ. ๒๕๕๓ และก�ำลังขับเคลื่อนไปสู่ การเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน (ASEAN Economic Community : AEC) ภายใน ปี พ.ศ. ๒๕๕๘ เพื่อน�ำไปสู่การเป็นตลาดและฐานการผลิตร่วมกัน (Single Market and Single Production Base) ซึ่งจะมีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินลงทุน และแรงงานฝีมืออย่างเสรี ท�ำให้ผู้บริโภคสามารถเลือกสรรและซื้อสินค้าและบริการได้อย่าง หลากหลายภายในภูมิภาค ผลจากการเปิดเสรีการค้าดังกล่าว ท�ำให้กลุ่มอุตสาหกรรม สมุนไพร สภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ตระหนักถึงผลกระทบต่ออุตสาหกรรม สมุนไพร จึงได้ขอรับการสนับสนุนงบประมาณจากโครงการช่วยเหลือเพื่อการปรับ ตัวของภาคการผลิตและภาคบริการที่ได้รับผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า (กองทุน FTA) กรมการค้าต่างประเทศ กระทรวงพาณิชย์ เพื่อด�ำเนินโครงการ ยุทธศาสตร์การพัฒนาห่วงโซ่อุปทานอุตสาหกรรมสมุนไพรไทยเพื่อลดผลกระทบจากการ เปิดเสรีทางการค้า AFTA ด้วยสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติในปี ๒๕๕๒ และต่อมา ได้ขอรับการสนับสนุนเพิ่มเติมในโครงการพัฒนาศักยภาพผู้ประกอบการอุตสาหกรรมยา สมุนไพรไทยเพื่อลดผลกระทบจากการเปิดเสรีทางการค้า AFTA ด้วยสมุนไพรในบัญชียา หลักแห่งชาติ ๒๕๕๔ ซึ่งหนึ่งในกิจกรรมในโครงการดังกล่าวคือ “โครงการการส่งเสริม ให้ประชาชนรู้จักใช้ต�ำรับยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ” ซึ่งเป็นโครงการที่มี วัตถุประสงค์เพื่อส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรไทยในบัญชียาหลักแห่งชาติในทุกภาคส่วน เพื่อการพึ่งตนเองทางด้านยารักษาโรค และปกป้องตลาดยาภายในประเทศ หนังสือ “คู่มือการใช้สมุนไพรส�ำหรับประชาชน” เป็นหนังสือประกอบการบรรยายใน “โครงการการส่งเสริมให้ประชาชนรู้จักใช้ต�ำรับยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ” ซึ่ง จัดการอบรมและส่งเสริมให้อาสาสมัครสาธารณสุข และประชาชนโดยทั่วไปให้มีความรู้ เกี่ยวกับงานวิจัยทั้งด้านพรีคลินิก และคลินิกของยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ เพื่อ เป็นประโยชน์ในการน�ำไปใช้เพื่อการพึ่งตนเองทางด้านยารักษาโรค พร้อมกันนี้หนังสือ เล่มนี้ยังประกอบด้วยข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของผักพื้นบ้านที่จะเป็นประโยชน์ต่อการ บริโภค iv
  • 6. คณะผู้จัดท�ำหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือเล่มนี้จะเป็นคู่มือที่เป็นประโยชน์ไม่เพียง แต่ผู้ที่เข้าร่วมการอบรมเท่านั้น แต่จะเป็นประโยชน์ส�ำหรับผู้ที่สนใจและห่วงใยสุขภาพ ในทุกระดับ ซึ่งการที่คนไทยหันกลับมาใช้ยาไทยจะเป็นการลดการขาดดุลการค้าและ เป็นการพึ่งตนเองทางด้านยา สร้างอาชีพและรายได้ให้กับประชาชน และยังเป็นการ อนุรักษ์ภูมิปัญญาสืบต่อไป บรรณาธิการ v
  • 7. รายนามผู้นิพนธ์ รองศาสตราจารย์ ภญ.พร้อมจิต ศรลัมพ์ รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.สุวรรณ ธีระวรพันธ์ รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.นพมาศ สุนทรเจริญนนท์ รองศาสตราจารย์ ดร.ภญ.วิสุดา สุวิทยาวัฒน์ รองศาสตราจารย์ ดร.สุจิตรา ทองประดิษฐ์โชติ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภญ.วีณา นุกูลการ อาจารย์ ดร.ภญ.ณัฏฐินี อนันตโชค อาจารย์ ภญ.วรวรรณ กิจผาติ พนิดา ใหญ่ธรรมสาร กฤติยา ไชยนอก อรัญญา ศรีบุศราคัม ศิริพร เหลียงกอบกิจ vi
  • 8. สารบัญ สารจากคณบดี คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล iii ค�ำน�ำ iv รายนามผู้นิพนธ์ vi ยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ 2554 1 กลุ่มที่ 1 ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ 7 ต�ำรับยาจันทน์ลีลา 8 ต�ำรับยาไฟประลัยกัลป์ 11 ต�ำรับยาหอมนวโกฐและยาหอมอินทจักร์  14 ต�ำรับยาเหลืองปิดสมุทร 19 กลุ่มที่ 2 ยาพัฒนาจากสมุนไพร 23 กล้วย 24 ขมิ้นชัน 28 ขิง 31 ชุมเห็ดเทศ 35 เถาวัลย์เปรียง  38 ทองพันชั่ง 41 บัวบก 44 พญายอ 47 ไพล 50 ฟ้าทะลายโจร 53  รางจืด 57 ผักพื้นบ้าน 63 กระเจี๊ยบแดง 64 กระเจี๊ยบมอญ 64 กระชาย 65 vii
  • 9. สารบัญ กระโดน 65 กระถิน 66 กะทือ 66 กะเพรา 67 ขจร 67 ข่า 68 ขี้เหล็ก 69 ผักแขยง 70 คูน 70 แค 71 ชะพลู/ ช้าพลู 71 ชะอม 72 ตะลิงปลิง 72 ต�ำลึง 73 เนียมหูเสือ 73 เปราะหอม 74 ผักคราด/ผักคราดหัวแหวน 74 ผักชีล้อม 75 ผักเชียงดา/ ผักเซียงดา 75 ผักปลัง 76 ผักไผ่/ผักแพว 76 ผักเสี้ยน 77 ผักหนาม 77 ผักหวานบ้าน 78 ผักหวานป่า 78 ผักเหรียง 79 พริกชี้ฟ้า, พริกขี้หนู 79 viii
  • 10. สารบัญ พลูคาว 80 เพกา 80 ฟักข้าว 81 มะกอก 81 มะขาม 82 มะเขือพวง 82 มะตูม 83 มะม่วงหิมพานต์ 83 มะระขี้นก 84 มะแว้งเครือ 85 มะอึก 85 มันปู 86 แมงลัก 86 ยอ 87 ส้มป่อย 87 สมอไทย 88 สะเดาบ้าน 89 สะตอ 89 โสน 90 หมุย 90 หวดหม่อน 91 โหระพา 91 บรรณานุกรม 92 ix
  • 11. x
  • 12. 1 ยาสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ 2554 ยาสมุนไพรตามบัญชียาหลักแห่งชาติ 2549 มีต�ำรับยา 19 ต�ำรับ แต่ในปี 2554 จะ มีต�ำรับทั้งสิ้น 71 ต�ำรับ แบ่งเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มที่ 1 ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ และกลุ่มที่ 2 ยาพัฒนาจากสมุนไพร ซึ่งจะเป็นรายการยาทั่วไป และต�ำรับยาของโรงพยาบาล รายละเอียดเป็นดังนี้ กลุ่มที่ 1 ยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ 1.1 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบไหลเวียนโลหิต (แก้ลม) (1) ยาหอมทิพโอสถ ยาผง ยาเม็ด ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) (2) ยาหอมเทพจิตร ยาผง ยาเม็ด (3) ยาหอมนวโกฐ ยาผง ยาเม็ด ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) (4) ยาหอมบ�ำรุงหัวใจ ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) (5) ยาหอมอินทจักร์ ยาผง ยาเม็ด ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) 1.2 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร 1.2.1 กลุ่มยาขับลม บรรเทาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ (1) ยาธาตุบรรจบ ยาแคปซูล ยาผง ยาลูกกลอน ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาลูกกลอน(รพ.) (2) ยาธาตุอบเชย ยาน�้ำ(รพ.) (3) ยาเบญจกูล ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล(รพ.) ยาชง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) (4) ยาประสะกะเพรา ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) (5) ยาประสะกานพลู ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาผง(รพ.) (6) ยาประสะเจตพังคี ยาแคปซูล ยาผง ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) (7) ยามันทธาตุ ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) (8) ยามหาจักรใหญ่ ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) (9) ยาวิสัมพยาใหญ่ ยาผง ยาลูกกลอน
  • 13. 2 (10) ยาอภัยสาลี ยาลูกกลอน ยาเม็ด 1.2.2 กลุ่มยาบรรเทาอาการท้องผูก (1) ยาถ่ายดีเกลือฝรั่ง ยาแคปซูล ยาเม็ด (2) ยาธรณีสันฑะฆาต ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) 1.2.3 กลุ่มยาแก้ท้องเสีย (1) ยาธาตุบรรจบ ยาแคปซูล ยาผง ยาลูกกลอน ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาลูกกลอน(รพ.) (2) ยาเหลืองปิดสมุทร ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) 1.2.4 กลุ่มยาบรรเทาริดสีดวงทวารหนัก (1) ยาผสมเพชรสังฆาต ยาแคปซูล ยาแคปซูล(รพ.) (2) ยาริดสีดวงมหากาฬ ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล(รพ.) 1.3 ยารักษากลุ่มอาการทางสูติศาสตร์-นรีเวชวิทยา (1) ยาประสะไพล ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาลูกกลอน(รพ.) (2) ยาปลูกไฟธาตุ ยาแคปซูล(รพ.) ยาลูกกลอน(รพ.) (3) ยาไฟประลัยกัลป์ ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) (4) ยาไฟห้ากอง ยาผง ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) (5) ยาเลือดงาม ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) (6) ยาสตรีหลังคลอด ยาต้ม(รพ.) 1.4 ยาแก้ไข้ (1) ยาเขียวหอม ยาผง ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) (2) ยาจันทน์ลีลา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) (3) ยาประสะจันทน์แดง ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) (4) ยาประสะเปราะใหญ่ ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.)
  • 14. 3 ยาเม็ด(รพ.) (5) ยามหานิลแท่งทอง ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) (6) ยาห้าราก ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด 1.5 ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินหายใจ (1) ยาแก้ไอผสมกานพลู ยาลูกกลอน(รพ.) (2) ยาแก้ไอผสมมะขามป้อม ยาน�้ำ(รพ.) (3) ยาแก้ไอผสมมะนาวดอง ยาลูกกลอน(รพ.) (4) ยาแก้ไอพื้นบ้านอีสาน ยาน�้ำ(รพ.) (5) ยาตรีผลา ยาลูกกลอน ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาชง(รพ.) (6) ยาประสะมะแว้ง ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาลูกกลอน(รพ.) (7) ยาปราบชมพูทวีป ยาแคปซูล(รพ.) ยาลูกกลอน(รพ.) (8) ยาอ�ำมฤควาที ยาผง ยาลูกกลอน ยาผง(รพ.) ยาลูกกลอน(รพ.) 1.6 ยาบ�ำรุงโลหิต (1) ยาบ�ำรุงโลหิต ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) 1.7 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก 1.7.1 ยาส�ำหรับรับประทาน (1) ยากษัยเส้น ยาลูกกลอน(รพ.) (2) ยาแก้ลมอัมพฤกษ์ ยาผง(รพ.) (3) ยาธรณีสันฑะฆาต ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) (4) ยาผสมโคคลาน ยาชง(รพ.) ยาต้ม(รพ.) (5) ยาผสมเถาวัลย์เปรียง ยาลูกกลอน(รพ.) (6) ยาสหัศธารา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล(รพ.) ยาลูกกลอน(รพ.) 1.7.2 ยาส�ำหรับใช้ภายนอก (1) ยาขี้ผึ้งไพล ยาขี้ผึ้ง(รพ.) (2) ยาประคบ ยาสมุนไพรประคบสด(รพ.) ยาสมุนไพรประคบแห้ง(รพ.)
  • 15. 4 1.8 ยาบ�ำรุงธาตุ ปรับธาตุ (1) ยาตรีเกสรมาศ ยาชง(รพ.) (2) ยาตรีพิกัด ยาแคปซูล (รพ.) (3) ยาเบญจกูล ยาแคปซูล ยาชง ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล(รพ.) ยาชง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) (4) ยาปลูกไฟธาตุ ยาแคปซูล(รพ.) ยาลูกกลอน(รพ.) กลุ่มที่ 2 ยาพัฒนาจากสมุนไพร 2.1 ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินอาหาร (1) ยากล้วย ยาผง (รพ.) (2) ยาขมิ้นชัน ยาแคปซูล ยาแคปซูล(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) (3) ยาขิง ยาแคปซูล ยาผง ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาชง(รพ.) (4) ยาชุมเห็ดเทศ ยาแคปซูล ยาผง ยาแคปซูล(รพ.) ยาชง(รพ.) (5) ยาฟ้าทะลายโจร ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล(รพ.) ยาลูกกลอน(รพ.) (6) ยามะขามแขก ยาแคปซูล(รพ.) ยาชง(รพ.) 2.2 ยารักษากลุ่มอาการของระบบทางเดินหายใจ (1) ยาฟ้าทะลายโจร ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาลูกกลอน ยาแคปซูล(รพ.) ยาลูกกลอน(รพ.) 2.3 ยารักษากลุ่มอาการของระบบผิวหนัง (1) ยาทิงเจอร์ทองพันชั่ง ทิงเจอร์(รพ.) (2) ยาทิงเจอร์พลู ทิงเจอร์(รพ.) (3) ยาบัวบก ยาครีม ยาครีม(รพ.) (4) ยาเปลือกมังคุด ยาน�้ำใส(รพ.) (5) ยาพญายอ ยาครีม สารละลาย (solution) ส�ำหรับป้ายปาก ยาโลชัน(รพ.) ยาขี้ผึ้ง(รพ.) สารละลาย (solution) ส�ำหรับป้ายปาก(รพ.) ทิงเจอร์(รพ.) 2.4 ยารักษากลุ่มอาการทางกล้ามเนื้อและกระดูก 2.4.1 ยาส�ำหรับรับประทาน (1) ยาเถาวัลย์เปรียง ยาแคปซูล(รพ.)
  • 16. 5 2.4.2 ยาส�ำหรับใช้ภายนอก (1) ยาพริก ยาเจล ยาครีม(รพ.) ยาเจล(รพ.) ยาขี้ผึ้ง (รพ.) (2) ยาไพล ยาครีม (3) ยาน�้ำมันไพล ยาน�้ำมัน(รพ.) 2.5 ยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินปัสสาวะ (1) ยากระเจี๊ยบ ยาชง(รพ.) (2) ยาหญ้าหนวดแมว ยาชง(รพ.) 2.6 ยาแก้ไข้ แก้ร้อนใน (1) ยาบัวบก ยาแคปซูล(รพ.) ยาชง(รพ.) (2) ยามะระขี้นก ยาแคปซูล(รพ.) ยาชง(รพ.) (3) ยาหญ้าปักกิ่ง ยาแคปซูล(รพ.) ยาชง(รพ.) 2.7 ยาถอนพิษเบื่อเมา (1) ยารางจืด ยาแคปซูล(รพ.) ยาชง(รพ.) 2.8 ยาลดความอยากบุหรี่ (1) ยาหญ้าดอกขาว ยาชง(รพ.)
  • 17. 6
  • 19. 8    ต�ำรับยาจันทน์ลีลา  นพมาศ สุนทรเจริญนนท์ ต�ำรับยาจันทน์ลีลา จัดเป็นต�ำรับยาในยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ1 และยังจัด อยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ (บัญชียาจากสมุนไพร พ.ศ. 2554)2 กลุ่มบัญชียาแผนไทยหรือยา แผนโบราณ เป็นยาแก้ไข้ ยาจันทน์ลีลา ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) สูตรต�ำรับ ในผงยา 99 กรัม ประกอบด้วย โกฐสอ โกฐเขมา โกฐจุฬาลัมพา แก่นจันทน์ขาวหรือจันทน์ชะมด แก่นจันทน์แดง ลูกกระดอม เถาบอระเพ็ด รากปลาไหลเผือก หนักสิ่งละ 12 กรัม พิมเสน หนัก 3 กรัม ค�ำแนะน�ำ บรรเทาอาการไข้ตัวร้อน ไข้เปลี่ยนฤดู ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ละลายน�้ำสุก ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม ละลายน�้ำสุก ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อ มีอาการ ชนิดเม็ด และชนิดแคปซูล ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ
  • 20. 9 ค�ำเตือน ไม่แนะน�ำให้ใช้ในผู้ที่สงสัยว่าเป็นไข้เลือดออก เนื่องจากอาจบดบังอาการของ ไข้เลือดออก หากใช้ยาเป็นเวลานานเกิน 3 วัน แล้วอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของเครื่องยาและสารสกัดต�ำรับยาจันทน์ลีลา ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของเครื่องยาที่เป็นส่วนประกอบในต�ำรับยาจันทน์ลีลาที่ มีฤทธิ์ต้านการปวด อักเสบ และแก้ไข้ ได้แก่ โกฐเขมา (สารส�ำคัญคือ สาร β-eudesmol, atractylochromene และ polyacetylenes มีฤทธิ์แก้ปวดและต้านการอักเสบ), โกฐจุฬาล�ำพา (สารส�ำคัญคือ scopoletin มีฤทธิ์แก้ไข้และต้านการอักเสบ, สาร artemisinin มีผลรักษาโรคมาลาเรียที่ดื้อต่อยา), โกฐสอ (สารส�ำคัญที่มีฤทธิ์ต้านการ อักเสบคือ byakangelicol, สาร byakangelicin สาร imperatorin), แก่นจันทน์แดง, บอระเพ็ด (สารส�ำคัญคือ N-trans-feruloytyramine มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ), และ ปลาไหลเผือก (สารส�ำคัญคือ quassinoids มีฤทธิ์ต้านมาลาเรีย)3 สารสกัดต่อเนื่องด้วยเฮกเซน แอลกอฮอล์ และน�้ำของต�ำรับยาจันทน์ลีลามีฤทธิ์ ต้านการอักเสบ แก้ปวด และแก้ไข้ ซึ่งการศึกษาฤทธิ์ต้านการอักเสบเฉียบพลันของต�ำรับ ยาจันทน์ลีลาโดยการใช้ ethyl phenylpropiolate (EPP) กระตุ้นการบวมของใบหูหนูขาว พบว่ายาจันทน์ลีลาในขนาด 1, 2 และ 4 มิลลิกรัมต่อ 20 ไมโครลิตรต่อหู สามารถลด การบวมของใบหูหนูได้ และให้ผลใกล้เคียงกับยามาตรฐาน phenylbutazone ต�ำรับยา จันทน์ลีลา ขนาดยา 300-1,200 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน�้ำหนักตัว มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ (carrageenan-induced paw edema) และมีฤทธิ์ยับยั้งความเจ็บปวด (formalin test) ได้ผลดีกว่ายามาตรฐาน aspirin ใน early stage แต่ให้ผลใกล้เคียงกันใน late stage ต�ำรับยาจันทน์ลีลาขนาด 1,200 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน�้ำหนักตัว มีฤทธิ์ลดอุณหภูมิร่างกายที่ เพิ่มสูงขึ้นได้ ส่วนการศึกษาความเป็นพิษเฉียบพลันและกึ่งเรื้อรัง พบว่าต�ำรับยาจันทน์ลีลา ขนาดยา 5 กรัมต่อกิโลกรัมน�้ำหนักตัว ไม่ก่อพิษเฉียบพลัน และขนาดยา 600, 1,200 และ 2,400 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน�้ำหนักตัว ไม่ก่อพิษกึ่งเรื้อรัง ในระยะเวลา 90 วัน4
  • 21. 10 เอกสารอ้างอิง 1. ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ ประกาศ ณ วันที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2542. คัดจากราชกิจจานุเบกษา เล่ม 116 ตอนที่ 67 ง วันที่ 24 สิงหาคม 2542. 2. คณะกรรมการแห่งชาติด้านยา. บัญชียาหลักแห่งชาติ (รายการยาจากสมุนไพร). กรุงเทพมหานคร: ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2554. 3. นพมาศ สุนทรเจริญนนท์ นงลักษณ์ เรืองวิเศษ. คุณภาพเครื่องยาไทย..จากงานวิจัยสู่การ พัฒนาอย่างยั่งยืน. กรุงเทพมหานคร: บริษัทคอนเซพท์ เมดิคัส จ�ำกัด, 2551. 4. นพมาศ สุนทรเจริญนนท์ สีหณัฐ ธนาภรณ์ นงลักษณ์ เรืองวิเศษ บังอร เกียรติธนากร. รายงานวิจัยและพัฒนาต�ำรับแผนโบราณเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน (ปี 2549). กรุงเทพมหานคร: ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2549.
  • 22. 11 ต�ำรับยาไฟประลัยกัลป์ นพมาศ สุนทรเจริญนนท์ สีวบูรณ์ สิรีรัฐวงศ์ ต�ำรับยาไฟประลัยกัลป์ เป็นต�ำรับยาสามัญประจ�ำบ้าน1 ที่ใช้รักษาโรคเกี่ยวกับ สตรี สตรีที่มีประจ�ำเดือนมาไม่ปกติ ปวดประจ�ำเดือน หญิงหลังคลอด ท�ำให้มดลูกเข้าอู่ เร็วขึ้น และใช้เป็นยาบ�ำรุงเลือด เจริญอาหาร และเป็นต�ำรับยาในบัญชียาจากสมุนไพร ตามยาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ ปี 2542 เป็นยารักษากลุ่มอาการทางสูติศาสตร์- นรีเวชวิทยา ยาไฟประลัยกัลป์ ยาแคปซูล ยาผง ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) สูตรต�ำรับ ในผงยา 71 กรัม ประกอบด้วย รากเจตมูลเพลิงแดง สารส้มสะตุ แก่นแสมทะเล ผิวมะกรูด การบูร หนักสิ่งละ 6 กรัม เหง้าขมิ้นอ้อย เหง้ากระทือ เหง้าข่า เหง้าไพล เปลือกมะรุม หนักสิ่งละ 5 กรัม พริกไทยล่อน เหง้าขิง ดอกดีปลี หัวกระเทียม หนักสิ่งละ 4 กรัม ค�ำแนะน�ำ ขับน�้ำคาวปลาในเรือนไฟ ช่วยให้มดลูกเข้าอู่ ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง รับประทานครั้งละ 1 กรัม ละลายน�้ำสุก วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร ให้ รับประทานจนกว่าน�้ำคาวปลาจะหมด แต่ไม่เกิน 15 วัน ชนิดเม็ด และชนิดแคปซูล รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในหญิงตกเลือดหลังคลอด หญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ ห้ามใช้ในหญิงที่ผ่าคลอด เนื่องจากท�ำให้แผลหายช้า
  • 23. 12 ค�ำเตือน ควรระวังการใช้ยาอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีความผิดปกติ ของตับ ไต เนื่องจากอาจเกิดการสะสมของการบูรและเกิดพิษได้ ข้อมูลทางเภสัชวิทยาของเครื่องยา3 จากการสืบค้นข้อมูลทางวิทยาศาสตร์พบว่า ยังไม่มีการศึกษาวิจัยของทั้งต�ำรับ ยาไฟประลัยกัลป์ แต่สมุนไพรที่เป็นเครื่องยาบางชนิด มีการศึกษาฤทธิ์ทางเภสัชวิทยาที่ คาดว่าจะเกี่ยวข้องกับสรรพคุณยาไทย (ขับนํ้าคาวปลาในเรือนไฟ ช่วยให้มดลูกเข้าอู่ หรือ แก้ปวดประจ�ำเดือน) ได้แก่ ฤทธิ์กระตุ้นการบีบตัวของมดลูก ฤทธิ์คล้ายฮอร์โมนเพศหญิง ฤทธิ์ต้านการปวดและต้านการอักเสบเป็นต้นเครื่องยาที่มีฤทธิ์กระตุ้นการบีบตัวหรือคลาย กล้ามเนื้อของมดลูก และฤทธิ์คล้ายฮอร์โมนเพศหญิง ได้แก่ ไพล มีฤทธิ์คลายกล้ามเนื้อ มดลูก สารส�ำคัญคือ (E)-4-(34,-Dimethoxyphenyl)-but-3-en-1-ol ซึ่งสกัดแยกได้ จากสารสกัดเฮกเซน น�้ำมันหอมระเหยขิงมีฤทธิ์คลายกล้ามเนื้อมดลูก ซึ่งสารส�ำคัญคือ citral น�้ำมันหอมระเหย และสาร terpinolene, beta-pinene และ alpha-phelladrene มีฤทธิ์ต้านการบีบตัวของกล้ามเนื้อเรียบของล�ำไส้เล็ก ขมิ้นอ้อย มีฤทธิ์กระตุ้นกล้ามเนื้อ ของมดลูก มะกรูด มีฤทธิ์กระตุ้นการบีบตัวของมดลูก และเสริมฤทธิ์ uterotropic ของ ฮอร์โมน estradiol ซึ่งมีผลท�ำให้หนูท้องเกิดการแท้งได้ เครื่องยาที่มีฤทธิ์ต้านการปวด และต้านการอักเสบ ได้แก่ ไพล มีฤทธิ์ต้านการอักเสบทั้งการทดลองในสัตว์ทดลองและ ในหลอดทดลอง ซึ่งสารส�ำคัญคือ phenylbutenoid dimmers, (E)-1-(3,4-dimethoxy- phenyl) butadiene (DMPBD) ขมิ้นอ้อย มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ สารส�ำคัญคือ สาร curdione, furanodiene และ furanodienone, 1,7-bis (4-hydroxyphenyl)-1,4,6- heptatrien-3-one, procurcumenol, epiprocurcumenol, beta-turmerone และ ar- turmerone สารที่มีฤทธิ์ต้านการปวดในสัตว์ทดลองคือ curcumenol, dihydrocurdione และสาร dehydrocurdione ขิง มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ สารส�ำคัญคือ สาร gingerols และสาร [8]-paradol) ข่า มีฤทธิ์ต้านการอักเสบ สารส�ำคัญคือ galanganal, galan- ganols B และ C, 1S-1-acetoxychavicol acetate, 1S-1-acetoxyeugenol acetate, trans-p-hydroxycinnamaldehyde, trans-p-coumaryl alcohol, และ trans- p-coumaryl diacetate พริกไทย สาร piperine ที่แยกได้จากผลพริกไทยมีฤทธิ์ต้านการ อักเสบทั้งเฉียบพลันและเรื้อรังในสัตว์ทดลอง มะกรูด สารกลุ่ม coumarins ที่แยกได้มี ฤทธิ์ต้านการอักเสบ
  • 24. 13 ผลกำรศึกษำฤทธิ์ทำงเภสัชวิทยำและพิษวิทยำของต�ำรับยำไฟประลัยกัลป์ พบวำ ต�ำรับยำไฟประลัยกัลป์ไม่มีฤทธิ์คล้ำยเอสโตรเจน แต่มีผลช่วยปรับสมดุลของฮอร์โมน เอสโตรเจนในกรณีที่รังไข่ยังคงปกติ นอกจำกนี้ต�ำรับยำไฟประลัยกัลป์ยังแสดงฤทธิ์ต้ำน กำรอักเสบและระงับปวด ซึ่งอำจเป็นไปได้ว่ำกลไกกำรออกฤทธิ์ต้ำนกำรอักเสบและระงับ ปวดของต�ำรับยำไฟประลัยกัลป์เป็นผลจำกกำรยับยั้งกำรสร้ำงและ/หรือกำรหลั่งของสำร สื่อกลำงกำรอักเสบและเจ็บปวด โดยเฉพำะพรอสตำแกลนดิน และต�ำรับยำไฟประลัยกัลป์ ยังสำมำรถยับยั้งทั้งควำมถี่และควำมแรงในกำรหดตัวของมดลูกจำกกำรเหนี่ยวน�ำ ด้วย PGF ได้ ดังนั้นอำจกล่ำวได้ว่ำต�ำรับยำไฟประลัยกัลป์สำมำรถใช้บรรเทำอำกำรปวด ประจ�ำเดือนเนื่องจำกมดลูกบีบตัวมำกเกินไปได้ กำรทดสอบควำมเป็นพิษพบว่ำ ต�ำรับยำ ไฟประลัยกัลป์ ขนำด 5,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัมน�้ำหนักตัว ไม่ก่อพิษเฉียบพลัน และ ไม่ก่อพิษกึ่งเรื้อรังเมื่อได้รับต�ำรับยำขนำด 1,000, 2,000 และ 4,000 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม น�้ำหนักตัว ทุกวันเป็นเวลำ 90 วัน เอกสารอ้างอิง 1. ประกำศกระทรวงสำธำรณสุข เรื่องยำสำมัญประจ�ำบ้ำนแผนโบรำณ ประกำศ ณ วันที่ 26 มิถุนำยน พ.ศ. 2542. คัดจำกรำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม 116 ตอนที่ 67 ง วันที่ 24 สิงหำคม 2542. 2. คณะกรรมกำรแห่งชำติด้ำนยำ. บัญชียำหลักแห่งชำติ (รำยกำรยำจำกสมุนไพร). กรุงเทพ- มหำนคร: ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรอำหำรและยำ, 2554. 3. นพมำศ สุนทรเจริญนนท์ สีวบูรณ์ สิรีรัฐวงศ์. รำยงำนวิจัยและพัฒนำต�ำรับแผนโบรำณเพื่อ เพิ่มศักยภำพในกำรแข่งขัน (ปี 2551): ต�ำรับยำไฟประลัยกัลป์. กรุงเทพมหำนคร: ส�ำนักงำน คณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ, 2551.
  • 25. 14 ต�ำรับยาหอมนวโกฐและยาหอมอินทจักร์  นพมาศ สุนทรเจริญนนท์ ต�ำรับยาหอมนวโกฐและยาหอมอินทจักร์ เป็นต�ำรับยาในยาสามัญประจ�ำบ้าน แผนโบราณ1 และต�ำรับยาในบัญชียาหลักแห่งชาติ (บัญชียาจากสมุนไพร พ.ศ. 2554)2 กลุ่มบัญชียาแผนไทยหรือยาแผนโบราณ โดยเป็นยารักษากลุ่มอาการทางระบบไหลเวียน โลหิต (แก้ลม) ยาหอมนวโกฐ2 ยาผง ยาเม็ด ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) สูตรต�ำรับ ในผงยา 212 กรัม ประกอบด้วย โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา โกฐกระดูก โกฐก้านพร้าว โกฐพุงปลา โกฐชฎามังสี หนักสิ่งละ 4 กรัม เทียนด�ำ เทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั๊กแตน เทียนเยาวพาณี เทียนสัตบุษย์ เทียนเกล็ดหอย เทียนตากบ หนักสิ่งละ 4 กรัม เปลือกสมุลแว้ง หญ้าตีนนก รากแฝกหอม เปลือกชะลูด หัวเปราะหอม กระล�ำพัก ขอนดอก เนื้อไม้กฤษณา หนักสิ่งละ 4 กรัม เหง้าขิงแห้งดอกดีปลีรากเจตมูลเพลิงแดงเถาสะค้านรากช้าพลูหนักสิ่งละ3กรัม หัวแห้วหมู ลูกกระวาน ดอกกานพลู ดอกจันทน์ ลูกจันทน์ เปลือกอบเชยญวน ลูกผักชีลา แก่นสน หนักสิ่งละ 4 กรัม แก่นสักขี ลูกราชดัด ลูกสารพัดพิษ แก่นจันทน์เทศ แก่นจันทน์แดง ลูกกระดอม เถาบอระเพ็ด หนักสิ่งละ 4 กรัม เกสรบัวหลวง ดอกบุนนาค ดอกพิกุล ดอกสารภี ดอกมะลิ หนักสิ่งละ 4 กรัม เนื้อลูกมะขามป้อม เนื้อลูกสมอพิเภก รากชะเอมเทศ หนักสิ่งละ 4 กรัม พิมเสน หนัก 1 กรัม ค�ำแนะน�ำ แก้ลมวิงเวียน คลื่นเหียน อาเจียน (ลมจุกแน่นในอก) ในผู้สูงอายุ แก้ลมปลายไข้ (หลังจากฟื้นไข้แล้วยังมีอาการ เช่น คลื่นเหียน วิงเวียน เบื่ออาหาร ท้องอืด และอ่อนเพลีย)
  • 26. 15 ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ละลายน�้ำกระสาย เมื่อมีอาการ ทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง น�้ำกระสายยาที่ใช้ กรณีแก้ลมวิงเวียน คลื่นเหียน อาเจียน (ลมจุกแน่นในอก) ในผู้สูงอายุ ใช้น�้ำ ลูกผักชี (15 กรัม) หรือเทียนด�ำ (15 กรัม) ต้มเป็นน�้ำกระสายยา กรณีแก้ลมปลายไข้ (หลังจากฟื้นไข้แล้วยังมีอาการ เช่น คลื่นเหียน วิงเวียน เบื่ออาหาร ท้องอืด อ่อนเพลีย) ใช้ก้านสะเดา (33 ก้าน หรือ 15 กรัม) ลูกกระดอม (7 ลูก หรือ 15 กรัม) และเถาบอระเพ็ด (7 องคุลี หรือ 15 กรัม) ต้มเป็นน�้ำกระสายยา ถ้าหา น�้ำกระสายยาไม่ได้ ให้ใช้น�้ำสุกแทน ชนิดเม็ด รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ทุก 3 - 4 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ ในหญิงตั้งครรภ์ และผู้ที่มีไข้ ค�ำเตือน ควรระวังในการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets) ควรระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่แพ้ละอองเกสรดอกไม้ ยาหอมอินทจักร์2 ยาผง ยาเม็ด ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) สูตรต�ำรับ ในผงยา 98 กรัม ประกอบด้วย เถาสะค้าน รากช้าพลู เหง้าขิง ดอกดีปลี รากเจตมูลเพลิงแดง ลูกผักชีลา โกฐสอ โกฐเขมา โกฐก้านพร้าว โกฐพุงปลา โกฐจุฬาลัมพา โกฐเชียง โกฐกักกรา โกฐน�้ำเต้า โกฐกระดูก เทียนด�ำ เทียนขาว เทียนแดง เทียนข้าวเปลือก เทียนเยาวพาณี แก่นจันทน์ แดง แก่นจันทน์เทศ เถามวกแดง เถามวกขาว รากย่านาง เปลือกชะลูด เปลือกอบเชย เปลือกสมุลแว้ง กฤษณา กระล�ำพัก เถาบอระเพ็ด ลูกกระดอม ก�ำยาน ขอนดอก ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน ดอกกานพลู ล�ำพันแดง ดอกสารภี ดอกพิกุล ดอกบุนนาค
  • 27. 16 ดอกจ�ำปา ดอกกระดังงา ดอกมะลิ ดอกค�ำไทย แก่นฝางเสน ดีวัว พิมเสน หนักสิ่งละ 2 กรัม ค�ำแนะน�ำ แก้ลมบาดทะจิต แก้คลื่นเหียนอาเจียน แก้ลมจุกเสียด ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัม ละลายน�้ำกระสายยา ทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกิน วันละ 3 ครั้ง น�้ำกระสายยาที่ใช้ กรณีแก้ลมบาดทะจิต ใช้น�้ำดอกมะลิ กรณีแก้คลื่นเหียนอาเจียน ใช้น�้ำลูกผักชี เทียนด�ำต้ม ถ้าไม่มีใช้น�้ำสุก กรณีแก้ลมจุกเสียด ใช้น�้ำขิงต้ม ชนิดเม็ด รับประทานครั้งละ 1 - 2 กรัมทุก 3 - 4 ชั่วโมง ไม่ควรเกินวันละ 3 ครั้ง ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ ในหญิงตั้งครรภ์ ค�ำเตือน ควรระวังในการรับประทานร่วมกับยาในกลุ่มสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulant) และยาต้านการจับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets) ควรระวังการใช้ กับผู้ป่วยที่มีประวัติแพ้เกสรดอกไม้ ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของเครื่องยาและสารสกัดต�ำรับยาหอม3 ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของเครื่องยาที่เป็นส่วนประกอบในต�ำรับยาหอมทั้ง สองต�ำรับ พบว่าเครื่องยาเหล่านี้ มีฤทธิ์ต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด ระบบทางเดินอาหาร และระบบประสาทส่วนกลาง ซึ่งเครื่องยาที่มีผลต่อระบบหัวใจและหลอดเลือด จะมีฤทธิ์ ลดความดันโลหิต ได้แก่ กระเทียม กฤษณา ชะเอมเทศ เปราะหอม ย่านาง เกสรบัวหลวง ฝาง หญ้าฝรั่น อบเชยเทศ ขอนดอก เทียนข้าวเปลือก เทียนด�ำ เทียนแดง เทียนเยาวพาณี มีฤทธิ์เพิ่มอัตราการเต้นของหัวใจ ได้แก่ บอระเพ็ด ฝาง เทียนแดง ขิง หรือลด อัตราการเต้นของหัวใจ ได้แก่ ชะเอมเทศ เทียนด�ำ หรือมีผลท�ำให้หัวใจที่เต้นผิดปกติ มีการเต้นได้ปกติ ได้แก่ เกสรบัวหลวง โกฐสอ ผักชีล้อม หรือท�ำให้ระบบการไหลเวียน
  • 28. 17 โลหิตดีขึ้น ได้แก่ แห้วหมู ส่วนเครื่องยาที่มีผลต่อระบบทางเดินอาหาร จะมีฤทธิ์ลดการ บีบตัวของกระเพาะและล�ำไส้ ได้แก่ กระเทียม ช้าพลู ลูกผักชี อบเชยเทศ โกฐเชียง โกฐกระดูก โกฐหัวบัว กานพลู เทียนแดง ขิง ลูกจันทน์ หรือมีผลลดการหลั่งน�้ำย่อยและ กรด ได้แก่ โกฐกระดูก ชะเอมเทศ และลูกจันทน์ หรือมีผลเพิ่มการหลั่งเมือกในกระเพาะ อาหาร ได้แก่ ชะเอมเทศ เปราะหอม และต้านการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร ได้แก่ โกฐกระดูก ชะเอมเทศ เปราะหอม ดีปลี ฝาง อบเชยเทศ โกฐจุฬาลัมพา โกฐเชียง ขอนดอก เทียนข้าวเปลือก เทียนด�ำ เทียนตาตั๊กแตน เทียนสัตตบุษย์ หรือมีฤทธิ์ต้าน การอาเจียน ได้แก่ แห้วหมู กานพลู ขิง เครื่องยาที่มีฤทธิ์ต่อประสาทส่วนกลาง จะมี ฤทธิ์เสริมระยะเวลาหลับของยา pentobarbitone ยาวนานขึ้น ได้แก่ ดอกบุนนาค มี ฤทธิ์คลายความกังวล ท�ำให้สงบ ได้แก่ ลูกผักชี โกฐเชียง จันทน์เทศ กานพลู โกฐสอ หญ้าฝรั่น ลูกจันทน์ พิกุล และท�ำให้เลือดไหล เวียนไปเลี้ยงสมองดีขึ้น ได้แก่ หญ้าฝรั่น เป็นต้น สารสกัดต่อเนื่องด้วยเฮกเซน แอลกอฮอล์ และน�้ำของต�ำรับยาหอมนวโกฐ มี ฤทธิ์เพิ่มความดัน systolic ได้มากและนานกว่าต�ำรับยาหอมอินทจักร์ สารสกัดทั้งสอง ต�ำรับมีผลต่อความดัน diastolic ได้ใกล้เคียงกัน และมีผลลดอัตราการเต้นของหัวใจ เล็กน้อยในช่วงเวลา 45-90 นาที สารสกัดต�ำรับยาหอมนวโกฐมีฤทธิ์ยับยั้งการหลั่งของ กรด และมีฤทธิ์ยับยั้งการหดตัวของล�ำไส้เล็กได้มากกว่าสารสกัดต�ำรับยาหอมอินทจักร์4 สารสกัดต�ำรับยาหอมทั้งสองมีฤทธิ์เพิ่มอัตราการไหลเวียนเลือดที่สมองหนู โดยเป็นผลมา จากการขยายตัวของหลอดเลือดแดงขนาดเล็กของสมอง5 สารสกัดต�ำรับยาหอมนวโกฐมี ฤทธิ์ต่อระบบประสาทส่วนกลางมากกว่าสารสกัดต�ำรับยาหอมอินทจักร์6 สารสกัดต�ำรับ ยาหอมทั้งสองมีผลต่อระบบภูมิคุ้มกันแบบอาศัยเซลล์ โดยเพิ่มการแบ่งตัวของลิมโฟซัยท์ แต่สารสกัดต�ำรับยาหอมนวโกฐมีฤทธิ์ลดการท�ำงานของ natural killer cells (NK cells) ด้วย7
  • 29. 18 เอกสารอางอิง 1. ประกำศกระทรวงสำธำรณสุข เรื่องยำสำมัญประจ�ำบ้ำนแผนโบรำณ ประกำศ ณ วันที่ 26 มิถุนำยน พ.ศ. 2542. คัดจำกรำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม 116 ตอนที่ 67 ง วันที่ 24 สิงหำคม 2542. 2. คณะกรรมกำรแห่งชำติด้ำนยำ. บัญชียำหลักแห่งชำติ (รำยกำรยำจำกสมุนไพร). กรุงเทพมหำนคร: ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรอำหำรและยำ, 2554. 3. นพมำศ สุนทรเจริญนนท์ นงลักษณ์ เรืองวิเศษ. คุณภำพเครื่องยำไทยจำกงำนวิจัยสู่กำรพัฒนำ อย่ำงยั่งยืน. กรุงเทพมหำนคร: บริษัทคอนเซพท์ เมดิคัส จ�ำกัด, 2551. 4. สุวรรณ ธีระวรพันธ์ วิสุดำ สุวิทยำวัฒน์. กำรศึกษำฤทธิ์ของยำหอมต่อกำรท�ำงำนของระบบไหล เวียนโลหิต ระบบทำงเดินอำหำรและควำมเป็นพิษ. เอกสำรประกอบกำรประชุมกำรเผยแพร่ผล งำนวิจัยด้ำนกำรพัฒนำสมุนไพรเพื่ออุตสำหกรรม จัดโดยภำรกิจโครงกำรและประสำนงำนวิจัย ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ วันที่ 28-29 กันยำยน 2549 ณ โรงแรมมิรำเคิลแกรนด์คอน เวนชั่น กรุงเทพมหำนคร. หน้ำ 107-11. 5. อัมพร จำริยะพงศ์สกุล สุทธิลักษณ์ ปทุมรำช. กำรศึกษำผลของยำหอมและสำรสกัดสมุนไพร ต่ออัตรำกำรไหลเวียนเลือดในสมอง. เอกสำรประกอบกำรประชุมกำรเผยแพร่ผลงำนวิจัยด้ำน กำรพัฒนำสมุนไพรเพื่ออุตสำหกรรม จัดโดยภำรกิจโครงกำรและประสำนงำนวิจัย ส�ำนักงำน คณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ วันที่ 28-29 กันยำยน 2549 ณ โรงแรมมิรำเคิลแกรนด์คอนเวนชั่น กรุงเทพมหำนคร. หน้ำ 112-6. 6. มยุรี ตันติสิระ บุญยงค์ ตันติสิระ เพ็ญพิมล ผลทรัพย์ จิตติมำ ศรีสมบูรณ์. โครงกำรกำรศึกษำ ฤทธิ์ต่อระบบประสำทส่วนกลำงของสมุนไพร. เอกสำรประกอบกำรประชุมกำรเผยแพร่ผลงำนวิจัย ด้ำนกำรพัฒนำสมุนไพรเพื่ออุตสำหกรรม จัดโดย ภำรกิจโครงกำรและประสำนงำนวิจัย ส�ำนักงำน คณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ วันที่ 28-29 กันยำยน 2549 ณ โรงแรมมิรำเคิลแกรนด์คอนเวนชั่น กรุงเทพมหำนคร. หน้ำ 87-91. 7. บุษรำวรรณ ศรีวรรธนะ วีณำ ตรีแสงศรี บงกช จิตจักร ปรำณี ชวลิตธ�ำรง. กำรศึกษำฤทธิ์ของพืช สมุนไพรไทยต่อระบบภูมิคุ้มกันแบบอำศัยเซลล์. เอกสำรประกอบกำรประชุมกำรเผยแพร่ผล งำนวิจัยด้ำนกำรพัฒนำสมุนไพรเพื่ออุตสำหกรรม จัดโดยภำรกิจโครงกำรและประสำนงำนวิจัย ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ วันที่ 28-29 กันยำยน 2549 ณ โรงแรมมิรำเคิลแกรนด์ คอนเวนชั่น กรุงเทพมหำนคร. หน้ำ 58-79.
  • 30. 19 ต�ำรับยาเหลืองปิดสมุทร นพมาศ สุนทรเจริญนนท์ ต�ำรับยาเหลืองปิดสมุทรเป็นต�ำรับยาในยาสามัญประจ�ำบ้านแผนโบราณ1 และ ยังจัดอยู่ในบัญชียาหลักแห่งชาติ (บัญชียาจากสมุนไพร พ.ศ. 2554)2 กลุ่มบัญชียาแผน ไทยหรือยาแผนโบราณ โดยเป็นยารักษากลุ่มอาการทางระบบทางเดินอาหาร2 ยาเหลืองปิดสมุทร ยาเม็ด ยาแคปซูล(รพ.) ยาผง(รพ.) ยาเม็ด(รพ.) สูตรต�ำรับ ในผงยา 90 กรัม ประกอบด้วย เหง้าขมิ้นชัน หนัก 30 กรัม ชันย้อย ครั่ง สีเสียดเทศ เปลือกสีเสียดไทย ใบเทียน ใบทับทิม หัวแห้วหมู เหง้าขมิ้นอ้อย เปลือกเพกา รากกล้วยตีบ หัวกระเทียมคั่ว ดอกดีปลี หนักสิ่งละ 5 กรัม ค�ำแนะน�ำ บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูก หรือ มีเลือดปนและท้องเสียชนิดที่ไม่มีไข้ ขนาดและวิธีใช้ ชนิดผง ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม เด็ก อายุ 3 - 5 เดือน ครั้งละ 200 มิลลิกรัม อายุ 6 - 12 เดือน ครั้งละ 300 - 400 มิลลิกรัม อายุ 1 - 12 ปี ครั้งละ 500 - 700 มิลลิกรัม ละลายน�้ำกระสายยา รับประทานทุก 3 - 5 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ น�้ำกระสายยาที่ใช้ ใช้น�้ำเปลือกลูกทับทิมหรือเปลือกแคต้ม แทรกกับน�้ำปูนใสเป็นน�้ำกระสายยา ส�ำหรับเด็กเล็กให้บดผสมกับน�้ำกระสายยา ใช้รับประทานหรือกวาดก็ได้ ถ้าหา น�้ำกระสายยาไม่ได้ให้ใช้น�้ำสุกแทน ชนิดเม็ดและชนิดแคปซูล ผู้ใหญ่ รับประทานครั้งละ 1 กรัม
  • 31. 20 เด็ก อายุ 6 - 12 ปี รับประทานครั้งละ 500 - 700 มิลลิกรัม ทุก 3 - 5 ชั่วโมง เมื่อมีอาการ ค�ำเตือน ใช้ไม่เกิน 1 วัน หากอาการไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของเครื่องยาและสารสกัดต�ำรับยาเหลืองปิดสมุทร ข้อมูลทางวิทยาศาสตร์ของเครื่องยาที่เป็นส่วนประกอบในต�ำรับยาเหลืองปิด สมุทร ที่มีฤทธิ์แก้ท้องเสีย โดยมีฤทธิ์ต้านเชื้อจุลชีพที่ก่อเกิดอาการท้องเสีย และลดการ บีบตัวของล�ำไส้ ได้แก่ กระเทียม (สารส�ำคัญคือ allicin, ajoene และ diallyl trisulfide), ขมิ้นชัน (สารส�ำคัญคือ สารกลุ่ม curcuminoids), ขมิ้นอ้อย (สารส�ำคัญคือ น�้ำมันหอม ระเหย), ดีปลี, ทับทิม (สารส�ำคัญคือ สารกลุ่ม tannins), เพกา (สารส�ำคัญคือ chrysin, oroxylin A และ lapachol), สีเสียดไทย (สารส�ำคัญคือ สารกลุ่ม tannins), สีเสียดเทศ (สารส�ำคัญคือ สารกลุ่ม tannins) หญ้าแห้วหมู, เบญกานี สารสกัดแอลกอฮอล์และสารสกัดน�้ำของต�ำรับยาเหลืองปิดสมุทร มีฤทธิ์ฆ่าเชื้อ ก่อเกิดโรคอุจจาระร่วง (เชื้อแบคทีเรียสายพันธุ์มาตรฐาน คือ Bacillus cereus ATCC 14579, Escherichia coli ATCC 25922, Salmonella typhimurium ATCC 11331, Shigella flexneri DMSC 1130, Staphylococcus aureus ATCC 25923, Vibrio parahaemolyticus DMST 5665 และแบคทีเรียที่แยกได้จากอาหาร) ได้ดีกว่าตัวยา เดี่ยวๆ ทั้งนี้สารสกัดน�้ำของต�ำรับยาสามารถฆ่าเชื้อแบคทีเรียทดสอบได้ดีกว่าสารสกัด แอลกอฮอล์4 และสารสกัดต�ำรับยาเหลืองปิดสมุทรขนาด 0.25, 0.5 และ 1 มิลลิกรัม/ มิลลิลิตร มีฤทธิ์ยับยั้งกล้ามเนื้อเรียบของล�ำไส้เล็กหนูตะเภา ที่กระตุ้นด้วยสาร acetylcholine ในการทดลอง ส่วนการทดลองในหนูถีบจักรพบว่า สารสกัดขนาด 1,000, 2,000 และ 4,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม มีฤทธิ์ลดอาการท้องเสียที่เกิดจากการป้อนน�้ำมัน ละหุ่ง และผลการศึกษาความเป็นพิษเฉียบพลันและพิษกึ่งเรื้อรังในหนูขาว พบว่าไม่ พบพิษเฉียบพลัน เมื่อป้อนสารสกัดขนาด 5,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม ครั้งเดียวและสังเกตุ พฤติกรรมภายใน 14 วัน ไม่พบความผิดปกติใดๆ เมื่อเปรียบเทียบกับกลุ่มควบคุม และไม่ พบความผิดปกติของอวัยวะภายในของหนู ส่วนการศึกษาความเป็นพิษกึ่งเรื้อรังพบว่า การ ให้สารสกัดขนาด 1,000, 2.000, และ 4,000 มิลลิกรัม/กิโลกรัม เป็นเวลา 90 วัน และบาง กลุ่มที่ศึกษา 118 วัน ไม่พบความผิดปกติของหนูทดลอง ทั้งน�้ำหนักตัว ค่าทางโลหิตวิทยา ค่าทางชีวเคมี และพยาธิวิทยา ยกเว้นกลุ่มหนูตัวผู้ที่มีน�้ำหนักเพิ่มมากกว่ากลุ่มควบคุม แต่ไม่พบความผิดปกติอื่นๆ5
  • 32. 21 เอกสารอางอิง 1. ประกำศกระทรวงสำธำรณสุข เรื่องยำสำมัญประจ�ำบ้ำนแผนโบรำณ ประกำศ ณ วันที่ 26 มิถุนำยน พ.ศ. 2542. คัดจำกรำชกิจจำนุเบกษำ เล่ม 116 ตอนที่ 67 ง วันที่ 24 สิงหำคม 2542. 2. คณะกรรมกำรแห่งชำติด้ำนยำ. บัญชียำหลักแห่งชำติ (รำยกำรยำจำกสมุนไพร). กรุงเทพมหำนคร: ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรอำหำรและยำ, 2554. 3. นพมำศ สุนทรเจริญนนท์ นงลักษณ์ เรืองวิเศษ. คุณภำพเครื่องยำไทยจำกงำนวิจัยสู่กำรพัฒนำ อย่ำงยั่งยืน. กรุงเทพมหำนคร: บริษัทคอนเซพท์ เมดิคัส จ�ำกัด, 2551. 4. จันทร์เพ็ญ วิวัฒน์. รำยงำนวิจัยและพัฒนำต�ำรับแผนโบรำณเพื่อเพิ่มศักยภำพในกำรแข่งขัน (ปี 2549). กรุงเทพมหำนคร: ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ, 2549. 5. นพมำศ สุนทรเจริญนนท์ สีหณัฐ ธนำภรณ์ นงลักษณ์ เรืองวิเศษ บังอร เกียรติธนำกร. รำยงำน วิจัยและพัฒนำต�ำรับแผนโบรำณเพื่อเพิ่มศักยภำพในกำรแข่งขัน (ปี 2549). กรุงเทพมหำนคร: ส�ำนักงำนคณะกรรมกำรวิจัยแห่งชำติ, 2549.
  • 33. 22
  • 35. 24 กลวย กฤติยา ไชยนอก ยากล้วย ยาผง (รพ.) สูตรต�ารับ ผงของกล้วยน�้าว้าชนิดแก่จัด [Musa sp. (ABB group) “Klui Nam Wa”] หรือกล้วยหักมุกชนิดแก่จัด [Musa sp. (ABB group) “triploid” cv.] วงศ์ MUSACEAE ข้อบ่งใช้ รักษาแผลในกระเพาะอาหาร บรรเทาอาการท้องเสียชนิดที่ไม่เกิดจากการ ติดเชื้อ เช่น อุจจาระไม่เป็นมูก หรือมีเลือดปน ขนาดและวิธีใช้ รับประทาน ครั้งละ 10 กรัม ชงน�้าอุ่น 120-200 มิลลิลิตร วันละ 3 ครั้ง ก่อนอาหาร ข้อควรระวัง ไม่ควรใช้ ในคนที่ท้องผูก และการรับประทานติดต่อกันนาน ๆ อาจท�าให้ท้องอืด อาการไม่พึงประสงค์ อาจเกิดอาการท้องอืดได้1
  • 36. 25 การศึกษาทางคลินิก การศึกษาประสิทธิผลในการรักษาอาการท้องเสีย การศึกษาทางคลินิกแบบสุ่มในผู้ป่วยที่มีอาการท้องเสียจ�ำนวน 31 คน โดยแบ่ง ผู้ป่วยเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ได้รับกล้วย และกลุ่มที่ได้รับยาตามค�ำสั่งแพทย์ (ขึ้นกับ อาการของผู้ป่วย) พบว่าความรุนแรงของอาการท้องเสียลดลงทั้ง 2 กลุ่ม2 การศึกษาทางคลินิกแบบ double-blind ในผู้ป่วยเพศชายอายุระหว่าง 5-12 เดือน จ�ำนวน 62 คน โดยแบ่งเป็น 3 กลุ่ม กลุ่มที่ 1 ให้รับประทานข้าวผสมกล้วย ขนาด 250 กรัม/ลิตร (22 คน) กลุ่มที่ 2 รับประทานเพคตินจากกล้วย ขนาด 4 กรัม/กิโลกรัม (19 คน) และกลุ่มควบคุมรับประทานข้าวเพียงอย่างเดียว (21 คน) ซึ่งทั้งหมดจะได้รับพลังงาน 54 กิโลแคลอรี่/เดซิลิตร/วัน เป็นเวลา 7 วัน พบว่าในวันที่ 3 ของการทดลอง ผู้ป่วยในกลุ่ม ที่ได้รับเพคติน กล้วย และกลุ่มควบคุมมีอาการดีขึ้น 59%, 55% และ 15% ตามล�ำดับ อย่างมีนัยส�ำคัญ (p<0.001) และในวันที่ 4 อาการก็ดีขึ้น 82%, 78% และ 23% ตาม ล�ำดับ นอกจากนี้กลุ่มที่ได้รับกล้วยและเพคตินยังสามารถลดปริมาณของอุจจาระ และลด จ�ำนวนครั้งของการอาเจียน รวมทั้งเพิ่มระยะห่างในการถ่ายได้อีกด้วย3 การศึกษาทางคลินิกแบบสุ่มในแถบชนบทของประเทศบังกลาเทศในผู้ป่วยเด็ก อายุระหว่าง 6-36 เดือน จ�ำนวน 2,968 คน ท�ำการศึกษาโดยการสุ่ม เป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มที่ได้รับการรักษาตามมาตรฐาน และกลุ่มที่รับประทานกล้วยปรุงสุกร่วมด้วย เก็บ ข้อมูลเป็นเวลา 14 วัน พบว่ากล้วยสามารถรักษาอาการท้องเสียในเด็กได้ ทั้งในกลุ่มที่มี อาการท้องเสียแบบเฉียบพลัน โดยอาการจะดีขึ้นในวันที่ 3 และในกลุ่มที่มีอาการท้องเสีย แบบเรื้อรัง อาการจะดีขึ้นในวันที่ 104 การทดสอบฤทธิ์ทางเภสัชวิทยา ฤทธิ์ป้องกันและรักษาแผลในกระเพาะอาหาร มีการศึกษาในสัตว์ทดลองเป็นจ�ำนวนมากที่ระบุว่า แป้งจากกล้วยดิบสามารถ ยับยั้งการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร โดยมีฤทธิ์ในการสมานแผล เพิ่มความแข็งแรง ของเยื่อบุกระเพาะอาหาร5 และเร่งการแบ่งตัวของเซลล์6 นอกจากนี้ยังพบว่าสารเพคติน และสาร phosphatidylcholine จากกล้วย รวมทั้งยาน�้ำในรูปแบบของสารแขวนลอยซึ่ง เตรียมจากกล้วยดิบ เมื่อให้ในความเข้มข้นสูง สามารถลดการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร ทั้งแบบเฉียบพลันและแบบเรื้อรังได้ แต่ยาน�้ำในรูปแบบดังกล่าวให้ผลการรักษาที่ไม่ สมบูรณ์ และออกฤทธิ์เพียงชั่วคราวเท่านั้น7
  • 37. 26 การทดสอบความเป็นพิษ 1. ความเป็นพิษเฉียบพลัน หนูแรทที่กินแป้งจากกล้วย ขนาด 1.25, 2.5 และ 5 กรัม/กิโลกรัม นาน 5 สัปดาห์ พบว่ามีการเปลี่ยนแปลงทางโลหิตวิทยา และชีวเคมีเพียงเล็กน้อย ไม่พบความ ผิดปกติทางสรีรวิทยา8 2. ก่อกลายพันธุ์ สารสกัดน�้ำจากดอกกล้วย ไม่ท�ำให้เกิดการก่อกลายพันธุ์ สารสกัดน�้ำ8 และผงแห้ง ของผลสุกจากกล้วยน�้ำว้า กล้วยหอม และกล้วยไข่9 ยังมีฤทธิ์ช่วยยับยั้งการก่อกลายพันธุ์ ด้วย9-10 3. พิษต่อยีน อาสาสมัครรับประทานกล้วย 3-6 ผล เป็นเวลา 3 วัน พบว่า อาสาสมัคร 6 ใน 7 คน มีปริมาณ micronuclei เพิ่ม แต่ไม่ต่างจากกลุ่มควบคุม10 แสดงว่าไม่เป็นพิษ ต่อยีน 4. ท�ำให้เกิดอาการแพ้ มีรายงานว่าผู้ที่รับประทานกล้วย อาจเกิดอาการแพ้ได้ โดยอาการแพ้ส่วนใหญ่เกิดจาก ยางกล้วย11
  • 38. 27 เอกสารอ้างอิง 1. ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. บัญชียาหลักแห่งชาติ (รายการยาจากสมุนไพร). นนทบุรี: ส�ำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา, 2554. 2. Emery EA, Ahmad S, Koethe JD, Skipper A, Perlmutter S, Paskin DL. Banana flakes control diarrhea in enterally fed patients. Nutr Clin Pract 1997;12(2):72-5. 3. Rabbani GH, Teka T, Zaman B, Majid N, Khatun M, Fuchs GJ. Clinical studies in persistent diarrhea: dietary management with green banana or pectin in Bangladeshi children. Gastroenterology 2001;121(3):554-60. 4. Rabbani GH, Larson CP, Islam R, Saha UR, Kabir A. Green banana-supplemented diet in the home management of acute and prolonged diarrhoea in children: a community- based trial in rural Bangladesh. Trop Med Int Health 2010;15(10):1132-9. 5. Goel RK, Gupta S, Shankar R, Sanyal AK. Anti-ulcerogenic effect of banana powder (Musa sapientum var. paradisiaca) and its effect on mucosal resistance. J Ethnophar- macol 1986;18(1):33-44. 6. Mukhopadhyaya K, Bhattacharya D, Chakraborty A, Goel RK, Sanyal AK. Effect of banana powder (Musa sapientum var. paradisiaca) on gastric mucosal shedding. J Ethnopharmacol 1987;21(1):11-9. 7. Dunjic BS, Svensson I, Axelson J, Adlercreutz P, Ar’Rajab A, Larsson K, Bengmark S. Green banana protection of gastric mucosa against experimentally induced injuries in rats. A multicomponent mechanism?. Scand J Gastroenterol 1993;28(10):894-8. 8. Costa M, Antonio MA, Souza Brito ARM. Effects of prolonged administration of Musa paradisiaca L. (banana), an antiulcerogenic substance, in rats. Phytother Res 1997;11(1):28-31. 9. Saseelung S. Antimutagenicity of water extract from Thai indigenous vegetables using somatic mutation and recombination test. รายงานการวิจัย ส�ำนักงานคณะกรรมการวิจัย แห่งชาติ, 2003. 10. Kruawan K, Kangsadalampai K, Limpichaisopon K. Antimutagenic of different lyophilized ripe bananas on mutagens in Ames test and somatic mutation and recombination test. Thai J Pharm Sci 2004;28(1-2):83-94. 11. Dompmartin A, Szczurko C, Michel M, et al. Two cases of urticaria following fruit ingestion, with cross-sensitivity to latex. Contact Dermatitis 1994;30(4):250-2.
  • 39. 28 ขมิ้นชัน วรวรรณ กิจผาติ กฤติยา ไชยนอก ยาขมิ้นชัน ยาแคปซูล ยาเม็ด ยาแคปซูล (รพ.) ยาเม็ด (รพ.) สูตรต�ำรับ ผงของเหง้าขมิ้นชัน (Curcuma longa L.) วงศ์ ZINGIBERACEAE มีสาร ส�ำคัญ curcuminoids ไม่น้อยกว่าร้อยละ 5 โดยน�้ำหนัก (w/w) และน�้ำมันระเหยง่ายไม่ น้อยกว่าร้อยละ 6 โดยปริมาตรต่อน�้ำหนัก (v/w) ข้อบ่งใช้ บรรเทาอาการแน่นจุกเสียด ท้องอืด ท้องเฟ้อ ขนาดและวิธีใช้ รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม - 1 กรัม วันละ 4 ครั้ง หลังอาหารและก่อนนอน ข้อห้ามใช้ ห้ามใช้ในผู้ที่ท่อน�้ำดีอุดตัน หรือผู้ที่ไวต่อยานี้ ค�ำเตือน ควรระวังการใช้ในผู้ป่วยโรคนิ่วในถุงน�้ำดี ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ ควรระวังการใช้ในหญิงตั้งครรภ์ ยกเว้นภายใต้การดูแลของแพทย์ ควรระวังการใช้ในเด็ก เนื่องจากยังไม่มีข้อมูลด้านประสิทธิผลและความ ปลอดภัย ควรระวังการใช้ร่วมกับสารกันเลือดเป็นลิ่ม (anticoagulants) และยาต้านการ จับตัวของเกล็ดเลือด (antiplatelets) ควรระวังการใช้ร่วมกับยาที่กระบวนการเมแทบอลิซึมผ่านเอนไซม์ Cytochrome