SlideShare a Scribd company logo
1 of 26
Download to read offline
สืบค้นข้อมูลวงศ์พืช Apocynaceae (วงศ์ตีนเป็ด หรือ วงศ์ไม้ลั่นทม)
งานนาเสนอข้อมูลชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ชีววิยยา
ภาคเรียนยี่ 2 ปีการศึกษา 2560
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิยยา 5 ว30245 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสืบค้นหาข้อมูลพืชวงศ์Apocynaceae
โดยมีข้อมูลดังต่อไปนี้ ชื่อสามัญ ชื่อวิยยาศาสตร์ รูปภาพ ลักษณะยางพฤกษศาสตร์พอโดยสังเขป โดยรายงานชิ้นนี้จะ
สาเร็จลุล่วงไม่ได้หากไม่ได้รับการสนับสนุนจาก ครูวิชา ลิขิตพรรักษ์ ครูประจาวิชา ยี่คอยช่วยให้คาแนะนา ให้คาปรึกษา
และช่วยแก้ปัญหาตลอดการยางานชิ้นนี้ ขอขอบคุณผู้ปกครอง คุณครู ยี่คอยให้ความช่วยเหลือในด้านต่างๆเสมอมา ยาง
คณะผู้จัดยาจึงขอขอบคุณย่านยี่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ณ โอกาสนี้
คณะผู้จัดยา
คำนำ
สมำชิกกลุ่ม (กลุ่มที่ 10 ห้อง 144)
1. นาย นภนต์จารุวัฒนสกุล ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 31
2. นาย นัยยนัน เอ็มเอ็ม ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 33
3. นาย พีรภาส หาญณรงค์ ม.6 ห้อง144 เลขยี่ 36
4. นาย ศุภณัฐ ยวีถาวรสวัสดิ์ ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 37
สำรบัญ
หน้ำ
- ชวนชม 5
- โมกเครือ 7
- บำนบุรีม่วง 9
- พุดทุ่ง 11
- ยี่โถ 13
- แย้มปีนัง 15
- รำเพย 17
- โมกรำชินี 18
- ลั่นทมใบศร 19
- บำนบุรีเหลือง 20
- ทุ่งฟ้ำ 22
- หยั่งสมุทร 24
ชวนชม
 ชื่อวิทยำศำสตร์ (Scientific name) :Adenium obesum (Forssk.) Roem. & Schult.
 ชื่อเรียกอื่น :Other name(s) :ลั่นยมแดง ลั่นยมยะวา Mock azalea, Desert rose, Impala lily, Pink Bignonia
 ชื่อวงศ์ (Familyname) :APOCYNACEAE
 ลักษณะ :ไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงได้ถึง 1 เมตร ยุกส่วนมีน้ายางขาวโคนต้นมักอวบอ้วน ใบเดี่ยว เรียงสลับ
ออกเป็นกลุ่มยี่ยอด รูปหอกกลับ แผ่นใบหนา เป็นมัน โคนใบสอบ ปลายใบมน มีติ่งสั้น ขอบใบเรียบ ดอก
ออกเป็นช่อสั้นยี่ปลายกิ่ง กลีบดอก 5 กลีบ สีแดง ชมพู ขาวอมชมพูม่วง หรือขาว เชื่อมติดกันเป็นหลอด รูป
แตร ผลเป็นฝักคู่ รูปกระสวย แตกตะเข็บด้านเดียว เมล็ดแบน มีกระจุกขนสีขาว
นาย พีรภาส หาญณรงค์ ม.6 ห้อง144 เลขยี่ 36
วิธีกำรปลูกและดูแลรักษำ : ชวนชมชอบดินร่วนซุยหรือดินปนยราบระบายน้าได้ดี ต้องการน้าน้อยและแสงแดดจัด
ไม่ค่อยพบปัญหาเรื่องโรคและศุตรูพืช สามารถยนต่อความแห้งแล้ง
เพราะลาต้นอุ้มน้าได้ดีจึงได้รับสมญานามว่า"Desert Rose" หรือ "กุหลาบยะเลยราย" ขยายพันธุ์โดยการปักชา เพาะเมล็ดและเสียบยอด
ประโยชน์และเกร็ดควำมรู้ :ไม่พบสรรพคุณในยางยาเพราะยางของต้นชวนชมมีพิษ นิยมปลูกเพื่อใช้งานในด้านภูมิยัศน์มากกว่า
เนื่องจากเป็นไม่รูปยรงสวยสามารถปลูกลงกระถาง เป็นไม้ประธานในสวนหย่อม
ปลูกริมถนน ริมสระว่ายน้า หรือสวนกรวด ได้อย่างสวยงาม เพราะออกดอกตลอดปีและหลากสีสัน
โมกเครือ
ชิ่อวิทยำศำสตร์ :Scientific name : Aganosma marginata(Roxb.)G. Don
ชื่อเรียกอื่น :Other name(s) : เดื่อเครือ เดื่อดิน เดื่อเถา เดื่อไม้เดือยดิน เดือยดิบ มะเดื่อดิน พิษย่ายเดือยบิด ตะซือบลา
โก๊ะ มะเดื่อเถาไส้ตัน
ชื่อวงศ์ :Family name :APOCYNACEAE
ลักษณะ :ไม้เถาขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ยอดเลื้อยหรือเลื้อยพัน ยุกส่วนมีน้ายางขาว ใบเป็นใบเดี่ยว สีเขียว ผิวมัน
ออกเป็นคู่เรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 6.5-8.5 ซม. เส้นใบชัดเจน เชื่อมปิดยี่ขอบใบ
ดอกออกเป็นช่อยี่ปลายกิ่ง ดอกย่อยสีขาว ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. มีกลีบดอก 5 กลีรบ เรียงเวียนกัน
ผลเป็นฝักคู่เรียวกลม ยาว 30-50 ซม. เมล็ดสีน้าตาล มีขนสีขาว ปลิวตามลมได้ดี นาย พีรภาส หาญณรงค์ ม.6 ห้อง144 เลขยี่ 36
กำรกระจำยพันธุ์ :พบตั้งแต่อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงฟิลิปปินส์ ในประเยศไยยพบยั่วไปตามป่าผลัดใบ ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และชายป่าดงดิบ ยี่
ระดับความสูงใกล้ระดับน้ายะเล จนถึง 800 เมตร :
สรรพคุณ
ตารายาไยย เถา มีรสเฝื่อนฝาด ใช้ยาฝี แก้เมื่อยขบ แก้ผดผื่นคัน นามาผสมกับผลมะตูมอ่อน เถาสิงโต และว่านมหากาฬ ต้มน้าดื่มรักษาโรคเบาหวาน เข้ายา
รักษาประดง แก้พิษภายใน ราก ต้มดื่มแก้โรคยางเดินปัสสาวะ แก้ไตและตับพิการ บารุงกาลังตอนฟื้นไข้ช่วยเจริญอาหาร เป็นยาระบาย ขับระดู หรือผสมกับแก่น
ลั่นยม ต้มน้าดื่ม เป็นยาระบาย ยอด ใช้แก้ย้องเสีย ใบ แก้เมื่อยขบ เข้ายายารักษาฝี และริดสีดวงยวาร
ยาสมุนไพรพื้นบ้านจังหวัดอุบลราชธานี ใช้ราก ต้มน้าดื่ม แก้ตกขาว ถ่ายเป็นมูกเลือด เถา เข้ากับหัวข้าวเย็น ต้มน้าดื่ม สาหรับสตรีอยู่ไฟหลังคลอดบุตร ยอด
อ่อน ใบอ่อน นามาแกงหรือลวกจิ้มน้าพริก ใบสด ใช้รับประยานเป็นผักเครื่องเคียงกับอาหาร เช่น ลาบ ฯลฯ มีรสฝาดเล็กน้อย ผลอ่อน นามาแกงและผัด
ยาสมุนไพรพื้นบ้านจังหวัดอานาจเจริญ ใช้เถา ต้มน้าดื่มเป็นยาอายุวัฒนะ เป็นยาแก้โรคกระเพาะอาหาร ยอดใช้แกงอ่อม ยอดตากับมดแดงรับประยานแก้
ปวดย้องบิด
บำนบุรีม่วง
ชื่อวิทยำศำสตร์ Scientific name : Allamanda blanchetiiA. DC. , Allamanda violacea Gardn. & Field.
ชื่อเรียกอื่น Other name(s) :Purple Allamanda, Violet Allamanda บานบุรีสีกุหลาบ
ชื่อวงศ์ Family name :APOCYNACEAE
ลักษณะ :เป็นไม้เถา ชนิดกึ่งยืนต้นกึ่งเลื้อย หรืออาจเรียกเป็นเถาก็ได้ลาต้นมีความสูง 2-3 เมตร แต่กิ่งจะมีขนาดยาว
กว่า ลาต้น และกิ่งมีขนาดเล็ก มีเนื้อไม้แข็ง และเหนียว ยุกส่วนมียางสีขาว เถาสามารถเลื้อยไปได้ไกลมากกว่า 3
เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ขนาดกว้าง 4-4.5 เซนติเมตร ยาว 7-8 เซนติเมตร มีก้านใบยาว 2 มิลลิเมตร ใบมีลักษณะรี แต่
ค่อนข้างป้อม กว้างประมาณ 4-5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 7-8 เซนติเมตร โคนใบสอบ ปลายใบแหลมเล็ก แผ่นใบ
และขอบใบเรียบ มีขนปกคลุม ส่วนดอกออกเป็นช่อ 5-6 ดอก/ช่อ ดอกมีสีม่วง แต่ค่อนข้างจางกว่าและมีอมขาว
มากกว่าบานบุรีม่วง (Allamanda blanchetii) นาย พีรภาส หาญณรงค์ ม.6 ห้อง144 เลขยี่ 36
มีก้านช่อดอกยาว 1.5-2.5เซนติเมตร ดอกย่อยมีก้านดอกยาว 5-7 มิลลิเมตร ดอกตูมมีลักษณะคล้ายกับบานบุรีชนิดอื่น ขนาดดอกประมาณ 5-10 มิลลิเมตร ยาว
ประมาณ 5.5-6 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ ขนาดกว้าง 1.2-1.5เซนติเมตร ยาว 2-2.5 เซนติเมตร ดอกบานมีขนาด 8-11 เซนติเมตร กลีบดอกส่วนปลายมี 5 กลีบ
แต่ละกลีบมีลักษณะป้อม ขนาดกว้าง 4.5-5.5ยาว 3.5-4 เซนติเมตร
กำรกระจำยพันธุ์ : ถิ่นกาเนิด อเมริกาเขตร้อน ออกดอก ตลอดปี การปลูกเลี้ยง ดินร่วน แสงแดดจัดน้าปานกลาง ขยายพันธุ์ ปักชากิ่ง
ประโยชน์ : ไม้ดอกไม้ประดับ ดอกสีม่วงยางมีพิษ เป็นยาระบาย
พุดทุ่ง
 ชื่อสำมัญ: Holarrhena curtisiiKing & Gamble
 ชื่อท้องถิ่น: หัสคุณใหญ่ ถั่วหนู (สุราษฎร์ธานี);สรรพคุณ (สงขลา); หัสคุณเยศ (พังงา);โมกเกี้ย(สระบุรี); โมกเตี้ย (สระบุรี ภาคใต้);โมกนั่ง (ภาคเหนือ);
พุดน้า พุดป่า นมราชสีห์ นมเสือ น้านมเสือ พุดยอง พุดนา มูกน้อย มูกนิ่ง มูกนั่ง โมกน้อย
 ชื่อวิทยำศำสตร์: Holarrhena curtisiiKing et Gamble
 ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์: ไม้พุ่ม ขนาดเล็ก ลาต้นตั้งตรง สูงประมาณ 1-2 เมตร เปลือกสีเยา แตกเป็นสะเก็ด ลาต้นมีกิ่งก้านไม่มาก มีน้ายางสีขาวขุ่นเมื่อหัก
ตามลาต้น กิ่งก้านและใบ เปลือกต้นมีสีน้าตาลดา ก้านใบสั้น หรือไม่มี กลีบดอกสีขาวหนา ปลายแยกเป็น 5 กลีบ รูปไข่กลับถึงรูปรี กว้าง 4-8 มิลลิเมตร ยาว
1.2-2 เซนติเมตร ปลายกลม ผลเป็นฝักคู่ กลมยาว รูปคล้ายดาบ ปลายผลชี้ขึ้น ขนาดกว้าง 1.5-5 เซนติเมตร ยาว 7-30 เซนติเมตร แตกตะเข็บเดียว เมล็ดมีสี
น้าตาล มีกระจุกขนสีขาว คล้ายเส้นไหม ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด พบขึ้นยั่วไปบริเวณพื้นยี่ดินยราย ยุ่งหญ้า และป่าโปร่ง ป่าผลัดใบ ยี่มีแสงแดดจัดและยี่ร่ม
ราไร ออกดอกช่วงเดือนมกราคมถึงสิงหาคม
นาย นัยยนัน เอ็มเอ็ม ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 33
สรรพคุณของพุดทุ่ง
- ต้นและรากมีรสร้อน มีสรรพคุณเป็นยาขับลม ช่วยกระจายเลือดลม (ต้นและราก)
- รากใช้ผสมกับอ้อยดา และข้าวสารเจ้านามาแช่กับน้าดื่มแก้อาเจียน (ราก)
- รากใช้ต้มกับน้าดื่มเป็นยาแก้บิด ถ่ายเป็นมูกเลือด แก้ย้องเสีย (ราก)
- เปลือกและรากมีสรรพคุณเป็นยาแก้อาการย้องร่วง (เปลือกและราก)
- ใช้เป็นยาขับพยาธิ (ต้นและราก)
- รากพุดยุ่งใช้ผสมกับรากติ้วขน นามาต้มกับน้าดื่มเป็นยาแก้ผิดสาแดง (ราก)
- ตารายาไยยจะใช้ต้นและรากเป็นยาขับเลือดและหนองให้ตก (ต้นและราก)
- คนสงขลาจะเรียกพันธุ์ไม้ชนิดนี้ว่า “สับครุน” โดยหมอยาในแถบนั้นจะใช้ยางผสมกับน้ามะนาวแล้วนามาป้ายหัวฝียี่บวมเต็มยี่ เพื่อปิดหัวฝี ช่วยขับหนองและ
เลือดยี่เน่าเสียออก
ยี่โถ
ชื่อสำมัญ :Oleander, Fragrant oleander, Sweet Oleander, Rose Bay
ชื่อวิทยำศำสตร์ : Nerium oleander L.
ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์:
ยี่โถ เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ลาต้นมีความสูงประมาณ 2-5 เมตร ลาต้นแตกกิ่งน้อยมาก ยาให้มียรงพุ่มโปร่ง กิ่งมีลักษณะยาว ตั้งตรงขึ้น ลาต้น และกิ่งมีขนาดเล็ก
เปลือกลาต้นมีสีน้าตาล ส่วนเนื้อไม้เป็นไม้เนื้ออ่อน หากใช้มีดกรีดจะมียางสีขาวคล้ายน้านมไหลออกมา เป็นพืชใบเลี้ยงคู่ ใบแตกออกเดี่ยวๆใบมีลักษณะรียาว
คล้ายหอก แผ่นใบมีเส้นกลางใบสีเขียวอมขาวชัดเจน ดอกยี่โถแยงออกเป็นช่อตรงส่วนปลายของกิ่ง สีกลีบดอกมีหลายสีอายิ สีแดง สีขาว สีขาวอมชมพูสีชมพูอม
แดง ซึ่งเชื่อว่ามีการผสมข้ามสายพันธุ์ระหว่างสีแดงและสีขาว จนเกิดสีดอกผสมตามมา ถัดมาด้านในดอกจะเป็นเกสรตัวผู้มีมีก้านเกสรเป็นแผ่นสีเดียวกับสีกลีบ
ดอกเรียงล้อมเกสรตัวเมีย และรังไข่ ผลยี่โถ มีลักษณะคล้ายฝักถั่วเขียว มีลักษณะยรงกลม และรียาว ผลดิบมีสีเขียว ผลแผ่มีสีน้าตาล และเมื่อแก่จัดจะปริแตก
ออกเป็น 2 ซีก ภายในผลมีเมล็ดยรงกลมสีน้าตาลอมดาจานวนมาก
นาย นัยยนัน เอ็มเอ็ม ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 33
สรรพคุณและพิษของยี่โถ
 ยุกส่วนของยี่โถ ไม่นิยมใช้ยายา เพราะมีสารพิษโดยเฉพาะลาต้นและใบ มีน้ายางสีขาวยี่ประกอบด้วยสารพิษ
ในกลุ่ม cardiac glycosides ยี่ออกฤยธิ์ต่อการยางานของหัวใจ และระบบประสาย เมื่อรับประยานจะยาให้ มี
อาการปวดหัวคลื่นไส้อาเจียน สายตาพร่ามัว มองไม่ชัดเจน หูอื้ออึง กล้ามเนื้อหัวใจยางานผิดปกติ หัวใจเต้น
ช้าลง ชีพจรต่ากล้ามเนื้อหัวใจไม่บีบตัว หากไม่ได้รับการรักษาจะยาให้หัวใจหยุดเต้น และเสียชีวิตได้ง่าย
ในตารายาไยยโบราณ มีกล่าวถึงการใช้ยี่โถเป็นยาสมุนไพร แต่ยังไม่เด่นชัดถึงปริมาณการใช้นัก เพียงแต่กล่าวถึงให้
ใช้ในปริมาณน้อย หากใช้มากอาจยาให้เสียชีวิตได้ซึ่งยี่โถมีสรรพคุณในด้านต่างได้แก่
 ราก รักษากลากเกลื้อน
 เปลือก และลาต้น แก้โรคเรื้อน และแก้แผลพุพอง
 ใบ ช่วยบารุงหัวใจ
 ดอก บารุงหัวใจ กระตุ้นการเต้นของชีพ และแก้อาการปวดศีรษะ
 ผล และเมล็ด ช่วยขับปัสสาวะและบารุงหัวใจ
แย้มปีนัง
ชื่อสำมัญ: ClimbingOleander, Cream Fruit, Poison Arrowvine, Spider-Tresses
ชื่อวิทยำศำสตร์: Strophanthus gratus (Wall. & Hook.) Baill.
ลักษณะของแย้มปีนัง
ต้นแย้มปีนัง จัดเป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็กถึงขนาดกลาง แตกกิ่งก้านจานวนมากเป็นพุ่มแน่นยึบ ลาต้นมีลักษณะตั้งตรงมีความสูงได้ประมาณ 3-4 เมตร ยุกส่วนของต้น
มียางสีขาว ชอบดินร่วน ระบายน้าได้ดี ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้าม ลักษณะของใบเป็นรูปรีแกมรูปขอบขนาน ปลายใบเรียวแหลมและมีติ่ง โคนใบสอบ ส่วนขอบ
ใบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนังผิวใบด้านบนเป็นสีเขียวเข้มเป็นมัน ส่วนย้องใบเป็นสีเขียวปนม่วง ออกดอกเป็นช่อแบบช่อกระจุกยี่ปลายกิ่ง ช่อละประมาณ 5-20
ดอก ดอกเป็นสีชาวอมม่วงชมพูมีกลิ่นหอม ดอกมีลักษณะเป็นรูปแตร โคนกลีบดอกเป็นหลอดคล้ายรูประฆัง ปลายแยกออกเป็นแฉก 5 แฉก ขอบแฉกมีลักษณะบิดโค้ง
เป็นรอยจีบ หรือหยักหว้า มีรยางค์เป็นเส้นสีม่วงเข้มออกมารอบปากหลอด ผลแห้งเป็นฝักคู่ติดกัน ลักษณะของผลเป็นรูปเรียวยาว มีความยาวประมาณ 40-45 เซนติเมตร
เมื่อผลแก่จะแตกออกเป็นแนวเดียวภายในมีเมล็ดสีน้าตาลจานวนมาก ซึ่งแต่ละเมล็ดจะมีขนกระจุกขาวติดอยู่ตรงส่วนปลายเมล็ดด้านหนึ่ง
นาย นัยยนัน เอ็มเอ็ม ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 33
สรรพคุณของแย้มปีนัง
เมล็ดแย้มปีนังมีสารยี่ออกฤยธิ์กระตุ้นหัวใจชื่อว่า “ออเบน” (ouabian) ซึ่งในบางประเยศในยุโรปจะนาไปยาเป็นยาฉีดรักษาโรคหัวใจ (เมล็ด)
ตารายาพื้นบ้านจะใช้เมล็ดเป็นยารักษาโรคหนองใน (เมล็ด)
หัวมีสรรพคุณเป็นยาขับลม แก้อาการจุกเสียด ภูมิแพ้ลดความดันโลหิตสูง (หัว)
ข้อควรระวัง : เมล็ดมีความเป็นพิษสูง (ต้องนามาสกัดก่อนนาไปใช้) ห้ามนามารับประยาน หากได้รับพิษจะมีอาการคลื่นไส้ ย้องเสีย หัวใจเต้นเร็วและแรง ต้องรีบยาให้
อาเจียน แล้วรีบนาส่งโรงพยาบาลในยันยี ส่วนอีกข้อมูลระบุว่า เมล็ดและยางจากเปลือกมีความเป็นพิษ ห้ามรับประยาน หากเคี้ยวหรือกลืนส่วนยี่เป็นพิษเข้าไปจะยาให้
เกิดอาการอาเจียน ย้องเสีย ปวดศีรษะ มึนงง มองเห็นไม่ชัด หัวใจช้าหรือไม่สม่าเสมอ ความดันโลหิตลดลง และอาจยาให้ถึงตายได้
รำเพย
ชื่อวิทยำศำสตร์ (Scientific name) :Thevetia peruviana (Pers.) Schum.
ชื่อเรียกอื่น :(Other name(s)) : กระบอก กะยอก ยี่โถฝรั่ง ราพน
ชื่อวงศ์ (Familyname) : APOCYNACEAE
ลักษณะ(Characteristics) : ไม้พุ่ม สูง 2-4 เมตร ยุกส่วนมีน้ายางขาว ใบเดี่ยว เรียงสลับถี่ รูปขอบขนานแคบ แผ่นใบหนา เป็นมัน โคนใบสอบ ปลายใบมน ขอบใบเรียบ
ดอกออกเป็นช่อยี่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีเขียว กลีบดอก 5 กลีบ สีเหลือง ส้ม หรือขาว เชื่อมติดกันเป็นหลอด รูปกรวย ขอบกลีบเป็นคลื่น ผลเป็นผลสด ยรงกลม มี
สัน สีเขียว
กำรกระจำยพันธุ์ (Distribution): ถิ่นกาเนิดอยู่ในอเมริกาเขตร้อน ออกดอกตลอดปี ปลูกเลี้ยงได้ในดินยุกประเภย แสงแดดจัด ยนแล้ง น้าปานกลางถึงน้อย ขยายพันธุ์
โดยการเพาะเมล็ดและการปักชากิ่ง
ประโยชน์ (Uses and Utilization) : ปลูกเป็นไม้ประดับ
นาย นภนต์ จารุวัฒนสกุล ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 31
โมกรำชินี
ชื่อวิทยำศำสตร์ (Scientific name) :Wrightia sirikitiae D.J. Middleton& Santisuk
ชื่อเรียกอื่น :(Other name(s)) : -
ชื่อวงศ์ (Familyname) : APOCYNACEAE
ลักษณะ(Characteristics) : ไม้ต้น สูงได้ถึง 6 เมตร มีน้ายางขาว กิ่งอ่อนมีแผล ระบายอากาศยั่วไป ใบ เดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 2-5 ซม. ยาว 3-
9 ซม. ปลายใบแหลม ผิวใบด้านล่างมีขนปราย ยั่วไป ดอก สีขาว ออกเป็นช่อจากปลายยอด มี 2-8 ดอก ขนาดบานเต็มยี่กว้าง 4-5.5 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ รูปขอบขนาน
ปลายมน เกสรผู้5 อัน เป็นมัดยอดแหลมอยู่กลางดอก เกสรผู้ยี่เป็นหมันมีจานวนมาก แตกเป็นวงรัศมีรอบฐานดอก ผล เป็นฝักคู่ สีน้าตาล รูปขอบขนานส่วนปลายโค้ง
และกว้างกว่าส่วนโคน ยาว 8.5-14ซม. ผิวมีแผลระบายอากาศ แก่แล้วแตกตามยาว เมล็ด แบนรี ยาว 1.5-3 ซม.
กำรกระจำยพันธุ์ (Distribution): เป็นพืชถิ่นเดียวของประเยศไยย พบเฉพาะยี่อาเภอพระพุยธบาย จังหวัดสระบุรี ขึ้นอยู่บนรอยแตกบนเขาหินปูน
ประโยชน์ (Uses and Utilization) : ปลูกเป็นไม้ประดับและไม้มงคล
แหล่งอ้ำงอิง (Reference (s)) :หนังสือพรรณไม้สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เล่ม 7 หน้า 25, Thai Forest Bulletin(Botany) No.29 Page 1-10
นาย นภนต์ จารุวัฒนสกุล ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 31
ลั่นทมใบศร
ชื่อวิทยำศำสตร์ (Scientific name) :Plumeria pudica Jacq.
ชื่อเรียกอื่น :(Other name(s)) : Bridal Bouquet,Fiddle leaf Plumeria
ชื่อวงศ์ (Familyname) : APOCYNACEAE
ลักษณะ(Characteristics) : ไม้พุ่ม สูง 2-4 เมตร ยุกส่วนมีน้ายางขาว ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนาน ปลายโค้งป้าน
ออกเป็นสามเหลี่ยมคล้ายหัวลูกศร แผ่นใบหนา เป็นมัน โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ ดอกออกเป็นช่อยี่ปลายกิ่ง มีกลิ่นหอม
อ่อน กลีบดอก 5 กลีบ สีขาว เชื่อมติดกันเป็นหลอด รูปกรวย ปากหลอดด้านในสีเหลือง
กำรกระจำยพันธุ์ (Distribution): ถิ่นกาเนิดอยู่ในอเมริกาเขตร้อน (ปานามา โคลัมเบีย เวเนซุเอลา) ออกดอก ตลอดปี
ปลูกเลี้ยงได้ในดินยุกประเภย แสงแดดจัด น้าปานกลางถึงน้อย ขยายพันธุ์โดยการปักชากิ่ง
ประโยชน์ (Uses and Utilization) :ช่วยรักษาไข้หวัด (ราก)
ใช้ปรุงเป็นยาแก้ไอ (เนื้อไม้)
ช่วยถ่ายเสมหะและโลหิต (ยางและแก่น)
ช่วยขับเหงื่อ แก้ร้อนใน (ราก)
ช่วยรักษาโรคหืดหอบ ด้วยการใช้ใบลีลาวดีแห้งนามาชงกับน้าร้อนดื่ม
ปลูกเป็นไม้ประดับ
แหล่งอ้ำงอิง (Reference (s)) : หนังสือพรรณไม้ต่างประยศ
นาย นภนต์ จารุวัฒนสกุล ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 31
บำนบุรีเหลือง
ชื่อสำมัญ :Allamanda, Common allamanda, Golden trumpet, Golden trumpet vine, Yellow bell
ชื่อวิทยำศำสตร์: Allamanda cathartica L. จัดอยู่ในวงศ์ตีนเป็ด (APOCYNACEAE)
ชื่อวงศ์ : APOCYNACEAE
ลักษณะต้นบำนบุรี
ต้นบานบุรี จัดเป็นพรรณไม้พุ่มกึ่งเลื้อย หรือเป็นไม้เถาอาศัยต้นไม้อื่นเพื่อพยุงตัวขึ้นไป ลาต้นหรือเถามีลักษณะกลมเรียบและเป็นสีน้าตาล ยุกส่วนของต้นมียางสีขาวข้น
ลาต้นไม่มีขน ลาต้นมีความสูงประมาณ 2-4.5 เมตร ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการปักชา การตอน และการเพาะเมล็ด ชอบน้าปานกลาง เจริญเติบโตได้ดีในดินยี่ร่วนซุยหรือดิน
ร่วนปนยราย ปลูกเลี้ยงได้ง่าย เติบโตเร็ว ยนความแล้งและดินเค็มได้ดี มักขึ้นกลางแจ้ง ชอบแสงแดดแบบเต็มวัน แต่อยู่ได้ยั้งในยี่ร่มราไรและยี่มีแสงแดดจัด โดยพรรณ
ไม้ชนิดนี้มีถิ่นกาเนิดอยู่ในประเยศบราซิลและอเมริกาเขตร้อน และจะมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด ในแต่ละชนิดก็จะมีสีของดอกยี่แตกต่างกันออกไป
นาย ศุภณัฐ ยวีถาวรสวัสดิ์ ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 37
สรรพคุณของบำนบุรีเหลือง
-ใบมีสรรพคุณยาให้อาเจียน (ใบ)
-ช่วยแก้อาการจุกเสียด (ใบ)
-ใบมีรสเมาร้อน ใช้เป็นยาถ่าย ยาระบาย ยาให้กล้ามเนื้อของลาไส้หดเกร็ง (ใบ)
-เปลือกและยาง มีรสเมาร้อน ใช้ปริมาณน้อยมีฤยธิ์เป็นยาถ่าย ช่วยขับน้าดี ถ้าใช้ในปริมาณมากจะเป็นพิษต่อหัวใจ และยาให้เกิดอาการ--ย้องเสียได้(เปลือกและยาง)
ข้อมูลทำงเภสัชวิทยำของบำนบุรีเหลือง
สมุนไพรบานบุรีเหลือง มีฤยธิ์ยับยั้งการเกาะกลุ่มของเซลล์ ช่วยต้านเชื้อแบคยีเรียและเชื้อรา และต้านเนื้องอก แต่ฤยธิ์ดังกล่าวยังต้องมีการศึกษาวิจัยต่อไป
ประโยชน์ของบำนบุรีเหลือง
ใช้ปลูกเป็นไม้ประดับตามสวน ริมถนน ริมยะเล ตามยางเดิน หรือปลูกคลุมดิน สามารถตัดแต่งให้เป็นยรงพุ่มได้อีกยั้งยังมีดอกยี่สวยงาม สามารถออกดอกได้ตลอดยั้งปี
โดยเฉพาะในช่วงฤดูร้อนจะออกดอกดกมากเป็นพิเศษ
ทุ่งฟ้ำ
ชื่อสำมัญ: มีชื่อย้องถิ่นอื่น ๆ ว่า กระยุ้งฟ้าไห้ยุ้งฟ้าไก้(ชุมพร), ตีนเยียน (สงขลา), พวมพร้าว (ปัตตานี) เป็นต้น
ชื่อวิทยำศำสตร์: Alstonia macrophylla
ชื่อวงศ์ : APOCYNACEAE
ลักษณะของทุ้งฟ้ำ
ต้นยุ้งฟ้า จัดเป็นไม้ยืนต้นไม่ผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ยี่มีความสูงได้ประมาณ 15-25 เมตร เรือนยอดเป็นรูปไข่แกมรูปกรวยแหลม ค่อนข้างโปร่ง ลาต้นมี
ลักษณะเปลาตรง กิ่งใหญ่ตั้งฉากกับลาต้นเป็นวงรอบ โคนต้นเป็นพูพอน เปลือกต้นเรียบเป็นสีขาวอมเยาหรือสีเยาอ่อน มีรูระบายอากาศยั่วไป เปลือกต้นเมื่อสับดูจะมี
น้ายางสีขาวเหนียว ๆ ซึมออกมา ส่วนเนื้อไม้มีสีค่อนข้างเหลือง เมื่อยิ้งไว้นาน ๆ จะเป็นสีน้าตาลแกมเหลือง เสี้ยนไม้ตรง เนื้อไม้มีความละเอียดปานกลางและสม่าเสมอ
แข็ง เลื่อย ไสกบ และตกแต่งได้ง่าย ผึ่งแห้งได้ดี มีความถ่วงจาเพาะประมาณ 0.54 ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด เจริญเติบโตได้ดีในดินยี่ลึกและมีการระบายน้าได้ดี
หรือในสภาพระบบวนเกษตร และควรปลูกในช่วงประมาณต้นฤดูชน เพื่อให้กล้าไม้มีเวลาตั้งตัว และระบบรากเจริญยึดดินได้ดีก่อนสิ้นฤดูฝน ซึ่งจะช่วยยาให้กล้าไม้
สามารถรอดตายได้ตลอดฤดูแล้ง สามารถพบขึ้นได้ยั่วไปในป่าดงดิบและบนพื้นยี่ป่าเสื่อมโยรมหรือพื้นยี่ยี่เคยถูกแผ้วถางมาก่อนยางภาคใต้ของประเยศไยย ซึ่ง
บริเวณนี้จะมีปริมาณของน้าฝนตกชุกและมีความชุ่มชื้นมาก นอกจากนี้ในต่างประเยศยังพบขึ้นกระจายในอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้นิวกินี พม่า และมาเลเซียอีก
ด้วย
นาย ศุภณัฐ ยวีถาวรสวัสดิ์ ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 37
สรรพคุณของทุ้งฟ้ำ
-ตารายาไยยจะใช้เปลือกต้นเป็นยาบารุงกาลัง (เปลือกต้น) ส่วนอีกข้อมูลระบุว่าให้ใช้รากผสมยารับประยานบารุง
ร่างกาย บารุงกาลัง (ราก)
-เปลือกต้นใช้เป็นยาบารุง แก้ไข้รักษาไข้ป่าหรือโรคมาลาเรีย (เปลือกต้น)
-ใช้เป็นยาแก้บิด (เปลือกต้น)
-ช่วยขับระดูของสตรี (เปลือกต้น)
-เปลือกต้นมีสรรพคุณเป็นยาบารุงกาหนัด (เปลือกต้น) ส่วนอีกข้อมูลระบุว่า ให้ใช้รากเป็นยาบารุงกาหนัด (ราก)
-เปลือกต้นใช้เป็นยารักษาบาดแผล (เปลือกต้น)
-ใบนามาตาผสมกับน้ามันมะพร้าวยาให้ร้อน ใช้เป็นยาพอกแก้ข้อต่อเคลื่อน (ใบ)
ข้อมูลทำงเภสัชวิทยำของทุ้งฟ้ำ
จากการยดลองในสัตว์พบว่าสารสกัดจากเปลือกต้นและใบยุ้งฟ้ามีฤยธิ์ลดความดันโลหิต
ประโยชน์ของทุ้งฟ้ำ
ไม้ยุ้งฟ้าเป็นไม้ยี่มีคุณค่ามากชนิดหนึ่ง มีอัตราการเจริญเติบโตค่อนข้างดี เนื้อไม้ละเอียด เสี้ยนไม้ตรง สีเหลืองอ่อน
และมีเปลือกบาง นิยมนามาใช้ยากระดานพื้น ฝา หีบ ลังใส่ของ เครื่องเรือน เครื่องใช้เบา ๆ รองเย้าไม้แจว พาย
กรรเชียง และยังเหมาะสาหรับยี่จะนาไปปอกหรือฝานยาไม้บางเพื่อยาส่วนผิวหน้าของไม้อัด
ยุ้งฟ้าเป็นไม้โตเร็วชนิดหนึ่งยี่มีอัตราการเจริญเติบโตอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างดี มีอัตราการเจริญเติบโตยางความสูง
มากกว่า 1 เมตรต่อปี และมีอัตราเพิ่มพูนยางขนาดความโตของเส้นรอบวงโดยเฉลี่ยไม่ต่ากว่าปีละ 5 เซนติเมตร จึงมี
ประโยชน์ในเชิงอนุรักษ์ต้นน้าลาธารในภาคใต้ได้เนื่องจากต้นยุ้งฟ้าในธรรมชาติจะขึ้นอยู่ในบริเวณป่าเสื่อมโยรม จึง
เป็นไม้ยี่ได้รับการสนับสนุนให้นามาปลูกในบริเวณต้นน้าลาธารยี่ถูกแผ้วถางยาลาย เนื่องจากเป็นไม้ยี่เจริญเติบโต
เร็ว
หยั่งสมุทร
ชื่อวิทยำศำสตร์ :Amalocalyx microlobus Pierre ex Spire
ชื่อเรียกอื่น :เครือกิ่วคา เครือข้าวนึ่ง แตงเถื่อน มะจินดา ส้มจี ส้มป่อง ส้มเสี้ยน
ชื่อวงศ์ : APOCYNACEAE
ลักษณะของต้นหยั่งสมุทร
ไม้เถา ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกตามข้ามกันเป็นคู่ ๆ รูปมนแผ่ กว้าง 8-18 ซม. ยาว 10-19 ซม.โคนใบหยักเว้าปลายใบสอบ ปลายสุกมักคอดเป็นติ่ง ด้านย้องงใบมีขนนุ่ม
หนาแน่น ส่วนหลังมีขนประปราย ก้านใบยาว 1-4 ซม. ดอก ออกเป็นช่อตามง่ามใบ กลีบรองกลีบดอก 5 กลีบมีขนนุ่ม กลีบดอกสีชมพู ติดกันเป็นถ้วยยาวปลายแฉกเป็น
5 แฉกตื้น ๆ เกสรผู้5 อันติดอยู่กับผนังดอกด้านใน ผล เป็นฝักแข็ง ๆ รูปกรวยแหลม กว้าง 2-3 ซม. ยาว 8-10 ซม. มีขนยาว ๆ คลุมแน่น ภายในมีเมล็ดเล็ก ๆ จานวนมาก
ปลายเมล็ดมีขนยาว ๆ ติดเป็นกระจุก
นาย ศุภณัฐ ยวีถาวรสวัสดิ์ ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 37
สรรพคุณของต้นหยั่งสมุทร
- ดอกและผล นามาจิ้มเกลือหรือน้าปลา มีรสเปรี้ยว(ลั้วะ)
ผล นามาฝานเป็นแว่นๆใส่น้าพริกหรือแกงเพื่อเพิ่มรสเปรี้ยว, ดอก รับประยานได้มีรสเปรี้ยว(ขมุ)
ผลอ่อน นามาจิ้มเกลือรับประยานได้(ไยลื้อ)
- เส้นใยจากลาต้นและเนื้อไม้จากเครือแก่ ใช้สานตาข่ายจับปลา(ในสมัยก่อน)(คนเมือง)
กำรกระจำยพันธุ์
พบขึ้นตามชายป่าดิบ และป่าเบญจพรรณชื้นยั่วไป ออกดอกเดือนมิถุนายน-กันยายน
ประโยชน์
ปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ
บรรณำนุกรม
http://www.qsbg.org/Database/BOTANIC_Book%20full%20option/
https://th.wikipedia.org/wiki/ต้นไม้_(โครงสร้ำงข้อมูล)
http://botanykuszone1.weebly.com/35863657362936173641362136053657360936523
https://sites.google.com/site/khorngsrangkhxmullaeakhantxn/khorngsrang-baeb-tnmi
http://oknation.nationtv.tv/blog/pim/2007/02/14/entry-2

More Related Content

What's hot (20)

Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3Plant ser 143_60_3
Plant ser 143_60_3
 
Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6
 
Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
 
Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2
 
Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7Plant ser 143_60_7
Plant ser 143_60_7
 
Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1Plant ser 125_60_1
Plant ser 125_60_1
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10Plant ser 143_60_10
Plant ser 143_60_10
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Biomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxoBiomapcontest2014 xoxo
Biomapcontest2014 xoxo
 
Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3Plant ser 77_60_3
Plant ser 77_60_3
 

Similar to Plant ser 144_60_10

โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบโครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบLatcha MaMiew
 
พืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรพืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรkrittiyanee16
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยsasimaphon2539
 
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรคหญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรคหญ้าปักกิ่ง จตุกา
 

Similar to Plant ser 144_60_10 (19)

Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
 
Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7
 
Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4Plant ser 126_60_4
Plant ser 126_60_4
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบโครงงานเรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
โครงงาน เรื่องการศึกษาสรรพคุณและประโยชน์ของต้นตะขบ
 
Herbarium
HerbariumHerbarium
Herbarium
 
931 pre12
931 pre12931 pre12
931 pre12
 
พืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรพืชสมุนไพร
พืชสมุนไพร
 
สมุนไพร
สมุนไพรสมุนไพร
สมุนไพร
 
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมดโครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
โครงงานสมุนไพรพื้นบ้านตะโหมด
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5Plant ser 125_60_5
Plant ser 125_60_5
 
กลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดา
กลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดากลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดา
กลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดา
 
File
FileFile
File
 
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุสำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
สำรวจสมุนไพรในโรงเรียนวัดคลองครุ
 
Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8
 
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรคหญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
หญ้าปักกิ่ง สมุนไพรรักษาสารพัดโรค
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant ser 144_60_10

  • 1. สืบค้นข้อมูลวงศ์พืช Apocynaceae (วงศ์ตีนเป็ด หรือ วงศ์ไม้ลั่นทม) งานนาเสนอข้อมูลชิ้นนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ชีววิยยา ภาคเรียนยี่ 2 ปีการศึกษา 2560 โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
  • 2. รายงานนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิยยา 5 ว30245 โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อสืบค้นหาข้อมูลพืชวงศ์Apocynaceae โดยมีข้อมูลดังต่อไปนี้ ชื่อสามัญ ชื่อวิยยาศาสตร์ รูปภาพ ลักษณะยางพฤกษศาสตร์พอโดยสังเขป โดยรายงานชิ้นนี้จะ สาเร็จลุล่วงไม่ได้หากไม่ได้รับการสนับสนุนจาก ครูวิชา ลิขิตพรรักษ์ ครูประจาวิชา ยี่คอยช่วยให้คาแนะนา ให้คาปรึกษา และช่วยแก้ปัญหาตลอดการยางานชิ้นนี้ ขอขอบคุณผู้ปกครอง คุณครู ยี่คอยให้ความช่วยเหลือในด้านต่างๆเสมอมา ยาง คณะผู้จัดยาจึงขอขอบคุณย่านยี่มีส่วนเกี่ยวข้องไว้ณ โอกาสนี้ คณะผู้จัดยา คำนำ
  • 3. สมำชิกกลุ่ม (กลุ่มที่ 10 ห้อง 144) 1. นาย นภนต์จารุวัฒนสกุล ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 31 2. นาย นัยยนัน เอ็มเอ็ม ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 33 3. นาย พีรภาส หาญณรงค์ ม.6 ห้อง144 เลขยี่ 36 4. นาย ศุภณัฐ ยวีถาวรสวัสดิ์ ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 37
  • 4. สำรบัญ หน้ำ - ชวนชม 5 - โมกเครือ 7 - บำนบุรีม่วง 9 - พุดทุ่ง 11 - ยี่โถ 13 - แย้มปีนัง 15 - รำเพย 17 - โมกรำชินี 18 - ลั่นทมใบศร 19 - บำนบุรีเหลือง 20 - ทุ่งฟ้ำ 22 - หยั่งสมุทร 24
  • 5. ชวนชม  ชื่อวิทยำศำสตร์ (Scientific name) :Adenium obesum (Forssk.) Roem. & Schult.  ชื่อเรียกอื่น :Other name(s) :ลั่นยมแดง ลั่นยมยะวา Mock azalea, Desert rose, Impala lily, Pink Bignonia  ชื่อวงศ์ (Familyname) :APOCYNACEAE  ลักษณะ :ไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงได้ถึง 1 เมตร ยุกส่วนมีน้ายางขาวโคนต้นมักอวบอ้วน ใบเดี่ยว เรียงสลับ ออกเป็นกลุ่มยี่ยอด รูปหอกกลับ แผ่นใบหนา เป็นมัน โคนใบสอบ ปลายใบมน มีติ่งสั้น ขอบใบเรียบ ดอก ออกเป็นช่อสั้นยี่ปลายกิ่ง กลีบดอก 5 กลีบ สีแดง ชมพู ขาวอมชมพูม่วง หรือขาว เชื่อมติดกันเป็นหลอด รูป แตร ผลเป็นฝักคู่ รูปกระสวย แตกตะเข็บด้านเดียว เมล็ดแบน มีกระจุกขนสีขาว นาย พีรภาส หาญณรงค์ ม.6 ห้อง144 เลขยี่ 36
  • 6. วิธีกำรปลูกและดูแลรักษำ : ชวนชมชอบดินร่วนซุยหรือดินปนยราบระบายน้าได้ดี ต้องการน้าน้อยและแสงแดดจัด ไม่ค่อยพบปัญหาเรื่องโรคและศุตรูพืช สามารถยนต่อความแห้งแล้ง เพราะลาต้นอุ้มน้าได้ดีจึงได้รับสมญานามว่า"Desert Rose" หรือ "กุหลาบยะเลยราย" ขยายพันธุ์โดยการปักชา เพาะเมล็ดและเสียบยอด ประโยชน์และเกร็ดควำมรู้ :ไม่พบสรรพคุณในยางยาเพราะยางของต้นชวนชมมีพิษ นิยมปลูกเพื่อใช้งานในด้านภูมิยัศน์มากกว่า เนื่องจากเป็นไม่รูปยรงสวยสามารถปลูกลงกระถาง เป็นไม้ประธานในสวนหย่อม ปลูกริมถนน ริมสระว่ายน้า หรือสวนกรวด ได้อย่างสวยงาม เพราะออกดอกตลอดปีและหลากสีสัน
  • 7. โมกเครือ ชิ่อวิทยำศำสตร์ :Scientific name : Aganosma marginata(Roxb.)G. Don ชื่อเรียกอื่น :Other name(s) : เดื่อเครือ เดื่อดิน เดื่อเถา เดื่อไม้เดือยดิน เดือยดิบ มะเดื่อดิน พิษย่ายเดือยบิด ตะซือบลา โก๊ะ มะเดื่อเถาไส้ตัน ชื่อวงศ์ :Family name :APOCYNACEAE ลักษณะ :ไม้เถาขนาดเล็กถึงขนาดกลาง ยอดเลื้อยหรือเลื้อยพัน ยุกส่วนมีน้ายางขาว ใบเป็นใบเดี่ยว สีเขียว ผิวมัน ออกเป็นคู่เรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน กว้าง 1.5-2.5 ซม. ยาว 6.5-8.5 ซม. เส้นใบชัดเจน เชื่อมปิดยี่ขอบใบ ดอกออกเป็นช่อยี่ปลายกิ่ง ดอกย่อยสีขาว ขนาดผ่าศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. มีกลีบดอก 5 กลีรบ เรียงเวียนกัน ผลเป็นฝักคู่เรียวกลม ยาว 30-50 ซม. เมล็ดสีน้าตาล มีขนสีขาว ปลิวตามลมได้ดี นาย พีรภาส หาญณรงค์ ม.6 ห้อง144 เลขยี่ 36
  • 8. กำรกระจำยพันธุ์ :พบตั้งแต่อินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้จนถึงฟิลิปปินส์ ในประเยศไยยพบยั่วไปตามป่าผลัดใบ ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และชายป่าดงดิบ ยี่ ระดับความสูงใกล้ระดับน้ายะเล จนถึง 800 เมตร : สรรพคุณ ตารายาไยย เถา มีรสเฝื่อนฝาด ใช้ยาฝี แก้เมื่อยขบ แก้ผดผื่นคัน นามาผสมกับผลมะตูมอ่อน เถาสิงโต และว่านมหากาฬ ต้มน้าดื่มรักษาโรคเบาหวาน เข้ายา รักษาประดง แก้พิษภายใน ราก ต้มดื่มแก้โรคยางเดินปัสสาวะ แก้ไตและตับพิการ บารุงกาลังตอนฟื้นไข้ช่วยเจริญอาหาร เป็นยาระบาย ขับระดู หรือผสมกับแก่น ลั่นยม ต้มน้าดื่ม เป็นยาระบาย ยอด ใช้แก้ย้องเสีย ใบ แก้เมื่อยขบ เข้ายายารักษาฝี และริดสีดวงยวาร ยาสมุนไพรพื้นบ้านจังหวัดอุบลราชธานี ใช้ราก ต้มน้าดื่ม แก้ตกขาว ถ่ายเป็นมูกเลือด เถา เข้ากับหัวข้าวเย็น ต้มน้าดื่ม สาหรับสตรีอยู่ไฟหลังคลอดบุตร ยอด อ่อน ใบอ่อน นามาแกงหรือลวกจิ้มน้าพริก ใบสด ใช้รับประยานเป็นผักเครื่องเคียงกับอาหาร เช่น ลาบ ฯลฯ มีรสฝาดเล็กน้อย ผลอ่อน นามาแกงและผัด ยาสมุนไพรพื้นบ้านจังหวัดอานาจเจริญ ใช้เถา ต้มน้าดื่มเป็นยาอายุวัฒนะ เป็นยาแก้โรคกระเพาะอาหาร ยอดใช้แกงอ่อม ยอดตากับมดแดงรับประยานแก้ ปวดย้องบิด
  • 9. บำนบุรีม่วง ชื่อวิทยำศำสตร์ Scientific name : Allamanda blanchetiiA. DC. , Allamanda violacea Gardn. & Field. ชื่อเรียกอื่น Other name(s) :Purple Allamanda, Violet Allamanda บานบุรีสีกุหลาบ ชื่อวงศ์ Family name :APOCYNACEAE ลักษณะ :เป็นไม้เถา ชนิดกึ่งยืนต้นกึ่งเลื้อย หรืออาจเรียกเป็นเถาก็ได้ลาต้นมีความสูง 2-3 เมตร แต่กิ่งจะมีขนาดยาว กว่า ลาต้น และกิ่งมีขนาดเล็ก มีเนื้อไม้แข็ง และเหนียว ยุกส่วนมียางสีขาว เถาสามารถเลื้อยไปได้ไกลมากกว่า 3 เมตร ใบเป็นใบเดี่ยว ขนาดกว้าง 4-4.5 เซนติเมตร ยาว 7-8 เซนติเมตร มีก้านใบยาว 2 มิลลิเมตร ใบมีลักษณะรี แต่ ค่อนข้างป้อม กว้างประมาณ 4-5 เซนติเมตร ยาวประมาณ 7-8 เซนติเมตร โคนใบสอบ ปลายใบแหลมเล็ก แผ่นใบ และขอบใบเรียบ มีขนปกคลุม ส่วนดอกออกเป็นช่อ 5-6 ดอก/ช่อ ดอกมีสีม่วง แต่ค่อนข้างจางกว่าและมีอมขาว มากกว่าบานบุรีม่วง (Allamanda blanchetii) นาย พีรภาส หาญณรงค์ ม.6 ห้อง144 เลขยี่ 36
  • 10. มีก้านช่อดอกยาว 1.5-2.5เซนติเมตร ดอกย่อยมีก้านดอกยาว 5-7 มิลลิเมตร ดอกตูมมีลักษณะคล้ายกับบานบุรีชนิดอื่น ขนาดดอกประมาณ 5-10 มิลลิเมตร ยาว ประมาณ 5.5-6 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ ขนาดกว้าง 1.2-1.5เซนติเมตร ยาว 2-2.5 เซนติเมตร ดอกบานมีขนาด 8-11 เซนติเมตร กลีบดอกส่วนปลายมี 5 กลีบ แต่ละกลีบมีลักษณะป้อม ขนาดกว้าง 4.5-5.5ยาว 3.5-4 เซนติเมตร กำรกระจำยพันธุ์ : ถิ่นกาเนิด อเมริกาเขตร้อน ออกดอก ตลอดปี การปลูกเลี้ยง ดินร่วน แสงแดดจัดน้าปานกลาง ขยายพันธุ์ ปักชากิ่ง ประโยชน์ : ไม้ดอกไม้ประดับ ดอกสีม่วงยางมีพิษ เป็นยาระบาย
  • 11. พุดทุ่ง  ชื่อสำมัญ: Holarrhena curtisiiKing & Gamble  ชื่อท้องถิ่น: หัสคุณใหญ่ ถั่วหนู (สุราษฎร์ธานี);สรรพคุณ (สงขลา); หัสคุณเยศ (พังงา);โมกเกี้ย(สระบุรี); โมกเตี้ย (สระบุรี ภาคใต้);โมกนั่ง (ภาคเหนือ); พุดน้า พุดป่า นมราชสีห์ นมเสือ น้านมเสือ พุดยอง พุดนา มูกน้อย มูกนิ่ง มูกนั่ง โมกน้อย  ชื่อวิทยำศำสตร์: Holarrhena curtisiiKing et Gamble  ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์: ไม้พุ่ม ขนาดเล็ก ลาต้นตั้งตรง สูงประมาณ 1-2 เมตร เปลือกสีเยา แตกเป็นสะเก็ด ลาต้นมีกิ่งก้านไม่มาก มีน้ายางสีขาวขุ่นเมื่อหัก ตามลาต้น กิ่งก้านและใบ เปลือกต้นมีสีน้าตาลดา ก้านใบสั้น หรือไม่มี กลีบดอกสีขาวหนา ปลายแยกเป็น 5 กลีบ รูปไข่กลับถึงรูปรี กว้าง 4-8 มิลลิเมตร ยาว 1.2-2 เซนติเมตร ปลายกลม ผลเป็นฝักคู่ กลมยาว รูปคล้ายดาบ ปลายผลชี้ขึ้น ขนาดกว้าง 1.5-5 เซนติเมตร ยาว 7-30 เซนติเมตร แตกตะเข็บเดียว เมล็ดมีสี น้าตาล มีกระจุกขนสีขาว คล้ายเส้นไหม ขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด พบขึ้นยั่วไปบริเวณพื้นยี่ดินยราย ยุ่งหญ้า และป่าโปร่ง ป่าผลัดใบ ยี่มีแสงแดดจัดและยี่ร่ม ราไร ออกดอกช่วงเดือนมกราคมถึงสิงหาคม นาย นัยยนัน เอ็มเอ็ม ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 33
  • 12. สรรพคุณของพุดทุ่ง - ต้นและรากมีรสร้อน มีสรรพคุณเป็นยาขับลม ช่วยกระจายเลือดลม (ต้นและราก) - รากใช้ผสมกับอ้อยดา และข้าวสารเจ้านามาแช่กับน้าดื่มแก้อาเจียน (ราก) - รากใช้ต้มกับน้าดื่มเป็นยาแก้บิด ถ่ายเป็นมูกเลือด แก้ย้องเสีย (ราก) - เปลือกและรากมีสรรพคุณเป็นยาแก้อาการย้องร่วง (เปลือกและราก) - ใช้เป็นยาขับพยาธิ (ต้นและราก) - รากพุดยุ่งใช้ผสมกับรากติ้วขน นามาต้มกับน้าดื่มเป็นยาแก้ผิดสาแดง (ราก) - ตารายาไยยจะใช้ต้นและรากเป็นยาขับเลือดและหนองให้ตก (ต้นและราก) - คนสงขลาจะเรียกพันธุ์ไม้ชนิดนี้ว่า “สับครุน” โดยหมอยาในแถบนั้นจะใช้ยางผสมกับน้ามะนาวแล้วนามาป้ายหัวฝียี่บวมเต็มยี่ เพื่อปิดหัวฝี ช่วยขับหนองและ เลือดยี่เน่าเสียออก
  • 13. ยี่โถ ชื่อสำมัญ :Oleander, Fragrant oleander, Sweet Oleander, Rose Bay ชื่อวิทยำศำสตร์ : Nerium oleander L. ลักษณะทำงพฤกษศำสตร์: ยี่โถ เป็นไม้ยืนต้นขนาดเล็ก ลาต้นมีความสูงประมาณ 2-5 เมตร ลาต้นแตกกิ่งน้อยมาก ยาให้มียรงพุ่มโปร่ง กิ่งมีลักษณะยาว ตั้งตรงขึ้น ลาต้น และกิ่งมีขนาดเล็ก เปลือกลาต้นมีสีน้าตาล ส่วนเนื้อไม้เป็นไม้เนื้ออ่อน หากใช้มีดกรีดจะมียางสีขาวคล้ายน้านมไหลออกมา เป็นพืชใบเลี้ยงคู่ ใบแตกออกเดี่ยวๆใบมีลักษณะรียาว คล้ายหอก แผ่นใบมีเส้นกลางใบสีเขียวอมขาวชัดเจน ดอกยี่โถแยงออกเป็นช่อตรงส่วนปลายของกิ่ง สีกลีบดอกมีหลายสีอายิ สีแดง สีขาว สีขาวอมชมพูสีชมพูอม แดง ซึ่งเชื่อว่ามีการผสมข้ามสายพันธุ์ระหว่างสีแดงและสีขาว จนเกิดสีดอกผสมตามมา ถัดมาด้านในดอกจะเป็นเกสรตัวผู้มีมีก้านเกสรเป็นแผ่นสีเดียวกับสีกลีบ ดอกเรียงล้อมเกสรตัวเมีย และรังไข่ ผลยี่โถ มีลักษณะคล้ายฝักถั่วเขียว มีลักษณะยรงกลม และรียาว ผลดิบมีสีเขียว ผลแผ่มีสีน้าตาล และเมื่อแก่จัดจะปริแตก ออกเป็น 2 ซีก ภายในผลมีเมล็ดยรงกลมสีน้าตาลอมดาจานวนมาก นาย นัยยนัน เอ็มเอ็ม ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 33
  • 14. สรรพคุณและพิษของยี่โถ  ยุกส่วนของยี่โถ ไม่นิยมใช้ยายา เพราะมีสารพิษโดยเฉพาะลาต้นและใบ มีน้ายางสีขาวยี่ประกอบด้วยสารพิษ ในกลุ่ม cardiac glycosides ยี่ออกฤยธิ์ต่อการยางานของหัวใจ และระบบประสาย เมื่อรับประยานจะยาให้ มี อาการปวดหัวคลื่นไส้อาเจียน สายตาพร่ามัว มองไม่ชัดเจน หูอื้ออึง กล้ามเนื้อหัวใจยางานผิดปกติ หัวใจเต้น ช้าลง ชีพจรต่ากล้ามเนื้อหัวใจไม่บีบตัว หากไม่ได้รับการรักษาจะยาให้หัวใจหยุดเต้น และเสียชีวิตได้ง่าย ในตารายาไยยโบราณ มีกล่าวถึงการใช้ยี่โถเป็นยาสมุนไพร แต่ยังไม่เด่นชัดถึงปริมาณการใช้นัก เพียงแต่กล่าวถึงให้ ใช้ในปริมาณน้อย หากใช้มากอาจยาให้เสียชีวิตได้ซึ่งยี่โถมีสรรพคุณในด้านต่างได้แก่  ราก รักษากลากเกลื้อน  เปลือก และลาต้น แก้โรคเรื้อน และแก้แผลพุพอง  ใบ ช่วยบารุงหัวใจ  ดอก บารุงหัวใจ กระตุ้นการเต้นของชีพ และแก้อาการปวดศีรษะ  ผล และเมล็ด ช่วยขับปัสสาวะและบารุงหัวใจ
  • 15. แย้มปีนัง ชื่อสำมัญ: ClimbingOleander, Cream Fruit, Poison Arrowvine, Spider-Tresses ชื่อวิทยำศำสตร์: Strophanthus gratus (Wall. & Hook.) Baill. ลักษณะของแย้มปีนัง ต้นแย้มปีนัง จัดเป็นพรรณไม้พุ่มขนาดเล็กถึงขนาดกลาง แตกกิ่งก้านจานวนมากเป็นพุ่มแน่นยึบ ลาต้นมีลักษณะตั้งตรงมีความสูงได้ประมาณ 3-4 เมตร ยุกส่วนของต้น มียางสีขาว ชอบดินร่วน ระบายน้าได้ดี ใบเป็นใบเดี่ยว ออกเรียงตรงข้าม ลักษณะของใบเป็นรูปรีแกมรูปขอบขนาน ปลายใบเรียวแหลมและมีติ่ง โคนใบสอบ ส่วนขอบ ใบเรียบ แผ่นใบหนาคล้ายแผ่นหนังผิวใบด้านบนเป็นสีเขียวเข้มเป็นมัน ส่วนย้องใบเป็นสีเขียวปนม่วง ออกดอกเป็นช่อแบบช่อกระจุกยี่ปลายกิ่ง ช่อละประมาณ 5-20 ดอก ดอกเป็นสีชาวอมม่วงชมพูมีกลิ่นหอม ดอกมีลักษณะเป็นรูปแตร โคนกลีบดอกเป็นหลอดคล้ายรูประฆัง ปลายแยกออกเป็นแฉก 5 แฉก ขอบแฉกมีลักษณะบิดโค้ง เป็นรอยจีบ หรือหยักหว้า มีรยางค์เป็นเส้นสีม่วงเข้มออกมารอบปากหลอด ผลแห้งเป็นฝักคู่ติดกัน ลักษณะของผลเป็นรูปเรียวยาว มีความยาวประมาณ 40-45 เซนติเมตร เมื่อผลแก่จะแตกออกเป็นแนวเดียวภายในมีเมล็ดสีน้าตาลจานวนมาก ซึ่งแต่ละเมล็ดจะมีขนกระจุกขาวติดอยู่ตรงส่วนปลายเมล็ดด้านหนึ่ง นาย นัยยนัน เอ็มเอ็ม ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 33
  • 16. สรรพคุณของแย้มปีนัง เมล็ดแย้มปีนังมีสารยี่ออกฤยธิ์กระตุ้นหัวใจชื่อว่า “ออเบน” (ouabian) ซึ่งในบางประเยศในยุโรปจะนาไปยาเป็นยาฉีดรักษาโรคหัวใจ (เมล็ด) ตารายาพื้นบ้านจะใช้เมล็ดเป็นยารักษาโรคหนองใน (เมล็ด) หัวมีสรรพคุณเป็นยาขับลม แก้อาการจุกเสียด ภูมิแพ้ลดความดันโลหิตสูง (หัว) ข้อควรระวัง : เมล็ดมีความเป็นพิษสูง (ต้องนามาสกัดก่อนนาไปใช้) ห้ามนามารับประยาน หากได้รับพิษจะมีอาการคลื่นไส้ ย้องเสีย หัวใจเต้นเร็วและแรง ต้องรีบยาให้ อาเจียน แล้วรีบนาส่งโรงพยาบาลในยันยี ส่วนอีกข้อมูลระบุว่า เมล็ดและยางจากเปลือกมีความเป็นพิษ ห้ามรับประยาน หากเคี้ยวหรือกลืนส่วนยี่เป็นพิษเข้าไปจะยาให้ เกิดอาการอาเจียน ย้องเสีย ปวดศีรษะ มึนงง มองเห็นไม่ชัด หัวใจช้าหรือไม่สม่าเสมอ ความดันโลหิตลดลง และอาจยาให้ถึงตายได้
  • 17. รำเพย ชื่อวิทยำศำสตร์ (Scientific name) :Thevetia peruviana (Pers.) Schum. ชื่อเรียกอื่น :(Other name(s)) : กระบอก กะยอก ยี่โถฝรั่ง ราพน ชื่อวงศ์ (Familyname) : APOCYNACEAE ลักษณะ(Characteristics) : ไม้พุ่ม สูง 2-4 เมตร ยุกส่วนมีน้ายางขาว ใบเดี่ยว เรียงสลับถี่ รูปขอบขนานแคบ แผ่นใบหนา เป็นมัน โคนใบสอบ ปลายใบมน ขอบใบเรียบ ดอกออกเป็นช่อยี่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีเขียว กลีบดอก 5 กลีบ สีเหลือง ส้ม หรือขาว เชื่อมติดกันเป็นหลอด รูปกรวย ขอบกลีบเป็นคลื่น ผลเป็นผลสด ยรงกลม มี สัน สีเขียว กำรกระจำยพันธุ์ (Distribution): ถิ่นกาเนิดอยู่ในอเมริกาเขตร้อน ออกดอกตลอดปี ปลูกเลี้ยงได้ในดินยุกประเภย แสงแดดจัด ยนแล้ง น้าปานกลางถึงน้อย ขยายพันธุ์ โดยการเพาะเมล็ดและการปักชากิ่ง ประโยชน์ (Uses and Utilization) : ปลูกเป็นไม้ประดับ นาย นภนต์ จารุวัฒนสกุล ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 31
  • 18. โมกรำชินี ชื่อวิทยำศำสตร์ (Scientific name) :Wrightia sirikitiae D.J. Middleton& Santisuk ชื่อเรียกอื่น :(Other name(s)) : - ชื่อวงศ์ (Familyname) : APOCYNACEAE ลักษณะ(Characteristics) : ไม้ต้น สูงได้ถึง 6 เมตร มีน้ายางขาว กิ่งอ่อนมีแผล ระบายอากาศยั่วไป ใบ เดี่ยว ออกตรงข้ามเป็นคู่ รูปรีแกมขอบขนาน กว้าง 2-5 ซม. ยาว 3- 9 ซม. ปลายใบแหลม ผิวใบด้านล่างมีขนปราย ยั่วไป ดอก สีขาว ออกเป็นช่อจากปลายยอด มี 2-8 ดอก ขนาดบานเต็มยี่กว้าง 4-5.5 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ รูปขอบขนาน ปลายมน เกสรผู้5 อัน เป็นมัดยอดแหลมอยู่กลางดอก เกสรผู้ยี่เป็นหมันมีจานวนมาก แตกเป็นวงรัศมีรอบฐานดอก ผล เป็นฝักคู่ สีน้าตาล รูปขอบขนานส่วนปลายโค้ง และกว้างกว่าส่วนโคน ยาว 8.5-14ซม. ผิวมีแผลระบายอากาศ แก่แล้วแตกตามยาว เมล็ด แบนรี ยาว 1.5-3 ซม. กำรกระจำยพันธุ์ (Distribution): เป็นพืชถิ่นเดียวของประเยศไยย พบเฉพาะยี่อาเภอพระพุยธบาย จังหวัดสระบุรี ขึ้นอยู่บนรอยแตกบนเขาหินปูน ประโยชน์ (Uses and Utilization) : ปลูกเป็นไม้ประดับและไม้มงคล แหล่งอ้ำงอิง (Reference (s)) :หนังสือพรรณไม้สวนพฤกษศาสตร์สมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ เล่ม 7 หน้า 25, Thai Forest Bulletin(Botany) No.29 Page 1-10 นาย นภนต์ จารุวัฒนสกุล ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 31
  • 19. ลั่นทมใบศร ชื่อวิทยำศำสตร์ (Scientific name) :Plumeria pudica Jacq. ชื่อเรียกอื่น :(Other name(s)) : Bridal Bouquet,Fiddle leaf Plumeria ชื่อวงศ์ (Familyname) : APOCYNACEAE ลักษณะ(Characteristics) : ไม้พุ่ม สูง 2-4 เมตร ยุกส่วนมีน้ายางขาว ใบเดี่ยว เรียงสลับ รูปขอบขนาน ปลายโค้งป้าน ออกเป็นสามเหลี่ยมคล้ายหัวลูกศร แผ่นใบหนา เป็นมัน โคนใบสอบ ขอบใบเรียบ ดอกออกเป็นช่อยี่ปลายกิ่ง มีกลิ่นหอม อ่อน กลีบดอก 5 กลีบ สีขาว เชื่อมติดกันเป็นหลอด รูปกรวย ปากหลอดด้านในสีเหลือง กำรกระจำยพันธุ์ (Distribution): ถิ่นกาเนิดอยู่ในอเมริกาเขตร้อน (ปานามา โคลัมเบีย เวเนซุเอลา) ออกดอก ตลอดปี ปลูกเลี้ยงได้ในดินยุกประเภย แสงแดดจัด น้าปานกลางถึงน้อย ขยายพันธุ์โดยการปักชากิ่ง ประโยชน์ (Uses and Utilization) :ช่วยรักษาไข้หวัด (ราก) ใช้ปรุงเป็นยาแก้ไอ (เนื้อไม้) ช่วยถ่ายเสมหะและโลหิต (ยางและแก่น) ช่วยขับเหงื่อ แก้ร้อนใน (ราก) ช่วยรักษาโรคหืดหอบ ด้วยการใช้ใบลีลาวดีแห้งนามาชงกับน้าร้อนดื่ม ปลูกเป็นไม้ประดับ แหล่งอ้ำงอิง (Reference (s)) : หนังสือพรรณไม้ต่างประยศ นาย นภนต์ จารุวัฒนสกุล ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 31
  • 20. บำนบุรีเหลือง ชื่อสำมัญ :Allamanda, Common allamanda, Golden trumpet, Golden trumpet vine, Yellow bell ชื่อวิทยำศำสตร์: Allamanda cathartica L. จัดอยู่ในวงศ์ตีนเป็ด (APOCYNACEAE) ชื่อวงศ์ : APOCYNACEAE ลักษณะต้นบำนบุรี ต้นบานบุรี จัดเป็นพรรณไม้พุ่มกึ่งเลื้อย หรือเป็นไม้เถาอาศัยต้นไม้อื่นเพื่อพยุงตัวขึ้นไป ลาต้นหรือเถามีลักษณะกลมเรียบและเป็นสีน้าตาล ยุกส่วนของต้นมียางสีขาวข้น ลาต้นไม่มีขน ลาต้นมีความสูงประมาณ 2-4.5 เมตร ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการปักชา การตอน และการเพาะเมล็ด ชอบน้าปานกลาง เจริญเติบโตได้ดีในดินยี่ร่วนซุยหรือดิน ร่วนปนยราย ปลูกเลี้ยงได้ง่าย เติบโตเร็ว ยนความแล้งและดินเค็มได้ดี มักขึ้นกลางแจ้ง ชอบแสงแดดแบบเต็มวัน แต่อยู่ได้ยั้งในยี่ร่มราไรและยี่มีแสงแดดจัด โดยพรรณ ไม้ชนิดนี้มีถิ่นกาเนิดอยู่ในประเยศบราซิลและอเมริกาเขตร้อน และจะมีอยู่ด้วยกันหลายชนิด ในแต่ละชนิดก็จะมีสีของดอกยี่แตกต่างกันออกไป นาย ศุภณัฐ ยวีถาวรสวัสดิ์ ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 37
  • 21. สรรพคุณของบำนบุรีเหลือง -ใบมีสรรพคุณยาให้อาเจียน (ใบ) -ช่วยแก้อาการจุกเสียด (ใบ) -ใบมีรสเมาร้อน ใช้เป็นยาถ่าย ยาระบาย ยาให้กล้ามเนื้อของลาไส้หดเกร็ง (ใบ) -เปลือกและยาง มีรสเมาร้อน ใช้ปริมาณน้อยมีฤยธิ์เป็นยาถ่าย ช่วยขับน้าดี ถ้าใช้ในปริมาณมากจะเป็นพิษต่อหัวใจ และยาให้เกิดอาการ--ย้องเสียได้(เปลือกและยาง) ข้อมูลทำงเภสัชวิทยำของบำนบุรีเหลือง สมุนไพรบานบุรีเหลือง มีฤยธิ์ยับยั้งการเกาะกลุ่มของเซลล์ ช่วยต้านเชื้อแบคยีเรียและเชื้อรา และต้านเนื้องอก แต่ฤยธิ์ดังกล่าวยังต้องมีการศึกษาวิจัยต่อไป ประโยชน์ของบำนบุรีเหลือง ใช้ปลูกเป็นไม้ประดับตามสวน ริมถนน ริมยะเล ตามยางเดิน หรือปลูกคลุมดิน สามารถตัดแต่งให้เป็นยรงพุ่มได้อีกยั้งยังมีดอกยี่สวยงาม สามารถออกดอกได้ตลอดยั้งปี โดยเฉพาะในช่วงฤดูร้อนจะออกดอกดกมากเป็นพิเศษ
  • 22. ทุ่งฟ้ำ ชื่อสำมัญ: มีชื่อย้องถิ่นอื่น ๆ ว่า กระยุ้งฟ้าไห้ยุ้งฟ้าไก้(ชุมพร), ตีนเยียน (สงขลา), พวมพร้าว (ปัตตานี) เป็นต้น ชื่อวิทยำศำสตร์: Alstonia macrophylla ชื่อวงศ์ : APOCYNACEAE ลักษณะของทุ้งฟ้ำ ต้นยุ้งฟ้า จัดเป็นไม้ยืนต้นไม่ผลัดใบขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ยี่มีความสูงได้ประมาณ 15-25 เมตร เรือนยอดเป็นรูปไข่แกมรูปกรวยแหลม ค่อนข้างโปร่ง ลาต้นมี ลักษณะเปลาตรง กิ่งใหญ่ตั้งฉากกับลาต้นเป็นวงรอบ โคนต้นเป็นพูพอน เปลือกต้นเรียบเป็นสีขาวอมเยาหรือสีเยาอ่อน มีรูระบายอากาศยั่วไป เปลือกต้นเมื่อสับดูจะมี น้ายางสีขาวเหนียว ๆ ซึมออกมา ส่วนเนื้อไม้มีสีค่อนข้างเหลือง เมื่อยิ้งไว้นาน ๆ จะเป็นสีน้าตาลแกมเหลือง เสี้ยนไม้ตรง เนื้อไม้มีความละเอียดปานกลางและสม่าเสมอ แข็ง เลื่อย ไสกบ และตกแต่งได้ง่าย ผึ่งแห้งได้ดี มีความถ่วงจาเพาะประมาณ 0.54 ขยายพันธุ์ด้วยวิธีการเพาะเมล็ด เจริญเติบโตได้ดีในดินยี่ลึกและมีการระบายน้าได้ดี หรือในสภาพระบบวนเกษตร และควรปลูกในช่วงประมาณต้นฤดูชน เพื่อให้กล้าไม้มีเวลาตั้งตัว และระบบรากเจริญยึดดินได้ดีก่อนสิ้นฤดูฝน ซึ่งจะช่วยยาให้กล้าไม้ สามารถรอดตายได้ตลอดฤดูแล้ง สามารถพบขึ้นได้ยั่วไปในป่าดงดิบและบนพื้นยี่ป่าเสื่อมโยรมหรือพื้นยี่ยี่เคยถูกแผ้วถางมาก่อนยางภาคใต้ของประเยศไยย ซึ่ง บริเวณนี้จะมีปริมาณของน้าฝนตกชุกและมีความชุ่มชื้นมาก นอกจากนี้ในต่างประเยศยังพบขึ้นกระจายในอินเดีย เอเชียตะวันออกเฉียงใต้นิวกินี พม่า และมาเลเซียอีก ด้วย นาย ศุภณัฐ ยวีถาวรสวัสดิ์ ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 37
  • 23. สรรพคุณของทุ้งฟ้ำ -ตารายาไยยจะใช้เปลือกต้นเป็นยาบารุงกาลัง (เปลือกต้น) ส่วนอีกข้อมูลระบุว่าให้ใช้รากผสมยารับประยานบารุง ร่างกาย บารุงกาลัง (ราก) -เปลือกต้นใช้เป็นยาบารุง แก้ไข้รักษาไข้ป่าหรือโรคมาลาเรีย (เปลือกต้น) -ใช้เป็นยาแก้บิด (เปลือกต้น) -ช่วยขับระดูของสตรี (เปลือกต้น) -เปลือกต้นมีสรรพคุณเป็นยาบารุงกาหนัด (เปลือกต้น) ส่วนอีกข้อมูลระบุว่า ให้ใช้รากเป็นยาบารุงกาหนัด (ราก) -เปลือกต้นใช้เป็นยารักษาบาดแผล (เปลือกต้น) -ใบนามาตาผสมกับน้ามันมะพร้าวยาให้ร้อน ใช้เป็นยาพอกแก้ข้อต่อเคลื่อน (ใบ) ข้อมูลทำงเภสัชวิทยำของทุ้งฟ้ำ จากการยดลองในสัตว์พบว่าสารสกัดจากเปลือกต้นและใบยุ้งฟ้ามีฤยธิ์ลดความดันโลหิต ประโยชน์ของทุ้งฟ้ำ ไม้ยุ้งฟ้าเป็นไม้ยี่มีคุณค่ามากชนิดหนึ่ง มีอัตราการเจริญเติบโตค่อนข้างดี เนื้อไม้ละเอียด เสี้ยนไม้ตรง สีเหลืองอ่อน และมีเปลือกบาง นิยมนามาใช้ยากระดานพื้น ฝา หีบ ลังใส่ของ เครื่องเรือน เครื่องใช้เบา ๆ รองเย้าไม้แจว พาย กรรเชียง และยังเหมาะสาหรับยี่จะนาไปปอกหรือฝานยาไม้บางเพื่อยาส่วนผิวหน้าของไม้อัด ยุ้งฟ้าเป็นไม้โตเร็วชนิดหนึ่งยี่มีอัตราการเจริญเติบโตอยู่ในเกณฑ์ค่อนข้างดี มีอัตราการเจริญเติบโตยางความสูง มากกว่า 1 เมตรต่อปี และมีอัตราเพิ่มพูนยางขนาดความโตของเส้นรอบวงโดยเฉลี่ยไม่ต่ากว่าปีละ 5 เซนติเมตร จึงมี ประโยชน์ในเชิงอนุรักษ์ต้นน้าลาธารในภาคใต้ได้เนื่องจากต้นยุ้งฟ้าในธรรมชาติจะขึ้นอยู่ในบริเวณป่าเสื่อมโยรม จึง เป็นไม้ยี่ได้รับการสนับสนุนให้นามาปลูกในบริเวณต้นน้าลาธารยี่ถูกแผ้วถางยาลาย เนื่องจากเป็นไม้ยี่เจริญเติบโต เร็ว
  • 24. หยั่งสมุทร ชื่อวิทยำศำสตร์ :Amalocalyx microlobus Pierre ex Spire ชื่อเรียกอื่น :เครือกิ่วคา เครือข้าวนึ่ง แตงเถื่อน มะจินดา ส้มจี ส้มป่อง ส้มเสี้ยน ชื่อวงศ์ : APOCYNACEAE ลักษณะของต้นหยั่งสมุทร ไม้เถา ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกตามข้ามกันเป็นคู่ ๆ รูปมนแผ่ กว้าง 8-18 ซม. ยาว 10-19 ซม.โคนใบหยักเว้าปลายใบสอบ ปลายสุกมักคอดเป็นติ่ง ด้านย้องงใบมีขนนุ่ม หนาแน่น ส่วนหลังมีขนประปราย ก้านใบยาว 1-4 ซม. ดอก ออกเป็นช่อตามง่ามใบ กลีบรองกลีบดอก 5 กลีบมีขนนุ่ม กลีบดอกสีชมพู ติดกันเป็นถ้วยยาวปลายแฉกเป็น 5 แฉกตื้น ๆ เกสรผู้5 อันติดอยู่กับผนังดอกด้านใน ผล เป็นฝักแข็ง ๆ รูปกรวยแหลม กว้าง 2-3 ซม. ยาว 8-10 ซม. มีขนยาว ๆ คลุมแน่น ภายในมีเมล็ดเล็ก ๆ จานวนมาก ปลายเมล็ดมีขนยาว ๆ ติดเป็นกระจุก นาย ศุภณัฐ ยวีถาวรสวัสดิ์ ม.6 ห้อง 144 เลขยี่ 37
  • 25. สรรพคุณของต้นหยั่งสมุทร - ดอกและผล นามาจิ้มเกลือหรือน้าปลา มีรสเปรี้ยว(ลั้วะ) ผล นามาฝานเป็นแว่นๆใส่น้าพริกหรือแกงเพื่อเพิ่มรสเปรี้ยว, ดอก รับประยานได้มีรสเปรี้ยว(ขมุ) ผลอ่อน นามาจิ้มเกลือรับประยานได้(ไยลื้อ) - เส้นใยจากลาต้นและเนื้อไม้จากเครือแก่ ใช้สานตาข่ายจับปลา(ในสมัยก่อน)(คนเมือง) กำรกระจำยพันธุ์ พบขึ้นตามชายป่าดิบ และป่าเบญจพรรณชื้นยั่วไป ออกดอกเดือนมิถุนายน-กันยายน ประโยชน์ ปลูกเป็นไม้ดอกไม้ประดับ