SlideShare a Scribd company logo
1 of 15
Download to read offline
อ้อยแดง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Saccharum officinarum L.
ชื่อสามัญ : Sugar cane
วงศ์ : Poaceae (Gramineae)
ชื่ออื่น : อ้อย อ้อยขม อ้อยดา (ภาคกลาง) กะที (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
ส่วนที่ใช้: ทั้งต้น ต้น น้าอ้อย ผิวของต้นอ้อย มี wax
สรรพคุณ :
ทั้งต้น - แก้ปัสสาวะพิการ แก้ขัดเบา แก้ช้ารั่ว แก้โรคนิ่ว แก้ไอ
ต้น - แก้อาการขัดเบา แก้ปัสสาวะพิการ แก้ไข้ตัวร้อน แก้พิษตานซาง บารุงธาตุน้า แก้ร้อนใน
กระหายน้า แก้เสมหะเหนียว ทาให้ชุ่มชื่นในลาคอ ในอก บารุงกาลัง บารุงหัวใจ ขับน้าเหลือง
แก้ช้าใน รักษาโรคไซนัส
น้าอ้อย - รักษาโรคนิ่ว บารุงหัวใจ ทาให้ชุ่มชื่นในลาคอ แก้เสมหะ แก้หืด ไอ ขับปัสสาวะ บารุงกาลัง
เจริญอาหาร เจริญธาตุ
ผิวของต้นอ้อย มี Wax เอามาทายา และเครื่องสาอาง
วิธีและปริมาณที่ใช้:
ขับปัสสาวะ แก้อาการขัดเบา
ใช้ลาตันทั้งสดและแห้งขออ้อยแดง วันละ 1 กามือ (สด 70-90 กรัม แห้ง หนัก 30-40 กรัม) หั่นเป็นชิ้นๆ ต้ม
กับน้าดื่ม ครั้งละ 1 ถ้วยชา (75 มิลลิลิตร) วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า-เย็น
อ้อยแดงมีฤทธิ์ในทางขับปัสสาวะได้ในหนูขาว กองวิจัยทางการแพทย์กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์รายงาน
ว่า อ้อยแดงไม่มีพิษเฉียบพลัน
สารเคมี :
ราก มี Nitrogenase
ต้น มี Alcohols, Phenolic esters and ethers Alkaloids, Amino acids, Asparagine
น้าอ้อย มี Cacium , Potassium, Magnesium, Phosphorus, Sulfur
ใบ มี 5, 7-Dimethyl-apigenin-4-O-B-D-glycosideส่วน
ดอก พบ 5-0-Methyl apigenin
ใบระบาด
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Argyreia nervosa (Burm.f.) Bojer
ชื่อสามัญ : Morning Glory , Baby Hawaiian Woodrose
วงศ์ : Convolvulaceae
ชื่ออื่น : ผักระบาด (ภาคกลาง) เมืองบอน (กรุงเทพฯ)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถา ยาวได้ถึง 10 เมตร ทุกส่วนมียางสีขาว และขนสีขาวหนาแน่น ใบ ใบเดี่ยว ออก
สลับ รูปหัวใจ กว้าง 9 - 25 เซนติเมตร ยาว 11 - 30 เซนติเมตร ปลายแหลม โคนเว้า ด้านล่างมีขนอ่อนนุ่มคล้าย
เส้นไหม สีเทาเงิน ดอก สีม่วงอมชมพูออกเป็นช่อตามซอกใบ ก้านช่อแข็ง ยาวประมาณ 20 เซนติเมตร ใบประดับ
รูปไข่ ยาว 3 - 5 เซนติเมตร กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน กลีบดอกรูปกรวย ยาวประมาณ 6 เซนติเมตรปลาย
แผ่ออกและหยักเป็นแฉกตื้น ๆ เมื่อบานเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6 เซนติเมตร เกสรตัวผู้5 อัน ผลกลม
เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร ปลายมีติ่ง
ส่วนที่ใช้: ใบสด
สรรพคุณ : ยารักษาโรคผิวหนัง ผื่นคัน
วิธีและปริมาณที่ใช้
ใช้ใบสด 2-3 ใบ นามาล้างให้สะอาด ตาให้ละเอียด ใช้ทาบริเวณที่เป็นโรคผิวหนัง วันละ 2-3 ครั้งติดต่อกัน
3-4 วันจะเห็นผล
สารเคมี : เมล็ด( white seed coat exterior) มี cyanogenic glycosides
หมายเหตุ : เป็นสมุนไพรที่ใช้เฉพาะภายนอก ห้ามรับประทาน เนื่องจาก ใบ ถ้ารับประทานเข้าไปทาให้คลุ้มคลั่ง
ตาพร่า มึนงง เมล็ด ถ้ารับประทานเข้าไปทาให้ประสาทหลอน
บานเย็นดอกขาว
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mirabilis jalapa L.
ชื่อสามัญ : Marvel of peru , Four-o’clocks
วงศ์ : Nyctaginaceae
ชื่ออื่น : จันยาม จายาม ตามยาม ตีต้าเช่า (จีน)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุกอายุหลายปี มีเง้า สูง 1-1.5 ม. ลาต้นมีสีแดง มีนวลเล็กน้อย ใบรูปไข่ หรือรูป
สามเหลี่ยม มีขนประปราย กว้าง 2-9 ซม. ยาว 5-15 ซม. ปลายใบแหลม โคนตัดหรือรูปหัวใจ ก้านใบยาว 1-4 ซม.
กลีบประดับรูประฆัง ติดที่ฐาน ยาว 1-1.5 ซม. ดอกเกือบไร้ก้าน มี 4-5 ดอกในแต่ละช่อ บานตอนบ่ายๆ จนถึง
ตอนเช้า วงกลีบสีชมพู ม่วง ขาว เหลือง หรือด่าง ยาวประมาณ 3-6 ซม. ปากกลีบมีเส้นผ่านศูนย์กลางยาวประมาณ
2.5-3 ซม. เกศรเพศผู้5 อัน ยื่นออกยาวประมาณ 1 ซม. ก้านเกสรสีแดง อับเรณูทรงกลม รังไข่รูปรี ก้านเกศรเพศ
เมียยาวเท่าๆ เกสรเพศผู้สีแดง ปลายเกสรเป็นตุ่ม เป็นพูตื้นๆ ผลรูปกลมรี สีดา ขนาดประมาณ ยาว 0.5-0.9 ซม.
เปลือกบาง มี 5 สัน เมล็ดกลม ขนาดประมาณ 0.7 ซม. บานเย็นมีถิ่นกาเนิดในประเทศเปรู มีเขตการกระจายพันธุ์
เฉพาะในทวีปอเมริกาใต้นิยมปลูกเป็นไม้ประดับทั่วไป โดยเฉพาะดอกสีชมพู บางครั้งขึ้นเป็นวัชพืช
ส่วนที่ใช้: ราก ใบ หัว
สรรพคุณ :
ราก - มี alkaloid trigonelline ซึ่งมีฤทธิ์เป็นยาถ่าย
ใบ - ตาทาแก้คัน และ พอกฝี
หัว - รับประทานจะทาให้หนังชาอยู่คงกะพันเฆี่ยนตีไม่แตกกลับทาให้รู้สึกคัน
- รับประทานเป็นยาขับเหงื่อ แก้ไข้ระงับความร้อน
บุนนาค
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mesua ferrea L.
ชื่อสามัญ : Iron wood, Indian rose chestnut
วงศ์ : GUTTIFERAE
ชื่ออื่น : ก๊าก่อ ก้าก่อ นาคบุตร ปะนาคอ สารภีดอย
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูงประมาณ 15-25 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ ไม่ผลัด
ใบ ใบ เป็นใบเดี่ยว แผ่นใบหนา รูปหอกหรือรูปขอบขนานแกมรูปหอก ขนาดกว้าง 2-3 ซม. ยาว 8-12 ซม. ปลาย
ใบเรียวแหลม โคนใบสอบ ผิวใบเรียบเกลี้ยง ท้องใบมีคราบขาวปกคลุม ดอก เป็นดอกเดี่ยว หรือเกิดเป็นกระจุก
ตามง่ามใบ กลีบดอกสีขาวจนถึงสีเหลืองอ่อน ออกดอกระหว่างช่วงฤดูร้อนถึงฤดูฝน ผล รูปไข่ ส่วนปลายโค้ง
แหลม โดยยังมีส่วนกลีบรองดอกขยายใหญ่ขึ้นติดอยู่ภายในมีเมล็ด 1-2 เมล็ด
ส่วนที่ใช้: ดอกสดและแห้ง ผล ใบ แก่น ราก เปลือก กระพี้
สรรพคุณ :
ดอก - กลั่นให้น้ามันหอมระเหย ใช้ในการอบเครื่องหอมได้ดี ใช้แต่งกลิ่นสบู่
ดอกแห้ง - ใช้เข้ายาหอม แต่งกลิ่นแต่งรสทาให้รับประทานง่าย เป็นยาหอมบารุงดวงจิตให้ชุ่มชื่น บารุงหัวใจ เป็น
ยาขับเสมหะบารุงโลหิต แก้ร้อนกระสับกระส่าย แก้ลมกองละเอียด ซึ่งทาให้หน้ามืดวิงเวียนใจสั่น อ่อนเพลีย
หัวใจหวิว ทาให้ชูกาลัง
ผล - ขับเหงื่อ ฝาดสมาน
ใบ - รักษาบาดแผลสด พอกบาดแผลสด แก้พิษงู
แก่น - แก้เลือดออกตามไรฟัน
ราก - ขับลมในลาไส้
เปลือก - ฟอกน้าเหลือง กระจายหนอง
กระพี้ - แก้เสมหะในคอ
บอระเพ็ด
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tinospora crispa (L.) Miers ex Hook.f.& Thomson
วงศ์ : Menispermaceae
ชื่ออื่น : ตัวเจตมูลยาน เถาหัวด้วน (สระบุรี) หางหนู (สระบุรี,อุบลราชธานี) จุ่งจิง เครือเขาฮอ (ภาคเหนือ) เจตมูล
หนาม (หนองคาย)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถาเลื้อยพาดพันต้นไม้อื่น เถากลมมีขนาดใหญ่เป็นปุ่มปม สีเทาอมดา มีรสขม
เปลือกลอกออกได้ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปหัวใจ ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบ สีเขียว ก้านใบยาว 8-10
ซม. ดอก ออกตามซอกใบ ดอกแยกเพศอยู่คนละช่อ ดอกสีเขียวอมเหลือง มีขนาดเล็กมาก ผล รูปทรงค่อนข้าง
กลม สีเหลืองหรือสีแดง
ส่วนที่ใช้: ราก ต้น ใบ ดอก ผล ส่วนทั้ง 5 เถาสด
สรรพคุณ :
ราก
- แก้ไข้เหนือ ไข้สันนิบาต แก้ไข้พิษ ไข้จับสั่น
- ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้
- เจริญอาหาร
ต้น
- แก้ไข้แก้ไข้พิษ แก้ไข้กาฬ แก้ไข้เหนือ
- บารุงกาลัง บารุงธาตุ
- แก้อาการแทรกซ้อน ขณะที่เป็นไข้ทรพิษ
- แก้ไข้เพื่อโลหิต แก้เลือดพิการ
- แก้ร้อนในกระหายน้า แก้สะอึก แก้พิษฝีดาษ
- เป็นยาขมเจริญอาหาร
- เป็นยาอายุวัฒนะ
ใบ
- แก้ไข้แก้ไข้พิษ แก้ไข้กาฬ แก้ไข้จับสั่น
- ขับพยาธิ แก้ปวดฝี
- บารุงธาตุ
- ยาลดความร้อน
- ทาให้ผิวพรรณผ่องใส หน้าตาสดชื่น
- รักษาโรคผิวหนัง ผดผื่นคันตามร่างกาย
- ช่วยให้เสียงไพเราะ
- แก้โลหิตคั่งในสมอง
- เป็นยาอายุวัฒนะ
ดอก
- ฆ่าพยาธิในท้อง ในฟัน ในหู
ผล
- แก้เสมหะเป็นพิษ แก้ไข้พิษ
- แก้สะอึก และสมุฎฐานกาเริบ
ส่วนทั้ง 5
บาบัดรักษาโรค ดังนี้
- เป็นยาอายุวัฒนะ แก้ปวดเมื่อย แก้ไข้ปวดศีรษะ รักษาฟัน รักษาโรคริดสีดวงทวาร ช่วยให้เจริญอาหาร แก้ฝี
มดลูก ฝีมุตกิต แก้ร้อนใน รักษาโรคเบาหวาน ลดความร้อน แก้ดีพิการ แก้เสมหะ เลือดลม แก้ไข้จับสั่น
วิธีการและปริมาณที่ใช้:
ใช้เป็นยารักษาอาการดังนี้
อาการไข้ลดความร้อน
- ใช้เถาแก่สด หรือต้นสด ครั้งละ 2 คืบครึ่ง (30-40 กรัม) ตาคั้นเอาน้าดื่ม หรือต้มกับน้าโดยใช้น้า 3 ส่วน ต้ม
เคี่ยวให้เหลือ 1 ส่วน ดื่มวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า-เย็น หรือเวลามีอาการ
- หรือใช้เถาสด ดองเหล้า ความแรง 1 ใน 10 รับประทานครั้งละ 1 ช้อนชา ของยาที่เตรียมแล้ว
เป็นยาขมช่วยเจริญอาหาร เมื่อมีอาการเบื่ออาหาร
โดยใช่ขนาดและวิธีการเช่นเดียวกับใช้แก้ไข้
สารเคมี : ประกอบด้วยแคลคาลอยด์หลายชนิด เช่น Picroretine, berberine นอกจากนี้ยังประกอบด้วย
colonbin, tintotuberide, N - trans - feruloyltyramine, N - cisferuloytyramine,
phytosterol, methylpentose
บอระเพ็ด
ชื่อวิทยาศาตร์ Tinospora crispa (L.) Miers ex Hook. f. & Thoms.1
ชื่ออังกฤษ -
ชื่อท้องถิ่น เครือเขาฮอ จุ่งจิง (ภาคเหนือ); เจตมูลหนาม (หนองคาย); ตัวเจตมูลยาน เถาหัวด้วน (สระบุรี); หาง
หนู (อุบลราชธานี)1
ลักษณะของพืช เป็นไม้เถาลาต้นมีตุ่มปมทั่วไป ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของลาต้น 1-1.5 ซม. เปลือกสีเทาอม
เขียว ขึ้นเกาะเกี่ยวคลุมไปตามต้นไม้อื่น มักจะมีรากอากาศคล้ายเส้นเชือกเส้นเล็กๆ ห้อยย้อยลงมาเป็นสาย ใบเป็น
ชนิดใบเดี่ยว รูปใบพลู หรือรูปหัวใจค่อนข้างกลม โคนใบหยักเว้าลึก ปลายใบหยักคอดเป็นติ่งสั้นๆ ผิวใบบางมี
ขนประปราย ท้องใบออกสีนวลอ่อนๆ ส่วนหลังใบเขียว ขอบใบเรียบ เส้นใบจากจุดโคนใบจะมี 5-7 เส้น ดอก
เล็กสีเหลืองอ่อน ออกรวมกันเป็นช่อตามปมของลาต้นเป็นกระจุกๆ ช่อเรียว อ่อน ยาว 5-20 ซม. มีขนทั่วไป ทั้ง
กลีบดอกและกลีบรองกลีบดอกมีอย่างละ 6 กลีบ เกลี้ยงๆ ส่วนเกสรผู้มี 6 อัน ผลกลมรี ๆ มีเนื้อเยื่อบาง ๆ หุ้ม
เมล็ด2
ส่วนที่ใช้ทายา เถาหรือลาต้นสด3
สรรพคุณและวิธีใช้แก้ไข้
- ใช้ครั้งละ 2.5 คืบ (30-40 กรัม) ตาคั้นเอาน้าดื่มหรือดื่มก่อนอาหารวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น หรือเวลามีอาการ
บัวบก
ชื่อวิทยาศาตร์ Centella asiatica (Linn.) Urban1
ชื่ออังกฤษ Asiatic Pennywort1
ชื่อท้องถิ่น ปะหนะเอขาเด๊าะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน); ผักแว่น (Peninsular); ผักหนอก (ภาคเหนือ)1
ลักษณะของพืช เป็นไม้เลื้อย มีลาต้นเลื้อยไปตามดินที่เรียกว่าไหล มีรากงอกออกตามข้อของลาต้น ใบงอกออก
จากข้อตั้งตรง สูงประมาณ 10-15 ซม. ก้านใบสีเขียว ใบเดี่ยว รูปร่างกลม ฐานใบโค้งเว้าเข้าหากัน ขอบใบเป็น
คลื่นหยักดอกขนาดเล็ก สีม่วงมัน2
ส่วนที่ใช้ทายา ต้นและใบสด2
สรรพคุณและวิธีใช้รักษาแผลไฟไหม้น้าร้อนลวก
- โดยเอาบัวบกทั้งต้นสด 1 กามือ ล้างให้สะอาดและตาให้ละเอียด คั้นน้า และเอาน้าทาชะโลมบริเวณที่เป็นแผล
ให้ชุ่มอยู่เสมอในชั่วโมงแรก (ใช้กากพอกด้วยก็ได้) ต่อจากนั้น ทาวันละ 3-4 ครั้ง จนหาย2
ผลิตภัณฑ์ครีมใบบัวบก สรรพคุณ ป้ องกันและลดการเกิดแผลเป็นลดการคันจากการขยายตัวของผิวหนัง
บัวบก
ชื่อวิทยาศาตร์ Centella asiatica (Linn.) Urban1
ชื่ออังกฤษ Asiatic Pennywort1
ชื่อท้องถิ่น ปะหนะเอขาเด๊าะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน); ผักแว่น (Peninsular); ผักหนอก (ภาคเหนือ)1
ลักษณะของพืช เป็นไม้เลื้อย มีลาต้นเลื้อยไปตามดินที่เรียกว่าไหล มีรากงอกออกตามข้อของลาต้น ใบงอกออก
จากข้อตั้งตรง สูงประมาณ 10-15 ซม. ก้านใบสีเขียว ใบเดี่ยว รูปร่างกลม ฐานใบโค้งเว้าเข้าหากัน ขอบใบเป็น
คลื่นหยักดอกขนาดเล็ก สีม่วงมัน2
ส่วนที่ใช้ทายา ต้นและใบสด2
สรรพคุณและวิธีใช้รักษาแผลไฟไหม้น้าร้อนลวก
- โดยเอาบัวบกทั้งต้นสด 1 กามือ ล้างให้สะอาดและตาให้ละเอียด คั้นน้า และเอาน้าทาชะโลมบริเวณที่เป็นแผล
ให้ชุ่มอยู่เสมอในชั่วโมงแรก (ใช้กากพอกด้วยก็ได้) ต่อจากนั้น ทาวันละ 3-4 ครั้ง จนหาย2
ผลิตภัณฑ์ครีมใบบัวบก สรรพคุณ ป้ องกันและลดการเกิดแผลเป็นลดการคันจากการขยายตัวของผิวหนัง
บัวหลวง
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Nelumbo nucifera Gaertn.
ชื่อสามัญ : Lotus
วงศ์ : Nelumbonaceae
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เป็นไม้ล้มลุก มีเหง้าและไหลอยู่ใต้ดิน เหง้า จะมีลักษณะเป็นท่อนยาว มีปล้องสี
เหลืองอ่อนจนถึงเหลือง แข็งเล็กน้อย ถ้าตัดตามขวางจะเป็นรูกลมๆ หลายรู ไหลจะเป็นส่วนที่เจริญไปเป็นต้น
ใหม่ ใบ ใบเดี่ยวรูปโล่ ออกสลับ แผ่นใบจะชูเหนือน้า รูปใบเกือบกลม ขนาดใหญ่ ขอบเรียบและเป็นคลื่น ผิวใบมี
นวล ก้านใบแข็งเป็นหนาม ถ้าตัดตามขวางจะเห็นเป็นรูภายใน ก้านใบมีน้ายางขาว เมื่อหักจะมีสายใยสีขาว ใบ
อ่อนสีเทานวล ปลายม้วนงอขึ้นทั้งสองด้าน ก้านใบจะติดตรงกลางแผ่นใบ ดอก เดี่ยว มีสีขาว สีชมพู กลิ่นหอม
บัวหลวงจะเริ่มบานตั้งแต่ตอนเช้า ก้านดอกยาวมีหนามเหมืนก้านใบ ชูดอกเหนือน้า และชูสูงกว่าใบเล็กน้อย กลีบ
เลี้ยง 4- 5 กลีบ ขนาดเล็ก สีขาวอมเขียว หรือสีเทาอมชมพู ร่วงง่าย กลีบดอกมีจานวนมากเรียงซ้อนหลายชั้น เกสร
ตัวผู้มีจานวนมากสีเหลือง ปลายอับเรณูมีระยางคล้ายกระบองเล็กๆ สีขาว เกสรตัวเมียจะฝังอยู่ในฐานรองดอกรูป
กรวยสีเหลืองนวล ผล รูปกลมรีสีเขียวนวล มีจานวนมาก ฝังอยู่ในส่วนที่เป็นรูปกรวย เมื่ออ่อนมีสีเหลือง รูปกรวย
นี้เมื่อเป็นผลแก่จะขยายใหญ่ขึ้นมีสีเทาอมเขียว ที่เรียกว่า "ฝักบัว" มีผลสีเขียวอ่อนฝังอยู่เป็นจานวนมาก
ส่วนที่ใช้: ดีบัว ดอก เกษรตัวผู้เมล็ด ไส้ของเมล็ด ยางจากก้านใบและก้านดอก เง่า ราก
สรรพคุณ :
ดีบัว - มี Methylcorypalline ซึ่งเป็นตัวทาให้เส้นเลือดขยาย
ดอก, เกษรตัวผู้- ขับปัสสาวะ ฝากสมาน ขับเสมหะ บารุงหัวใจ เกษรปรุงเป็นยาหอม ชูกาลัง ทาให้ชื่นใจ ยาสงบ
ประสาท ขับเสมหะ
เหง้าและเมล็ด - รสหวาน เย็น มันเล็กน้อย บารุงกาลัง แก้ร้อนในกระหายน้า แก้เสมหะ แก้พุพอง
เมล็ดอ่อนและแก่ - เมล็ดใช้รับประทานเป็นอาหาร และใช้ทาเป็นแป้ งได้ดี
เหง้าบัวหลวง - ใช้ปรุงเป็นอาหารได้ทั้งคาวหวาน
ไส้ของของเมล็ด – แก้เส้นโลหิตตีบในหัวใจ
ยางจากก้านใบและก้านดอก - แก้ท้องเดิน
ราก - แก้เสมหะ
สารเคมี :
ดอก มีอัลคาลอยด์ ชื่อ nelumbine
embryo มี lotusine
เมล็ด มี alkaloids และ beta-sitosterol
ชเอมเทศ
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Albizia myriophylla Benth.
วงศ์ : Leguminosae - Mimosoideae
ชื่ออื่น : ชะเอมป่า (กลาง) ตาลอ้อย (ตราด) เพาะซูโพ (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน) ย่านงาย (ตรัง) ส้มป่อยหวาน
(ภาคเหนือ) อ้อยช้าง (สงขลา,นราธิวาส)
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถารอเลื้อย ลาต้น กิ่งก้านมีหนามแหลมสั้น เปลือกต้นมีรอยแตกตามขวางลาต้น ใบ
เป็นใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ใบย่อยรูปขอบขนาน ปลายใบรูปใบหอก โคนใบเบี้ยว ขอบใบเรียบ แผ่นใบ
เรียบ ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายยอด มีดอก 2 แบบ ดอกสีเหลืองอ่อน กลีบดอกเล็ก เกสรเพศผู้ยาว
ผล เป็นฝักแบน ผิวเรียบ ฝักอ่อนสีเขียว พอแก่เปลี่ยนเป็นสีน้าตาลและแตกออก
ส่วนที่ใช้: ราก เนื้อไม้
สรรพคุณ :
ราก - แก้ไอ ขับเสมหะ ทาให้ชุ่มคอ ใช้แทนชะเอมเทศ
เนื้อไม้ - บารุงธาตุ แก้กระหายน้า แก้โรคในคอ
วิธีและปริมาณที่ใช้
แก้ไอขับเสมหะ
ใช้รากยาว 2-4 นิ้ว ต้มน้ารับประทาน เช้า-เย็น ถ้าไม่ทุเทา รับประทานติดต่อกัน 2-4 วัน
จาปา
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Michelia champaca L.
ชื่อสามัญ : Champak
วงศ์ : MAGNOLIACEAE
ชื่ออื่น : จาปากอ (มลายู-ใต้) จาปาเขา จาปาทอง (นครศรีธรรมราช) จาปาป่า (สุราษฎร์ธานี) Champak,
Orange Chempaka, Sonchampa
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น สูง 15-30 เมตร ลาต้นเปลาตรง ทรงพุ่มโปร่งเป็นรูปกรวยคว่า สาหรับต้นที่
ปลูกเลี้ยงเป็นไม้ดอกไม้ประดับกันอยู่ทั่วไปนั้น เป็นการคัดเลือกตามธรรมชาติจากต้นที่มีขนาดเล็ก แต่มีดอกดก
ดอกมีขนาดใหญ่และออกดอกได้ตลอดปี ใบ รูปรีแกมรูปขอบขนาน กว้าง 4-9 ซม. ยาว 10-22 ซม. ใบบาง เส้น
แขนงใบ 12-20 คู่ ก้านใบยาว 2-4 ซม. โคนก้านใบป่อง ขอบใบเป็นคลื่นเล็กน้อย ดอกสีเหลืองส้ม ออกตามซอก
ใบ กาบหุ้มดอกสีเขียวอ่อน มี 1 แผ่น ดอกบานตั้งขึ้นและส่งกลิ่นหอมแรง กลีบดอกมี 12-15 กลีบ กลีบนอกรูปใบ
หอก ค่อนข้างกว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 4-4.5 ซม. กลีบในแคบและสั้นกว่า ผล กลุ่ม เป็นช่อยาว ประกอบด้วยผลย่อย
8-40 ผล อยู่รอบแกน ผลย่อยค่อนข้างกลมหรือกลมรี เปลือกหนาแข็ง มีช่องอากาศเป็นจุดเล็กสีขาวอยู่ทั่วไป ผล
แก่แห้งแตกแนวเดียว ขนาดผลย่อยกว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 1.5-2 ซม. ผลอ่อนสีเขียวอ่อนหรือสีน้าตาลอ่อนประจุดสี
ขาว เมล็ด มีเนื้อหุ้ม รูปเสี้ยววงกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-1 ซม. เมล็ดอ่อนมีเนื้อหุ้มสีขาว เมล็ดแก่เนื้อหุ้มสีแดง
ผลย่อยมี 1-6 เมล็ด
ส่วนที่ใช้: ดอก เปลือกต้น เปลือกราก ใบ กระพี้ เนื้อไม้เมล็ด ราก น้ามันกลั่นจากดอก
สรรพคุณ :
ใบ - แก้โรคเส้นประสาทพิการ แก้ป่วงของทารก
ดอก - แก้วิงเวียนอ่อนเพลีย หน้ามืดตาลาย บารุงหัวใจ กระจายโลหิต
เปลือกต้น - ฝาดสมาน แก้ไข้ทาให้เสมหะในลาคอเกิด
เปลือกราก - เป็นยาถ่าย ทาให้ประจาเดือนมาปกติ รักษาโรคปวดตามข้อ
กระพี้ - ถอนพิษผิดสาแดง
เนื้อไม้- บารุงโลหิต
ราก - ขับโลหิตสตรีที่อยู่ในเรือนไฟให้ตก
น้ามันกลั่นจากดอก - แก้ปวดศีรษะ แก้ตาบวม

More Related Content

What's hot

พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยguesta30f391
 
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม Utai Sukviwatsirikul
 
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนานยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนานUdomsak Chundang
 
ติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสดติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสดMa' Nor
 
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้งติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้งMa' Nor
 
ลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรaromdjoy
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖Utai Sukviwatsirikul
 
สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด Patcha Linsay
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยFreesia Gardenia
 
โครงงานต้นสะเดา
โครงงานต้นสะเดาโครงงานต้นสะเดา
โครงงานต้นสะเดาAom Warisara
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานTiwapon Wiset
 
สมุนไพรไล่ยุง
สมุนไพรไล่ยุงสมุนไพรไล่ยุง
สมุนไพรไล่ยุงGuenu Nam
 
Thai herbs @home
Thai herbs @homeThai herbs @home
Thai herbs @homePim_sai
 
Thai herbal-treatment-for-depression
Thai herbal-treatment-for-depressionThai herbal-treatment-for-depression
Thai herbal-treatment-for-depressionWarakamon Udomsri
 

What's hot (20)

แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....แผนไทยและสมุนไพร....
แผนไทยและสมุนไพร....
 
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทยพืชสมุนไพรต่างๆของไทย
พืชสมุนไพรต่างๆของไทย
 
HERB
HERBHERB
HERB
 
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
สมุนไพรไม่ใช่ยาขม
 
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนานยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
ยาสามัญประจำบ้าน 28 ขนาน
 
ติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสดติวสมุนไพรสด
ติวสมุนไพรสด
 
ติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้งติวสมุนไพรแห้ง
ติวสมุนไพรแห้ง
 
ลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพรลูกประคบสมุนไพร
ลูกประคบสมุนไพร
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
ประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่องยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ พ.ศ. ๒๕๕๖
 
สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด สมุนไพรในรั้ววัด
สมุนไพรในรั้ววัด
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทยรายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
รายงานเรื่อง สมุนไพรไทย
 
สมุนไพรไทยโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสน
สมุนไพรไทยโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสนสมุนไพรไทยโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสน
สมุนไพรไทยโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสน
 
โครงงานต้นสะเดา
โครงงานต้นสะเดาโครงงานต้นสะเดา
โครงงานต้นสะเดา
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
สมุนไพรไล่ยุง
สมุนไพรไล่ยุงสมุนไพรไล่ยุง
สมุนไพรไล่ยุง
 
Thai herbs @home
Thai herbs @homeThai herbs @home
Thai herbs @home
 
Thai green th
Thai green thThai green th
Thai green th
 
Thai herbal-treatment-for-depression
Thai herbal-treatment-for-depressionThai herbal-treatment-for-depression
Thai herbal-treatment-for-depression
 

Similar to สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย (20)

กลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดา
กลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดากลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดา
กลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดา
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
อาหาร
อาหารอาหาร
อาหาร
 
ยา
ยายา
ยา
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10Plant ser 126_60_10
Plant ser 126_60_10
 
Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7Plant ser 77_60_7
Plant ser 77_60_7
 
T1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจT1ระบบทางเดินหายใจ
T1ระบบทางเดินหายใจ
 

More from รัตน์ดา ทองดอนเหมือน

ประกาศผลการสอบคัดเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1,2. หลักสูตร Mep. และชั้นป...
ประกาศผลการสอบคัดเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1,2. หลักสูตร Mep. และชั้นป...ประกาศผลการสอบคัดเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1,2. หลักสูตร Mep. และชั้นป...
ประกาศผลการสอบคัดเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1,2. หลักสูตร Mep. และชั้นป...รัตน์ดา ทองดอนเหมือน
 
ประกาศสอบราคาปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน
ประกาศสอบราคาปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียนประกาศสอบราคาปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน
ประกาศสอบราคาปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียนรัตน์ดา ทองดอนเหมือน
 

More from รัตน์ดา ทองดอนเหมือน (9)

ประกาศผลการสอบคัดเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1,2. หลักสูตร Mep. และชั้นป...
ประกาศผลการสอบคัดเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1,2. หลักสูตร Mep. และชั้นป...ประกาศผลการสอบคัดเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1,2. หลักสูตร Mep. และชั้นป...
ประกาศผลการสอบคัดเลือกนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1,2. หลักสูตร Mep. และชั้นป...
 
รับสมัครงานโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสน
รับสมัครงานโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสนรับสมัครงานโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสน
รับสมัครงานโรงเรียนอนุบาลกำแพงแสน
 
ประกาศสอบราคาปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน
ประกาศสอบราคาปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียนประกาศสอบราคาปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน
ประกาศสอบราคาปรับปรุงซ่อมแซมอาคารเรียน
 
เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๑
เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๑เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๑
เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๑
 
เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๒
เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๒เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๒
เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๒
 
ประกาศสอบราคาบ้านพักครู
ประกาศสอบราคาบ้านพักครูประกาศสอบราคาบ้านพักครู
ประกาศสอบราคาบ้านพักครู
 
เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๓
เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๓เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๓
เอกสาร สอบราคาจ้าง เลขที่ ๓
 
ประกาศสอบราคาสนามฟุตบอล
ประกาศสอบราคาสนามฟุตบอลประกาศสอบราคาสนามฟุตบอล
ประกาศสอบราคาสนามฟุตบอล
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 

สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย

  • 1.
  • 2. อ้อยแดง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Saccharum officinarum L. ชื่อสามัญ : Sugar cane วงศ์ : Poaceae (Gramineae) ชื่ออื่น : อ้อย อ้อยขม อ้อยดา (ภาคกลาง) กะที (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ส่วนที่ใช้: ทั้งต้น ต้น น้าอ้อย ผิวของต้นอ้อย มี wax สรรพคุณ : ทั้งต้น - แก้ปัสสาวะพิการ แก้ขัดเบา แก้ช้ารั่ว แก้โรคนิ่ว แก้ไอ ต้น - แก้อาการขัดเบา แก้ปัสสาวะพิการ แก้ไข้ตัวร้อน แก้พิษตานซาง บารุงธาตุน้า แก้ร้อนใน กระหายน้า แก้เสมหะเหนียว ทาให้ชุ่มชื่นในลาคอ ในอก บารุงกาลัง บารุงหัวใจ ขับน้าเหลือง แก้ช้าใน รักษาโรคไซนัส น้าอ้อย - รักษาโรคนิ่ว บารุงหัวใจ ทาให้ชุ่มชื่นในลาคอ แก้เสมหะ แก้หืด ไอ ขับปัสสาวะ บารุงกาลัง เจริญอาหาร เจริญธาตุ ผิวของต้นอ้อย มี Wax เอามาทายา และเครื่องสาอาง วิธีและปริมาณที่ใช้: ขับปัสสาวะ แก้อาการขัดเบา ใช้ลาตันทั้งสดและแห้งขออ้อยแดง วันละ 1 กามือ (สด 70-90 กรัม แห้ง หนัก 30-40 กรัม) หั่นเป็นชิ้นๆ ต้ม กับน้าดื่ม ครั้งละ 1 ถ้วยชา (75 มิลลิลิตร) วันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า-เย็น อ้อยแดงมีฤทธิ์ในทางขับปัสสาวะได้ในหนูขาว กองวิจัยทางการแพทย์กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์รายงาน ว่า อ้อยแดงไม่มีพิษเฉียบพลัน สารเคมี : ราก มี Nitrogenase ต้น มี Alcohols, Phenolic esters and ethers Alkaloids, Amino acids, Asparagine น้าอ้อย มี Cacium , Potassium, Magnesium, Phosphorus, Sulfur ใบ มี 5, 7-Dimethyl-apigenin-4-O-B-D-glycosideส่วน ดอก พบ 5-0-Methyl apigenin
  • 3. ใบระบาด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Argyreia nervosa (Burm.f.) Bojer ชื่อสามัญ : Morning Glory , Baby Hawaiian Woodrose วงศ์ : Convolvulaceae ชื่ออื่น : ผักระบาด (ภาคกลาง) เมืองบอน (กรุงเทพฯ) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถา ยาวได้ถึง 10 เมตร ทุกส่วนมียางสีขาว และขนสีขาวหนาแน่น ใบ ใบเดี่ยว ออก สลับ รูปหัวใจ กว้าง 9 - 25 เซนติเมตร ยาว 11 - 30 เซนติเมตร ปลายแหลม โคนเว้า ด้านล่างมีขนอ่อนนุ่มคล้าย เส้นไหม สีเทาเงิน ดอก สีม่วงอมชมพูออกเป็นช่อตามซอกใบ ก้านช่อแข็ง ยาวประมาณ 20 เซนติเมตร ใบประดับ รูปไข่ ยาว 3 - 5 เซนติเมตร กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ขนาดไม่เท่ากัน กลีบดอกรูปกรวย ยาวประมาณ 6 เซนติเมตรปลาย แผ่ออกและหยักเป็นแฉกตื้น ๆ เมื่อบานเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 6 เซนติเมตร เกสรตัวผู้5 อัน ผลกลม เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ 2 เซนติเมตร ปลายมีติ่ง ส่วนที่ใช้: ใบสด สรรพคุณ : ยารักษาโรคผิวหนัง ผื่นคัน วิธีและปริมาณที่ใช้ ใช้ใบสด 2-3 ใบ นามาล้างให้สะอาด ตาให้ละเอียด ใช้ทาบริเวณที่เป็นโรคผิวหนัง วันละ 2-3 ครั้งติดต่อกัน 3-4 วันจะเห็นผล สารเคมี : เมล็ด( white seed coat exterior) มี cyanogenic glycosides หมายเหตุ : เป็นสมุนไพรที่ใช้เฉพาะภายนอก ห้ามรับประทาน เนื่องจาก ใบ ถ้ารับประทานเข้าไปทาให้คลุ้มคลั่ง ตาพร่า มึนงง เมล็ด ถ้ารับประทานเข้าไปทาให้ประสาทหลอน
  • 4. บานเย็นดอกขาว ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mirabilis jalapa L. ชื่อสามัญ : Marvel of peru , Four-o’clocks วงศ์ : Nyctaginaceae ชื่ออื่น : จันยาม จายาม ตามยาม ตีต้าเช่า (จีน) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ล้มลุกอายุหลายปี มีเง้า สูง 1-1.5 ม. ลาต้นมีสีแดง มีนวลเล็กน้อย ใบรูปไข่ หรือรูป สามเหลี่ยม มีขนประปราย กว้าง 2-9 ซม. ยาว 5-15 ซม. ปลายใบแหลม โคนตัดหรือรูปหัวใจ ก้านใบยาว 1-4 ซม. กลีบประดับรูประฆัง ติดที่ฐาน ยาว 1-1.5 ซม. ดอกเกือบไร้ก้าน มี 4-5 ดอกในแต่ละช่อ บานตอนบ่ายๆ จนถึง ตอนเช้า วงกลีบสีชมพู ม่วง ขาว เหลือง หรือด่าง ยาวประมาณ 3-6 ซม. ปากกลีบมีเส้นผ่านศูนย์กลางยาวประมาณ 2.5-3 ซม. เกศรเพศผู้5 อัน ยื่นออกยาวประมาณ 1 ซม. ก้านเกสรสีแดง อับเรณูทรงกลม รังไข่รูปรี ก้านเกศรเพศ เมียยาวเท่าๆ เกสรเพศผู้สีแดง ปลายเกสรเป็นตุ่ม เป็นพูตื้นๆ ผลรูปกลมรี สีดา ขนาดประมาณ ยาว 0.5-0.9 ซม. เปลือกบาง มี 5 สัน เมล็ดกลม ขนาดประมาณ 0.7 ซม. บานเย็นมีถิ่นกาเนิดในประเทศเปรู มีเขตการกระจายพันธุ์ เฉพาะในทวีปอเมริกาใต้นิยมปลูกเป็นไม้ประดับทั่วไป โดยเฉพาะดอกสีชมพู บางครั้งขึ้นเป็นวัชพืช ส่วนที่ใช้: ราก ใบ หัว สรรพคุณ : ราก - มี alkaloid trigonelline ซึ่งมีฤทธิ์เป็นยาถ่าย ใบ - ตาทาแก้คัน และ พอกฝี หัว - รับประทานจะทาให้หนังชาอยู่คงกะพันเฆี่ยนตีไม่แตกกลับทาให้รู้สึกคัน - รับประทานเป็นยาขับเหงื่อ แก้ไข้ระงับความร้อน
  • 5. บุนนาค ชื่อวิทยาศาสตร์ : Mesua ferrea L. ชื่อสามัญ : Iron wood, Indian rose chestnut วงศ์ : GUTTIFERAE ชื่ออื่น : ก๊าก่อ ก้าก่อ นาคบุตร ปะนาคอ สารภีดอย ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ สูงประมาณ 15-25 เมตร เรือนยอดเป็นพุ่มทึบ ไม่ผลัด ใบ ใบ เป็นใบเดี่ยว แผ่นใบหนา รูปหอกหรือรูปขอบขนานแกมรูปหอก ขนาดกว้าง 2-3 ซม. ยาว 8-12 ซม. ปลาย ใบเรียวแหลม โคนใบสอบ ผิวใบเรียบเกลี้ยง ท้องใบมีคราบขาวปกคลุม ดอก เป็นดอกเดี่ยว หรือเกิดเป็นกระจุก ตามง่ามใบ กลีบดอกสีขาวจนถึงสีเหลืองอ่อน ออกดอกระหว่างช่วงฤดูร้อนถึงฤดูฝน ผล รูปไข่ ส่วนปลายโค้ง แหลม โดยยังมีส่วนกลีบรองดอกขยายใหญ่ขึ้นติดอยู่ภายในมีเมล็ด 1-2 เมล็ด ส่วนที่ใช้: ดอกสดและแห้ง ผล ใบ แก่น ราก เปลือก กระพี้ สรรพคุณ : ดอก - กลั่นให้น้ามันหอมระเหย ใช้ในการอบเครื่องหอมได้ดี ใช้แต่งกลิ่นสบู่ ดอกแห้ง - ใช้เข้ายาหอม แต่งกลิ่นแต่งรสทาให้รับประทานง่าย เป็นยาหอมบารุงดวงจิตให้ชุ่มชื่น บารุงหัวใจ เป็น ยาขับเสมหะบารุงโลหิต แก้ร้อนกระสับกระส่าย แก้ลมกองละเอียด ซึ่งทาให้หน้ามืดวิงเวียนใจสั่น อ่อนเพลีย หัวใจหวิว ทาให้ชูกาลัง ผล - ขับเหงื่อ ฝาดสมาน ใบ - รักษาบาดแผลสด พอกบาดแผลสด แก้พิษงู แก่น - แก้เลือดออกตามไรฟัน ราก - ขับลมในลาไส้ เปลือก - ฟอกน้าเหลือง กระจายหนอง กระพี้ - แก้เสมหะในคอ
  • 6. บอระเพ็ด ชื่อวิทยาศาสตร์ : Tinospora crispa (L.) Miers ex Hook.f.& Thomson วงศ์ : Menispermaceae ชื่ออื่น : ตัวเจตมูลยาน เถาหัวด้วน (สระบุรี) หางหนู (สระบุรี,อุบลราชธานี) จุ่งจิง เครือเขาฮอ (ภาคเหนือ) เจตมูล หนาม (หนองคาย) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถาเลื้อยพาดพันต้นไม้อื่น เถากลมมีขนาดใหญ่เป็นปุ่มปม สีเทาอมดา มีรสขม เปลือกลอกออกได้ใบ เป็นใบเดี่ยว ออกเรียงสลับ รูปหัวใจ ขอบใบเรียบ แผ่นใบเรียบ สีเขียว ก้านใบยาว 8-10 ซม. ดอก ออกตามซอกใบ ดอกแยกเพศอยู่คนละช่อ ดอกสีเขียวอมเหลือง มีขนาดเล็กมาก ผล รูปทรงค่อนข้าง กลม สีเหลืองหรือสีแดง ส่วนที่ใช้: ราก ต้น ใบ ดอก ผล ส่วนทั้ง 5 เถาสด สรรพคุณ : ราก - แก้ไข้เหนือ ไข้สันนิบาต แก้ไข้พิษ ไข้จับสั่น - ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้ - เจริญอาหาร ต้น - แก้ไข้แก้ไข้พิษ แก้ไข้กาฬ แก้ไข้เหนือ - บารุงกาลัง บารุงธาตุ - แก้อาการแทรกซ้อน ขณะที่เป็นไข้ทรพิษ - แก้ไข้เพื่อโลหิต แก้เลือดพิการ - แก้ร้อนในกระหายน้า แก้สะอึก แก้พิษฝีดาษ - เป็นยาขมเจริญอาหาร
  • 7. - เป็นยาอายุวัฒนะ ใบ - แก้ไข้แก้ไข้พิษ แก้ไข้กาฬ แก้ไข้จับสั่น - ขับพยาธิ แก้ปวดฝี - บารุงธาตุ - ยาลดความร้อน - ทาให้ผิวพรรณผ่องใส หน้าตาสดชื่น - รักษาโรคผิวหนัง ผดผื่นคันตามร่างกาย - ช่วยให้เสียงไพเราะ - แก้โลหิตคั่งในสมอง - เป็นยาอายุวัฒนะ ดอก - ฆ่าพยาธิในท้อง ในฟัน ในหู ผล - แก้เสมหะเป็นพิษ แก้ไข้พิษ - แก้สะอึก และสมุฎฐานกาเริบ ส่วนทั้ง 5 บาบัดรักษาโรค ดังนี้ - เป็นยาอายุวัฒนะ แก้ปวดเมื่อย แก้ไข้ปวดศีรษะ รักษาฟัน รักษาโรคริดสีดวงทวาร ช่วยให้เจริญอาหาร แก้ฝี มดลูก ฝีมุตกิต แก้ร้อนใน รักษาโรคเบาหวาน ลดความร้อน แก้ดีพิการ แก้เสมหะ เลือดลม แก้ไข้จับสั่น วิธีการและปริมาณที่ใช้: ใช้เป็นยารักษาอาการดังนี้ อาการไข้ลดความร้อน - ใช้เถาแก่สด หรือต้นสด ครั้งละ 2 คืบครึ่ง (30-40 กรัม) ตาคั้นเอาน้าดื่ม หรือต้มกับน้าโดยใช้น้า 3 ส่วน ต้ม เคี่ยวให้เหลือ 1 ส่วน ดื่มวันละ 2 ครั้ง ก่อนอาหารเช้า-เย็น หรือเวลามีอาการ - หรือใช้เถาสด ดองเหล้า ความแรง 1 ใน 10 รับประทานครั้งละ 1 ช้อนชา ของยาที่เตรียมแล้ว เป็นยาขมช่วยเจริญอาหาร เมื่อมีอาการเบื่ออาหาร โดยใช่ขนาดและวิธีการเช่นเดียวกับใช้แก้ไข้ สารเคมี : ประกอบด้วยแคลคาลอยด์หลายชนิด เช่น Picroretine, berberine นอกจากนี้ยังประกอบด้วย colonbin, tintotuberide, N - trans - feruloyltyramine, N - cisferuloytyramine, phytosterol, methylpentose
  • 8. บอระเพ็ด ชื่อวิทยาศาตร์ Tinospora crispa (L.) Miers ex Hook. f. & Thoms.1 ชื่ออังกฤษ - ชื่อท้องถิ่น เครือเขาฮอ จุ่งจิง (ภาคเหนือ); เจตมูลหนาม (หนองคาย); ตัวเจตมูลยาน เถาหัวด้วน (สระบุรี); หาง หนู (อุบลราชธานี)1 ลักษณะของพืช เป็นไม้เถาลาต้นมีตุ่มปมทั่วไป ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของลาต้น 1-1.5 ซม. เปลือกสีเทาอม เขียว ขึ้นเกาะเกี่ยวคลุมไปตามต้นไม้อื่น มักจะมีรากอากาศคล้ายเส้นเชือกเส้นเล็กๆ ห้อยย้อยลงมาเป็นสาย ใบเป็น ชนิดใบเดี่ยว รูปใบพลู หรือรูปหัวใจค่อนข้างกลม โคนใบหยักเว้าลึก ปลายใบหยักคอดเป็นติ่งสั้นๆ ผิวใบบางมี ขนประปราย ท้องใบออกสีนวลอ่อนๆ ส่วนหลังใบเขียว ขอบใบเรียบ เส้นใบจากจุดโคนใบจะมี 5-7 เส้น ดอก เล็กสีเหลืองอ่อน ออกรวมกันเป็นช่อตามปมของลาต้นเป็นกระจุกๆ ช่อเรียว อ่อน ยาว 5-20 ซม. มีขนทั่วไป ทั้ง กลีบดอกและกลีบรองกลีบดอกมีอย่างละ 6 กลีบ เกลี้ยงๆ ส่วนเกสรผู้มี 6 อัน ผลกลมรี ๆ มีเนื้อเยื่อบาง ๆ หุ้ม เมล็ด2 ส่วนที่ใช้ทายา เถาหรือลาต้นสด3 สรรพคุณและวิธีใช้แก้ไข้ - ใช้ครั้งละ 2.5 คืบ (30-40 กรัม) ตาคั้นเอาน้าดื่มหรือดื่มก่อนอาหารวันละ 2 ครั้ง เช้าและเย็น หรือเวลามีอาการ
  • 9. บัวบก ชื่อวิทยาศาตร์ Centella asiatica (Linn.) Urban1 ชื่ออังกฤษ Asiatic Pennywort1 ชื่อท้องถิ่น ปะหนะเอขาเด๊าะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน); ผักแว่น (Peninsular); ผักหนอก (ภาคเหนือ)1 ลักษณะของพืช เป็นไม้เลื้อย มีลาต้นเลื้อยไปตามดินที่เรียกว่าไหล มีรากงอกออกตามข้อของลาต้น ใบงอกออก จากข้อตั้งตรง สูงประมาณ 10-15 ซม. ก้านใบสีเขียว ใบเดี่ยว รูปร่างกลม ฐานใบโค้งเว้าเข้าหากัน ขอบใบเป็น คลื่นหยักดอกขนาดเล็ก สีม่วงมัน2 ส่วนที่ใช้ทายา ต้นและใบสด2 สรรพคุณและวิธีใช้รักษาแผลไฟไหม้น้าร้อนลวก - โดยเอาบัวบกทั้งต้นสด 1 กามือ ล้างให้สะอาดและตาให้ละเอียด คั้นน้า และเอาน้าทาชะโลมบริเวณที่เป็นแผล ให้ชุ่มอยู่เสมอในชั่วโมงแรก (ใช้กากพอกด้วยก็ได้) ต่อจากนั้น ทาวันละ 3-4 ครั้ง จนหาย2 ผลิตภัณฑ์ครีมใบบัวบก สรรพคุณ ป้ องกันและลดการเกิดแผลเป็นลดการคันจากการขยายตัวของผิวหนัง บัวบก ชื่อวิทยาศาตร์ Centella asiatica (Linn.) Urban1 ชื่ออังกฤษ Asiatic Pennywort1 ชื่อท้องถิ่น ปะหนะเอขาเด๊าะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน); ผักแว่น (Peninsular); ผักหนอก (ภาคเหนือ)1
  • 10. ลักษณะของพืช เป็นไม้เลื้อย มีลาต้นเลื้อยไปตามดินที่เรียกว่าไหล มีรากงอกออกตามข้อของลาต้น ใบงอกออก จากข้อตั้งตรง สูงประมาณ 10-15 ซม. ก้านใบสีเขียว ใบเดี่ยว รูปร่างกลม ฐานใบโค้งเว้าเข้าหากัน ขอบใบเป็น คลื่นหยักดอกขนาดเล็ก สีม่วงมัน2 ส่วนที่ใช้ทายา ต้นและใบสด2 สรรพคุณและวิธีใช้รักษาแผลไฟไหม้น้าร้อนลวก - โดยเอาบัวบกทั้งต้นสด 1 กามือ ล้างให้สะอาดและตาให้ละเอียด คั้นน้า และเอาน้าทาชะโลมบริเวณที่เป็นแผล ให้ชุ่มอยู่เสมอในชั่วโมงแรก (ใช้กากพอกด้วยก็ได้) ต่อจากนั้น ทาวันละ 3-4 ครั้ง จนหาย2 ผลิตภัณฑ์ครีมใบบัวบก สรรพคุณ ป้ องกันและลดการเกิดแผลเป็นลดการคันจากการขยายตัวของผิวหนัง
  • 11. บัวหลวง ชื่อวิทยาศาสตร์ : Nelumbo nucifera Gaertn. ชื่อสามัญ : Lotus วงศ์ : Nelumbonaceae ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : เป็นไม้ล้มลุก มีเหง้าและไหลอยู่ใต้ดิน เหง้า จะมีลักษณะเป็นท่อนยาว มีปล้องสี เหลืองอ่อนจนถึงเหลือง แข็งเล็กน้อย ถ้าตัดตามขวางจะเป็นรูกลมๆ หลายรู ไหลจะเป็นส่วนที่เจริญไปเป็นต้น ใหม่ ใบ ใบเดี่ยวรูปโล่ ออกสลับ แผ่นใบจะชูเหนือน้า รูปใบเกือบกลม ขนาดใหญ่ ขอบเรียบและเป็นคลื่น ผิวใบมี นวล ก้านใบแข็งเป็นหนาม ถ้าตัดตามขวางจะเห็นเป็นรูภายใน ก้านใบมีน้ายางขาว เมื่อหักจะมีสายใยสีขาว ใบ อ่อนสีเทานวล ปลายม้วนงอขึ้นทั้งสองด้าน ก้านใบจะติดตรงกลางแผ่นใบ ดอก เดี่ยว มีสีขาว สีชมพู กลิ่นหอม บัวหลวงจะเริ่มบานตั้งแต่ตอนเช้า ก้านดอกยาวมีหนามเหมืนก้านใบ ชูดอกเหนือน้า และชูสูงกว่าใบเล็กน้อย กลีบ เลี้ยง 4- 5 กลีบ ขนาดเล็ก สีขาวอมเขียว หรือสีเทาอมชมพู ร่วงง่าย กลีบดอกมีจานวนมากเรียงซ้อนหลายชั้น เกสร ตัวผู้มีจานวนมากสีเหลือง ปลายอับเรณูมีระยางคล้ายกระบองเล็กๆ สีขาว เกสรตัวเมียจะฝังอยู่ในฐานรองดอกรูป กรวยสีเหลืองนวล ผล รูปกลมรีสีเขียวนวล มีจานวนมาก ฝังอยู่ในส่วนที่เป็นรูปกรวย เมื่ออ่อนมีสีเหลือง รูปกรวย นี้เมื่อเป็นผลแก่จะขยายใหญ่ขึ้นมีสีเทาอมเขียว ที่เรียกว่า "ฝักบัว" มีผลสีเขียวอ่อนฝังอยู่เป็นจานวนมาก ส่วนที่ใช้: ดีบัว ดอก เกษรตัวผู้เมล็ด ไส้ของเมล็ด ยางจากก้านใบและก้านดอก เง่า ราก สรรพคุณ : ดีบัว - มี Methylcorypalline ซึ่งเป็นตัวทาให้เส้นเลือดขยาย ดอก, เกษรตัวผู้- ขับปัสสาวะ ฝากสมาน ขับเสมหะ บารุงหัวใจ เกษรปรุงเป็นยาหอม ชูกาลัง ทาให้ชื่นใจ ยาสงบ ประสาท ขับเสมหะ เหง้าและเมล็ด - รสหวาน เย็น มันเล็กน้อย บารุงกาลัง แก้ร้อนในกระหายน้า แก้เสมหะ แก้พุพอง เมล็ดอ่อนและแก่ - เมล็ดใช้รับประทานเป็นอาหาร และใช้ทาเป็นแป้ งได้ดี เหง้าบัวหลวง - ใช้ปรุงเป็นอาหารได้ทั้งคาวหวาน ไส้ของของเมล็ด – แก้เส้นโลหิตตีบในหัวใจ ยางจากก้านใบและก้านดอก - แก้ท้องเดิน ราก - แก้เสมหะ
  • 12. สารเคมี : ดอก มีอัลคาลอยด์ ชื่อ nelumbine embryo มี lotusine เมล็ด มี alkaloids และ beta-sitosterol
  • 13. ชเอมเทศ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Albizia myriophylla Benth. วงศ์ : Leguminosae - Mimosoideae ชื่ออื่น : ชะเอมป่า (กลาง) ตาลอ้อย (ตราด) เพาะซูโพ (กะเหรี่ยงแม่ฮ่องสอน) ย่านงาย (ตรัง) ส้มป่อยหวาน (ภาคเหนือ) อ้อยช้าง (สงขลา,นราธิวาส) ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้เถารอเลื้อย ลาต้น กิ่งก้านมีหนามแหลมสั้น เปลือกต้นมีรอยแตกตามขวางลาต้น ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนกสองชั้น ใบย่อยรูปขอบขนาน ปลายใบรูปใบหอก โคนใบเบี้ยว ขอบใบเรียบ แผ่นใบ เรียบ ดอก ออกเป็นช่อตามซอกใบและปลายยอด มีดอก 2 แบบ ดอกสีเหลืองอ่อน กลีบดอกเล็ก เกสรเพศผู้ยาว ผล เป็นฝักแบน ผิวเรียบ ฝักอ่อนสีเขียว พอแก่เปลี่ยนเป็นสีน้าตาลและแตกออก ส่วนที่ใช้: ราก เนื้อไม้ สรรพคุณ : ราก - แก้ไอ ขับเสมหะ ทาให้ชุ่มคอ ใช้แทนชะเอมเทศ เนื้อไม้ - บารุงธาตุ แก้กระหายน้า แก้โรคในคอ วิธีและปริมาณที่ใช้ แก้ไอขับเสมหะ ใช้รากยาว 2-4 นิ้ว ต้มน้ารับประทาน เช้า-เย็น ถ้าไม่ทุเทา รับประทานติดต่อกัน 2-4 วัน
  • 14. จาปา ชื่อวิทยาศาสตร์ : Michelia champaca L. ชื่อสามัญ : Champak วงศ์ : MAGNOLIACEAE ชื่ออื่น : จาปากอ (มลายู-ใต้) จาปาเขา จาปาทอง (นครศรีธรรมราช) จาปาป่า (สุราษฎร์ธานี) Champak, Orange Chempaka, Sonchampa ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ต้น สูง 15-30 เมตร ลาต้นเปลาตรง ทรงพุ่มโปร่งเป็นรูปกรวยคว่า สาหรับต้นที่ ปลูกเลี้ยงเป็นไม้ดอกไม้ประดับกันอยู่ทั่วไปนั้น เป็นการคัดเลือกตามธรรมชาติจากต้นที่มีขนาดเล็ก แต่มีดอกดก ดอกมีขนาดใหญ่และออกดอกได้ตลอดปี ใบ รูปรีแกมรูปขอบขนาน กว้าง 4-9 ซม. ยาว 10-22 ซม. ใบบาง เส้น แขนงใบ 12-20 คู่ ก้านใบยาว 2-4 ซม. โคนก้านใบป่อง ขอบใบเป็นคลื่นเล็กน้อย ดอกสีเหลืองส้ม ออกตามซอก ใบ กาบหุ้มดอกสีเขียวอ่อน มี 1 แผ่น ดอกบานตั้งขึ้นและส่งกลิ่นหอมแรง กลีบดอกมี 12-15 กลีบ กลีบนอกรูปใบ หอก ค่อนข้างกว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 4-4.5 ซม. กลีบในแคบและสั้นกว่า ผล กลุ่ม เป็นช่อยาว ประกอบด้วยผลย่อย 8-40 ผล อยู่รอบแกน ผลย่อยค่อนข้างกลมหรือกลมรี เปลือกหนาแข็ง มีช่องอากาศเป็นจุดเล็กสีขาวอยู่ทั่วไป ผล แก่แห้งแตกแนวเดียว ขนาดผลย่อยกว้าง 1-1.5 ซม. ยาว 1.5-2 ซม. ผลอ่อนสีเขียวอ่อนหรือสีน้าตาลอ่อนประจุดสี ขาว เมล็ด มีเนื้อหุ้ม รูปเสี้ยววงกลม เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.5-1 ซม. เมล็ดอ่อนมีเนื้อหุ้มสีขาว เมล็ดแก่เนื้อหุ้มสีแดง ผลย่อยมี 1-6 เมล็ด ส่วนที่ใช้: ดอก เปลือกต้น เปลือกราก ใบ กระพี้ เนื้อไม้เมล็ด ราก น้ามันกลั่นจากดอก สรรพคุณ : ใบ - แก้โรคเส้นประสาทพิการ แก้ป่วงของทารก ดอก - แก้วิงเวียนอ่อนเพลีย หน้ามืดตาลาย บารุงหัวใจ กระจายโลหิต เปลือกต้น - ฝาดสมาน แก้ไข้ทาให้เสมหะในลาคอเกิด เปลือกราก - เป็นยาถ่าย ทาให้ประจาเดือนมาปกติ รักษาโรคปวดตามข้อ
  • 15. กระพี้ - ถอนพิษผิดสาแดง เนื้อไม้- บารุงโลหิต ราก - ขับโลหิตสตรีที่อยู่ในเรือนไฟให้ตก น้ามันกลั่นจากดอก - แก้ปวดศีรษะ แก้ตาบวม