SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์
1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก
การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 1 คือ ดอกกล้วยไม้
ชื่อวิทยาศาสตร์: Orchid วงศ์: Orchidaceae
ชื่อสามัญ: Orchid ชื่อท้องถิ่น: เอื้อง
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว
มักนิยมนามาใช้ประดับ ทั่วโลกพบประมาณ 796
สกุล โดยในไทยพบ 167 สกุล
ราก: เกิดที่โคนต้นหรือตามข้อ มีหน้าที่ยึด
เกาะหรือช่วยสังเคราะห์ด้วยแสง มักมี
เนื้อเยื่อสีขาวคล้ายฟองน้าเรียกว่า วีลา
เมน (velamen) ห่อหุ้มไว้
ใบ: เป็นใบเดี่ยว เรียงแบบสลับ เรียงแบบ
เวียน หรือบางชนิดมีใบเดียว และในบาง
ชนิดใบอาจลดรูปไป
ดอก: ดอกสมบูรณ์เพศ สมมาตรด้านข้าง ขณะที่ดอกกาลังเจริญก้านดอกและรังไข่
จะบิดตัวประมาณ 180 องศา (resupinate) ทาให้กลีบปากอยู่ด้านล่างของดอก
ยกเว้นกล้วยไม้บางชนิดที่ก้านดอกและรังไข่ไม่บิดตัวโดยทั่วไปกล้วยไม้มี 6 กลีบ
ประกอบด้วยกลีบเลี้ยง 3 กลีบ กลีบดอก 3 กลีบ และมีเส้าเกสร เป็นแท่งตรงกลาง
ดอก เป็นส่วนรวมของเกสรเพศผู้และเพศเมีย (ยกเว้นในวงศ์ย่อย
Apostasioideae ที่เกสรเพศผู้และเพศเมียแยกจากกัน) ที่ปลายเส้าเกสรมีกลุ่ม
เรณู (pollinia) ซึ่งมีตั้งแต่ 2 ถึง 8 กลุ่ม ในบางสกุลกลุ่มเรณูจะมีกลุ่มเรณูย่อย ซึ่ง
แต่ละสกุลจะมีความแตกต่างกัน และบางสกุลกลุ่มเรณูอาจจะมีก้านกลุ่มเรณูด้วย
1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง
2.1ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์
ชื่อวิทยาศาสตร์: Solanum melongena L
ชื่อสามัญ: Thai Eggplant, Yellow berried
nightshade, Kantakari
ชื่ออื่น: มะเขือขัยคา มะเขือคางกบ มะเขือจาน
มะเขือแจ้ มะเขือแจ้ดิน มะเขือดา (ภาคเหนือ),
มะเขือหืน (ภาคอีสาน), มะเขือขื่น มะเขือเสวย
(ภาคกลาง), เขือพา เขือหิน (ภาคใต้), มั่งคอเก
(กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), หวงกั่วเชี๋ย หวงสุ่ยเชี๋ย
(จีนกลาง) เป็นต้น
วงศ์: SOLANACEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้พุ่ม ที่มี
ความสูงของต้นประมาณ 2-4 ฟุต มีอายุได้
หลายฤดูกาล
ใบ: ใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบรูปไข่ถึงรูปขอบขนาน
แกมรูปไข่
ดอก: ดอกเดี่ยว สีม่วงหรือขาว เกสรเพศผู้ 5
อัน เกสรเพศเมีย 1 อันอยู่ตรงกลางดอก ดอก
มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ออกดอกเป็นช่วงๆ ตลอดปี
ผล: ผลมีเนื้อหลายเมล็ด รูปไข่ รูปขอบขนาน รูปไข่
กลับ รูปกึ่งทรงกลม ถึงรูปทรงกลม เกลี้ยง มีขนาด
ใหญ่ ห้อยลง สีขาว เขียว เหลือง ม่วง ดา หรือปนกัน
หลายสี
การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 2 คือ ดอกมะเขือ
2.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 2.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง
อับเรณู
anther
ก้านชูอับเรณู
filament
ยอดเกสรเพศเมีย
stigma
รังไข่
Ovary
ก้านยอดเกสรเพศเมีย
style
3.1ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์
3.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก
ชื่อวิทยาศาสตร์: Bauhinia purpurea L.
ชื่อสามัญ: Purple Orchid Tree, Hong Kong
Orchid Tree, Purple Bauhinia
ชื่ออื่น: เสี้ยวดอกแดง (ภาคเหนือ), เสี้ยวหวาน
(แม่ฮ่องสอน)
วงศ์: LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ต้น สูงได้ถึง
10 เมตร ผลัดใบช่วงสั้นๆ
ใบ: ใบเรียงสลับ ใบเดี่ยว รูปมนเกือบกลม
กว้าง 8-10 ซม. ยาว 10-14 ซม. ปลายใบแยก
เป็น 2 พู โคนใบมนหรือเว้า ขอบใบเรียบ สี
เขียว
ดอก: ดอกช่อออกตามซอกใบและปลายกิ่ง
กลีบดอก 5 กลีบ สีชมพูถึงม่วงเข้ม รูปรีกว้าง
ตรงส่วนกลาง เมื่อบานวัดเส้นผ่านศูนย์กลาง
ได้ 6-8 ซม. เกสรเพศผู้ 5 อัน เกสรเพศเมีย 1
อันอยู่ตรงกลางดอก รังไข่มีขน ดอกมีกลิ่น
หอมอ่อนๆ ออกดอกเป็นช่วงๆ ตลอดปี
ผล: ผลเป็นฝักแบน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว
20-25 ซม. เมื่อแก่แตกเป็นสองซีก เมล็ดกลม
มี 10 เมล็ด
อับเรณู
anther
ก้านชูอับเรณู
filament
ยอดเกสรเพศเมีย
stigma
วงกลีบเลี้ยง
Calyx
เกสรเพศผู้
stamen
การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 3 คือ ดอกชงโค
ก้านยอดเกสรเพศเมีย
style
ยอดเกสรเพศเมีย
stigma
เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน
staminode
ก้านดอกย่อย
pedicel
ฐานรองดอก
receptacle
รังไข่
ovary
กลีบดอก
petal
3.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง Clip video ประกอบการศึกษาโครงสร้างดอกของพืชตัวอย่าง 3 ชนิด
Link youtube : https://www.youtube.com/watch?v=L2WZh--p4lM
QR CODE :
ภาคผนวก
ภาพแสดงเบื้องหลังการศึกษาโครงสร้างพืชดอกทั้งหมด
ภาคผนวก
ครูผู้สอน : นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์
ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาชีววิทยา
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
คณะผู้จัดทา
นางสาวดรุณี วงศ์ไทย เลขที่ 12 ห้อง 931 นางสาวพัชรีย์ เชาวน์ธนสิทธิ์ เลขที่ 22 ห้อง 931
นางสาววิศัลย์ศยา หนูทวี เลขที่ 30 ห้อง 931 นางสาวสุวภัทร เพียรจงกล เลขที่ 33 ห้อง 931
บรรณานุกรม
ชงโค. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://www.sc.chula.ac.th/thaiplants/flowers/pdf/webFLOWER_Cae_Bauhin.pdf.
(วันที่ค้นข้อมูล: 21 พฤศจิกายน 2561)
ดอกมะเขือ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://sites.google.com/site/wayflower11/dxk-makheux. (วันที่ค้น
ข้อมูล: 21 พฤศจิกายน 2561)
ดอกไม้ (Flowers). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dnp.go.th/botany/BFC/flwer.htmlmakheux. (วันที่ค้น
ข้อมูล: 21 พฤศจิกายน 2561)
นายชรินทร์ เกษตรลักษมี. (2560 16 พ.ค.). [ออนไลน์].พืชวงศ์กล้วยไม้.
เข้าถึงได้จาก: http://biology.ipst.ac.th/?p=3350
(วันที่ค้นข้อมูล: 21 พฤศจิกายน 2561)
นายธนกร เชื้อทอง และคณะ.[ออนไลน์]. โครงสร้างของดอก.
เข้าถึงได้จาก: https://sites.google.com/site/suxsngserimkarreiynru/khna-phu-cad-tha. (วันที่ค้นข้อมูล: 21
พฤศจิกายน 2561)

More Related Content

What's hot

การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...dijchanokbunyaratave
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20marknoppajron
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....Z-class Puttichon
 
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมการศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมNarubordinPremsri
 
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652PattriyaTowanasutr
 
Minibook Bio
Minibook BioMinibook Bio
Minibook BioTitiratHu
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1Wichai Likitponrak
 
Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3JiradaAke
 
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652manidabhonsawanwong
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Maimai Pudit
 
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )lingkwankamon
 
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652HatsayaAnantepa
 
Minibook932Group10
Minibook932Group10Minibook932Group10
Minibook932Group10Don Tanadon
 

What's hot (20)

การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
การศึกษาโครงสร้างดอกอัญชัน บานเย็น เทียนหยด ม.5 ห้อง 656 กลุ่มที่ 8 โรงเรียนเ...
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
Bio 656 group4
Bio 656 group4Bio 656 group4
Bio 656 group4
 
Minibook bio 834 group 5
Minibook bio 834 group 5Minibook bio 834 group 5
Minibook bio 834 group 5
 
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ  จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
การศึกษาโครงสร้างดอกทานตะวัน ดอกบัวและดอกกุหลาบ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้น ม....
 
Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834Minibook group 8 m.5/834
Minibook group 8 m.5/834
 
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชมการศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
การศึกษาโครงสร้างดอกเข็ม มะลิ ชวนชม
 
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
Minibook โครงสร้างพืชดอก กลุ่ม10 ห้อง652
 
Minibook 931 2
Minibook 931 2Minibook 931 2
Minibook 931 2
 
Minibook Bio
Minibook BioMinibook Bio
Minibook Bio
 
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน110.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
10.โครงสรา้งและหน้าที่ของราก ลำต้น ใบ ตอน1
 
Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3
 
Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10
 
Minibook 2.931
Minibook 2.931Minibook 2.931
Minibook 2.931
 
Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1
 
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652
การศึกษาโครงสร้างของดอกบัวหลวง กล้วยไม้ และกุหลาบพวง กลุ่มที่5 ห้อง652
 
Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931 Plant structure group 9 room 931
Plant structure group 9 room 931
 
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
The structure of flowers(Minnieroot , morning glory , Frangipani )
 
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
ดอกลีลาวดี ดอกกุหลาบ และดอกชบา กลุ่ม1 ม.5 ห้อง 652
 
Minibook932Group10
Minibook932Group10Minibook932Group10
Minibook932Group10
 

Similar to Flowers by 931 group 3

โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดโครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดMint Jiratchaya
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องphairoa
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกKrupoonsawat
 
ต้นโมกบ้านเสร้จ
ต้นโมกบ้านเสร้จต้นโมกบ้านเสร้จ
ต้นโมกบ้านเสร้จnitchakan
 
งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222saifon147
 
จริยาพรJob8 ppt
จริยาพรJob8 pptจริยาพรJob8 ppt
จริยาพรJob8 pptangkhana
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNetAnana Anana
 
มะกอกเลือม
มะกอกเลือมมะกอกเลือม
มะกอกเลือมNamny Pattarada
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้dnavaroj
 

Similar to Flowers by 931 group 3 (20)

สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48
 
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดโครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้อง
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
 
องค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอกองค์ประกอบของดอก
องค์ประกอบของดอก
 
ต้นโมกบ้านเสร้จ
ต้นโมกบ้านเสร้จต้นโมกบ้านเสร้จ
ต้นโมกบ้านเสร้จ
 
01092008 Akey
01092008 Akey01092008 Akey
01092008 Akey
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 
งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 
จริยาพรJob8 ppt
จริยาพรJob8 pptจริยาพรJob8 ppt
จริยาพรJob8 ppt
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
ใบพืชNet
ใบพืชNetใบพืชNet
ใบพืชNet
 
มะกอกเลือม
มะกอกเลือมมะกอกเลือม
มะกอกเลือม
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้โครงสร้างของดอกไม้
โครงสร้างของดอกไม้
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 

Flowers by 931 group 3

  • 1. 1.1 ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 1.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 1 คือ ดอกกล้วยไม้ ชื่อวิทยาศาสตร์: Orchid วงศ์: Orchidaceae ชื่อสามัญ: Orchid ชื่อท้องถิ่น: เอื้อง ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นพืชใบเลี้ยงเดี่ยว มักนิยมนามาใช้ประดับ ทั่วโลกพบประมาณ 796 สกุล โดยในไทยพบ 167 สกุล ราก: เกิดที่โคนต้นหรือตามข้อ มีหน้าที่ยึด เกาะหรือช่วยสังเคราะห์ด้วยแสง มักมี เนื้อเยื่อสีขาวคล้ายฟองน้าเรียกว่า วีลา เมน (velamen) ห่อหุ้มไว้ ใบ: เป็นใบเดี่ยว เรียงแบบสลับ เรียงแบบ เวียน หรือบางชนิดมีใบเดียว และในบาง ชนิดใบอาจลดรูปไป ดอก: ดอกสมบูรณ์เพศ สมมาตรด้านข้าง ขณะที่ดอกกาลังเจริญก้านดอกและรังไข่ จะบิดตัวประมาณ 180 องศา (resupinate) ทาให้กลีบปากอยู่ด้านล่างของดอก ยกเว้นกล้วยไม้บางชนิดที่ก้านดอกและรังไข่ไม่บิดตัวโดยทั่วไปกล้วยไม้มี 6 กลีบ ประกอบด้วยกลีบเลี้ยง 3 กลีบ กลีบดอก 3 กลีบ และมีเส้าเกสร เป็นแท่งตรงกลาง ดอก เป็นส่วนรวมของเกสรเพศผู้และเพศเมีย (ยกเว้นในวงศ์ย่อย Apostasioideae ที่เกสรเพศผู้และเพศเมียแยกจากกัน) ที่ปลายเส้าเกสรมีกลุ่ม เรณู (pollinia) ซึ่งมีตั้งแต่ 2 ถึง 8 กลุ่ม ในบางสกุลกลุ่มเรณูจะมีกลุ่มเรณูย่อย ซึ่ง แต่ละสกุลจะมีความแตกต่างกัน และบางสกุลกลุ่มเรณูอาจจะมีก้านกลุ่มเรณูด้วย
  • 2. 1.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง 2.1ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ ชื่อวิทยาศาสตร์: Solanum melongena L ชื่อสามัญ: Thai Eggplant, Yellow berried nightshade, Kantakari ชื่ออื่น: มะเขือขัยคา มะเขือคางกบ มะเขือจาน มะเขือแจ้ มะเขือแจ้ดิน มะเขือดา (ภาคเหนือ), มะเขือหืน (ภาคอีสาน), มะเขือขื่น มะเขือเสวย (ภาคกลาง), เขือพา เขือหิน (ภาคใต้), มั่งคอเก (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), หวงกั่วเชี๋ย หวงสุ่ยเชี๋ย (จีนกลาง) เป็นต้น วงศ์: SOLANACEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: เป็นไม้พุ่ม ที่มี ความสูงของต้นประมาณ 2-4 ฟุต มีอายุได้ หลายฤดูกาล ใบ: ใบเดี่ยว เรียงสลับ ใบรูปไข่ถึงรูปขอบขนาน แกมรูปไข่ ดอก: ดอกเดี่ยว สีม่วงหรือขาว เกสรเพศผู้ 5 อัน เกสรเพศเมีย 1 อันอยู่ตรงกลางดอก ดอก มีกลิ่นหอมอ่อนๆ ออกดอกเป็นช่วงๆ ตลอดปี ผล: ผลมีเนื้อหลายเมล็ด รูปไข่ รูปขอบขนาน รูปไข่ กลับ รูปกึ่งทรงกลม ถึงรูปทรงกลม เกลี้ยง มีขนาด ใหญ่ ห้อยลง สีขาว เขียว เหลือง ม่วง ดา หรือปนกัน หลายสี การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 2 คือ ดอกมะเขือ
  • 3. 2.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก 2.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง อับเรณู anther ก้านชูอับเรณู filament ยอดเกสรเพศเมีย stigma รังไข่ Ovary ก้านยอดเกสรเพศเมีย style
  • 4. 3.1ลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ 3.2 องค์ประกอบโครงสร้างสาคัญของดอก ชื่อวิทยาศาสตร์: Bauhinia purpurea L. ชื่อสามัญ: Purple Orchid Tree, Hong Kong Orchid Tree, Purple Bauhinia ชื่ออื่น: เสี้ยวดอกแดง (ภาคเหนือ), เสี้ยวหวาน (แม่ฮ่องสอน) วงศ์: LEGUMINOSAE-CAESALPINIOIDEAE ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 เมตร ผลัดใบช่วงสั้นๆ ใบ: ใบเรียงสลับ ใบเดี่ยว รูปมนเกือบกลม กว้าง 8-10 ซม. ยาว 10-14 ซม. ปลายใบแยก เป็น 2 พู โคนใบมนหรือเว้า ขอบใบเรียบ สี เขียว ดอก: ดอกช่อออกตามซอกใบและปลายกิ่ง กลีบดอก 5 กลีบ สีชมพูถึงม่วงเข้ม รูปรีกว้าง ตรงส่วนกลาง เมื่อบานวัดเส้นผ่านศูนย์กลาง ได้ 6-8 ซม. เกสรเพศผู้ 5 อัน เกสรเพศเมีย 1 อันอยู่ตรงกลางดอก รังไข่มีขน ดอกมีกลิ่น หอมอ่อนๆ ออกดอกเป็นช่วงๆ ตลอดปี ผล: ผลเป็นฝักแบน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 20-25 ซม. เมื่อแก่แตกเป็นสองซีก เมล็ดกลม มี 10 เมล็ด อับเรณู anther ก้านชูอับเรณู filament ยอดเกสรเพศเมีย stigma วงกลีบเลี้ยง Calyx เกสรเพศผู้ stamen การศึกษาโครงสร้างดอกชนิดที่ 3 คือ ดอกชงโค
  • 6. 3.3 ตัวอย่างแห้งแสดงองค์ประกอบโครงสร้าง Clip video ประกอบการศึกษาโครงสร้างดอกของพืชตัวอย่าง 3 ชนิด Link youtube : https://www.youtube.com/watch?v=L2WZh--p4lM QR CODE :
  • 8. ภาคผนวก ครูผู้สอน : นายวิชัย ลิขิตพรรักษ์ ตาแหน่ง ครู คศ.1 สาขาชีววิทยา กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา คณะผู้จัดทา นางสาวดรุณี วงศ์ไทย เลขที่ 12 ห้อง 931 นางสาวพัชรีย์ เชาวน์ธนสิทธิ์ เลขที่ 22 ห้อง 931 นางสาววิศัลย์ศยา หนูทวี เลขที่ 30 ห้อง 931 นางสาวสุวภัทร เพียรจงกล เลขที่ 33 ห้อง 931
  • 9. บรรณานุกรม ชงโค. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.sc.chula.ac.th/thaiplants/flowers/pdf/webFLOWER_Cae_Bauhin.pdf. (วันที่ค้นข้อมูล: 21 พฤศจิกายน 2561) ดอกมะเขือ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: https://sites.google.com/site/wayflower11/dxk-makheux. (วันที่ค้น ข้อมูล: 21 พฤศจิกายน 2561) ดอกไม้ (Flowers). [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.dnp.go.th/botany/BFC/flwer.htmlmakheux. (วันที่ค้น ข้อมูล: 21 พฤศจิกายน 2561) นายชรินทร์ เกษตรลักษมี. (2560 16 พ.ค.). [ออนไลน์].พืชวงศ์กล้วยไม้. เข้าถึงได้จาก: http://biology.ipst.ac.th/?p=3350 (วันที่ค้นข้อมูล: 21 พฤศจิกายน 2561) นายธนกร เชื้อทอง และคณะ.[ออนไลน์]. โครงสร้างของดอก. เข้าถึงได้จาก: https://sites.google.com/site/suxsngserimkarreiynru/khna-phu-cad-tha. (วันที่ค้นข้อมูล: 21 พฤศจิกายน 2561)