SlideShare a Scribd company logo
1 of 27
Download to read offline
พืช FAMILY OXALIDACEAE
งานนาเสนอการสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวนพฤกษศาสตร์
โรงเรียนเตรียมอุดมศึกษา
รายวิชาชีววิทยา 6 (ว 30246) ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2560
ครูผู้สอน
 ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์
 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
 สาขาชีววิทยา
จัดทำโดย
(เรียงจากซ้ายไปขวา)
นายธนนท์ โชคครรชิตไชย เลขที่ 33
นายณัฐเศรษฐ พัฒนาดี เลขที่ 32
นายธนภณ จ้องจรัสแสง เลขที่ 35
นางสาวชตาทิพ มิตรเกื้อกูล เลขที่ 3
นางสาวอติภา ศรีไพโรจน์ เลขที่ 26
นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 126
แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
คำนำ
รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา5 ว30246 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยมีจุดประสงค์เพื่อนาเสนอ
การสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวนพฤกษศาสตร์ ในการจัดทาสื่อการเรียนรู้ในครั้งนี้
ผู้จัดทาขอขอบคุณ คุณครู วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ผู้ให้ความรู้ และแนวทางการศึกษา เพื่อน ๆ ทุกคนที่ให้ ความ
ช่วยเหลือมาโดยตลอด ผู้จัดทาหวังว่างานนาเสนอชุดนี้จะให้ความรู้ และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุก ๆ ท่าน
CONTENT
1. Biophytum umbraculum Welw.
2. Oxalis corniculata L.
3. Oxalis purpurea SP.
4. Biophytum sensitivum
5. Oxalis priceae
6. Oxalis triangularis
7. Oxalis corymbosa DC.
8. Oxalis depressa
9. Oxalis tetraphylla
10. Averrhoa carambola
11. Oxalis pes-caprae
12. Oxalis tuberosa
13. Averrhoa acida
14. Oxalis acetosella
15. Oxalis stricta
1. กระทืบยอบ
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Biophytum umbraculum Welw.
ลักษณะ : ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 15 ซม. ใบประกอบมีใบย่อย 3-9 คู่ แกนกลางยาวได้
ถึง 3.5 ซม. ใบย่อยรูปรี รูปไข่ หรือเกือบกลม เบี้ยว ยาว 2-8 มม. เส้นแขนงใบมีจานวนไม่
มาก เกือบตั้งฉากเส้นกลางใบ ไร้ก้าน ช่อดอกไร้ก้านหรือมีก้านยาวได้ถึง 3 ซม. ออกแน่นที่
ยอด ก้านดอกยาว 1-3 มม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอกแกมรูปไข่ ยาว 3-5 มม. ติดทน ดอกสี
เหลืองอมส้ม โคนด้านในสีเหลือง กลีบรูปใบหอก ยาว 0.6-1 ซม. ปลายกลม ผลรูปรีหรือรูป
ไข่ ยาว 3-4 มม. แต่ละซีกมี 3-4 เมล็ด
แหล่งที่พบ : แอฟริกา มาดากัสการ์ อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า เวียดนาม ภูมิภาค
มาเลเซีย นิวกินี และฟิลิปปินส์ ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง หรือชายป่า
ดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร
Biophytum umbraculum Welw.
ผู้รับผิดชอบ : อติภา ศรีไพโรจน์
ประโยชน์ : ตารายาไทยใช้ ทั้งต้น ต้มน้าดื่ม แก้ไข้ ขับปัสสาวะ รักษา
อาการปัสสาวะเป็นเลือดและปวด
ชื่อพ้อง : Biophytum petersianum Klotzsch
ชื่ออื่น : กระทืบยอบ (ทั่วไป); ทืบยอด (สุราษฎร์ธานี); นกเขาเง้า
(นครราชสีมา); ห่อตูปลู (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน)
ผู้รับผิดชอบ : อติภา ศรีไพโรจน์
1. กระทืบยอบ
Biophytum umbraculum Welw.
2. ผักแว่น
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oxalis corniculata L.
ลักษณะ : ไม้ล้มลุกเกาะเลื้อย มีรากตามข้อ หูใบขนาดเล็ก ใบประกอบมี 3 ใบ
ย่อย เรียงเวียน ใบย่อยรูปรีแกมรูปหัวใจกลับ กว้าง 0.5-2 ซม. สีเขียวหรือสีม่วงอมแดง
ปลายเว้าลึก แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นนุ่ม ก้านใบส่วนมากยาว 1-2 ซม. หรือยาวได้ถึง 10 ซม.
ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม ส่วนมากมี 1-5 ดอก ก้านช่อมักยาวกว่าก้านใบ ใบประดับมี 1 คู่ รูปใบ
หอก ยาว 2-4 มม. ก้านดอกยาว 0.4-2 ซม. มีขนหนาแน่น กลีบเลี้ยง 5 กลีบเรียงซ้อน
เหลื่อม รูปใบหอก ติดทน ยาว 3.5-5 มม. ขอบมีขนครุย ดอกสีเหลือง มี 5 กลีบ รูปใบพาย
ยาว 0.3-1 ซม. ก้านกลีบสั้น ๆ มี 5 คาร์เพล เชื่อมติดกัน ออวุลเรียงเป็นแถว 1-2 แถว ก้าน
เกสรเพศเมีย 5 อัน ผลแห้งแตก รูปทรงกระบอก ยาว 0.8-2.5 ซม. มีขน ส่วนผนังติดอยู่กับ
แกนกลางเมื่อแตก แต่ละช่องมี 5-14 เมล็ด มีเยื่อหุ้มที่ดีดเมล็ดออกหลังร่วง (ejaculatory)
Oxalis corniculata L.
ผู้รับผิดชอบ : อติภา ศรีไพโรจน์
แหล่งที่พบ : พบทั่วไปในเขตร้อน ไม่ทราบถิ่นกาเนิดที่แน่นอน
ประโยชน์ : น้าสกัดจากใบมีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง
ชื่อพ้อง : Oxalis repens Thunb.
ชื่อสามัญ : Creeping woodsorrel, Procumbent yellow-sorrel,
Sleeping beauty,
ชื่ออื่น : ผักแว่น (ภาคกลาง); ส้มดิน (แม่ฮ่องสอน); ส้มสังกา, ส้มสามตา
(เชียงใหม่); สังส้ม (แพร่); หญ้าตานทราย (แม่ฮ่อนสอน)
ผู้รับผิดชอบ : อติภา ศรีไพโรจน์
2. ผักแว่น
Oxalis corniculata L.
3. ผีเสื้อรำตรี
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oxalis purpurea SP.
ชื่อสามัญ : Indian Park
ลักษณะ : ไม้ล้มลุกลักษณะของมันคือมีหัวมีลักษณะของใบที่คล้ายกับนิ้วมือคน ซึ่งสี
ของใบนั้นเป็นสีม่วงเข้มแกมเขียวลักษณะเป็นสามเหลี่ยมมักจะเรียงกันเป็นแนววงกลมโดยใบ
ของมันจะหันมุมที่เป็นเหลี่ยมมาชนกัน ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับผีเสื้อนั่นเองนอกจากนี้ใบของต้น
ผีเสื้อกลางคืนก็จะหุบในช่วงกลางคืนอย่างเช่นพืชทั่วๆ ไปด้วยต้นผีเสื้อกลางคืนออกดอกเป็น
ดอกเดี่ยวในก้านเดียว โดยด้านของต้นผีเสื้อราตรีจะออกมาจากลาต้นโดยตรง สีของดอกจะ
ออกชมพูแกมม่วง 1 ดอก มี 5 กลีบ เป็นดอกแบบสมบูรณ์เพศซึ่งหมายความว่าในดอกเดียวนั้น
มีทั้งเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย
แหล่งที่พบ : ชุมชนตาบลปางสวรรค์ ประโยชน์ : ปลูกประดับบ้าน
Oxalis purpurea SP.
ผู้รับผิดชอบ : อติภา ศรีไพโรจน์
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Biophytum sensitivum
 ชื่อสามัญ : -
 ชื่ออื่น : กระทืบยอบ คันร่ม เช้ายอบ ไมยราบ (ภาคกลาง), จิยอบต้นตาล
(ภาคเหนือ), หน่อปีเหมาะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), หัวใจไมยราบ (ภาคใต้)
 ลักษณะต่างๆของพืช : ไม้ล้มลุก ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ รูปรีแกมรูปขอบ
ขนาน กลีบดอกสีเหลือง มีเส้นสีม่วงตามยาวตรงปลายกลีบ
 แหล่งที่พบ : มีถิ่นกาเนิดในอเมริกาใต้และอเมริกากลาง
 ประโยชน์ : ใช้น้าต้มจากรากกินแก้โรคหนองในและโรคนิ่วในถุงน้าดี น้าต้ม
จากทั้งต้นแก้โรคเบาหวาน
4. Biophytum sensitivum
ผู้รับผิดชอบ : นายธนภณ
จ้องจรัสแสง
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oxalis priceae
 ชื่อสามัญ : -
 ชื่ออื่น : -
 ลักษณะต่างๆของพืช : ไม้ล้มลุก ใบประกอบกลีบดอกสีเหลือง มีเส้นแดง
ตามยาวตรงกลางกลีบ
 แหล่งที่พบ: มีถิ่นกาเนิดในอเมริกาเหนือ
 ประโยชน์ : ใช้เป็นส่วนผสมของยาบางชนิดผู้รับผิดชอบ : นายธนภณ
จ้องจรัสแสง
5. Oxalis priceae
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oxalis triangularis
 ชื่อสามัญ : Purple shamrock, Love plant
 ชื่ออื่น : ปีกผีเสื้อ,ผีเสื้อราตรี
 ลักษณะต่างๆของพืช :ไม้ล้มลุก ใบประกอบแบบนิ้วมือ ออกดอกเป็นช่อสี
ชมพู สีขาว หรือสีม่วงอ่อน
 แหล่งที่พบ : มีถิ่นกาเนิดในประเทศบราซิล
 ประโยชน์ : ปลูกเป็นไม้กระถาง ไม้แขวนหรือปลูกลงแปลงคลุมดิน
ผู้รับผิดชอบ : นายธนภณ จ้องจรัสแสง
6. Oxalis triangularis
7. ผักแว่นดอย
ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oxalis corymbosa DC.
ชื่ออื่น : ปุ้มฟ้า
ลักษณะ : พืชล้มลุก มีลาต้นใต้ดิน สูง 5-20 ซม. ใบเป็นใบประกอบมี 3 ใบย่อยรูปหัวใจ
กว้าง 1.5-5 ซม. ยาว 1.5-4.5 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบเว้า ขอบใบและก้านใบมีขนประปราย
ก้านใบยาวถึง 30 ซม. ดอกสีม่วงแดง โคนกลีบสีจาง มีเส้นสีแดงตามยาว ออกเป็นช่อ 2-5 ดอก
ดอกบานขนาด 1.2-1.5 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่แกมขอบขนาน ปลายมน เกสรผู้ 10 อัน สั้น
5 อัน ยาว 5 อัน ยอดเกสรเมียปลายแยกเป็น 5 แฉก ผลเป็นผลแห้งแก่แล้วแตก เมล็ดขนาดเล็ก
มากคล้ายฝุ่น
แหล่งที่พบ : ประเทศเขตร้อนทั่วไป
ประโยชน์ : ชาวพื้นบ้านนาใบใช้รับประทานแทนมะขามให้รสเปรี้ยว
Oxalis corymbosa DC.
ผู้รับผิดชอบ : ชตาทิพ มิตรเกื้อกูล
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oxalis depressa
 ชื่อสามัญ : -
 ชื่ออื่น : -
 ลักษณะต่างๆของพืช : ไม้ล้มลุก ใบประกอบ กลีบดอกสีชมพูขาวและมีสี
เหลืองตรงกลาง
 แหล่งที่พบ : มีถิ่นกาเนิดในแอฟริกาใต้
 ประโยชน์ : ใช้เป็นไม้ประดับ
8. Oxalis depressa
ผู้รับผิดชอบ : ชตาทิพ มิตรเกื้อกูล
 ชื่อวิทยาศาสตร์: Oxalis tetraphylla
 ชื่อสามัญ: "Iron Cross"
 ชื่ออื่นๆ: -
 ลักษณะต่างๆของพืช: มีใบแบ่งออกเป็นสี่และได้รับการเรียกว่า "ใบโชคดี" และ
แม้กระทั่ง "สี่ใบโคลเวอร์" แต่ก็ไม่ได้เป็นโคลเวอร์ที่แท้จริง
 แหล่งที่พบ: สหรัฐอเมริกา อเมริกาใต้ แอฟริกา
 ประโยชน์: เป็นที่นิยมใช้เป็นไม้ประดับ นอกจากนี้ยังกินได้ดอกและใบที่มีรสมะนาว
คม อย่างไรก็ตามเนื่องจากกรด oxalic ในพืชสามารถแทรกแซงกับการดูดซึม
สารอาหารบางชนิดในร่างกายโดยเฉพาะอย่างยิ่งแคลเซียมมากเกินไปอาจเป็น
อันตรายได้
ผู้รับผิดชอบ : ชตาทิพ มิตรเกื้อกูล
9. Oxalis tetraphylla
10. มะเฟือง
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Averrhoa carambola
 ชื่อสามัญ : มะเฟือง
 ชื่ออื่นๆ : -
 ลักษณะต่างๆของพืช : ไม้ผลยืนต้นขนาดกลาง ลักษณะเป็นทรงพุ่ม ซึ่งมีทั้ง
ลักษณะตั้งตรง และกึ่งเลื้อย ลาต้นและกิ่งเป็นไม้เนื้ออ่อน แกนกลางมีไส้
คล้ายฟองน้ามีสีแดงอ่อน ใบประกอบสีเขียว ประกอบด้วยใบย่อย 5-11 ใบ
ออกดอกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง และตาข้างตามกิ่งและลาต้น มีดอกสีชมพูอ่อนไป
จนถึงเกือบแดง ผลมีก้นแหลมเป็นเหลี่ยมมีร่องลักษณะเป็นพูประมาณ 4-6 พู
ผู้รับผิดชอบ : ธนนท์
โชคครรชิตไชย
Averrhoa carambola
 ประโยชน์: การแก้ร้อนใน ดับกระหาย ลดความร้อนภายในร่างกายถอนพิษก็
ได้ แต่สามารถเพิ่มโอกาสเป็นนิ่วในทางเดินปัสสาวะได้เนื่องจากสารออกซา
เลตที่มีอยู่มากในมะเฟืองจะไปจับตัวกับแคลเซียมตกเป็นผลึกในไต และยังทา
ให้เกิดอาการไตวายเฉียบพลันได้หากได้รับเข้าไปในปริมาณที่มาก ทั้งนี้ก็
ขึ้นอยู่กับภาวการณ์ขาดน้าของร่างกายด้วย
 แหล่งที่พบ: อินโดนีเซีย อินเดีย ศรีลังกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไทย
มาเลเซีย บางส่วนของเอเชียตะวันออก สาธารณรัฐโดมินิกัน บราซิล เปรู
กานา Guyana ซามัว ตองกา ไต้หวัน French Polynesia คอสตาริกา และ
ออสเตรเลีย
10. มะเฟือง
Averrhoa carambola
ผู้รับผิดชอบ : ธนนท์
โชคครรชิตไชย
 ชื่อวิทยาศาสตร์: Oxalis pes-caprae
 ชื่อสามัญ: Bermuda buttercup
 ชื่ออื่นๆ: African wood-sorrel, Bermuda sorrel, buttercup oxalis, Cape sorrel,
English weed, goat's-foot, sourgrass, soursob
 ลักษณะต่างๆของพืช: ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก มีกิ่งก้านสาขามาก เปราะหักง่าย เปลือกต้นมีสีชมพู
ผิวเรียบมีขนนุ่มปกคลุมตามกิ่ง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ก้านใบหนึ่งประกอบด้วยใบย่อย
11-37 ใบ กว้างประมาณ 1 เซนติเมตร ยาว 2-5 เซนติเมตร
 แหล่งที่พบ: สหรัฐอเมริกา ยุโรป อิสราเอล ออสเตรเลีย เเอฟริกา
 ประโยชน์: ใช้ในรูปแบบต่างๆเช่นเป็นแหล่งของกรดออกซาลิก เป็นอาหารและในการแพทย์
พื้นบ้าน ใช้เพื่อจัดการกับพยาธิตัวตืดและหนอนตัวอื่น ๆ ใช้เป็นยาขับปัสสาวะ
ผู้รับผิดชอบ : ธนนท์
โชคครรชิตไชย
:11. Oxalis pes-caprae
12. โอกำ
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oxalis tuberosa
 ชื่อสามัญ : โอกา
 ชื่ออื่นๆ : -
 ลักษณะต่างๆของพืช: เป็นไม้ล้มลุกอายุยืน ต้นตั้งตรงมีขนปกคลุม เหง้าแตก
แขนง ปลายเหง้าเป็นหัวรูปทรงกระบอก หัวสีขาว เหลือง แดง หรือม่วง ดอกสี
เหลือง ผลแบบแคปซูล
 แหล่งที่พบ : เทือกเขาแอนดีส
 ประโยชน์ : เป็นแหล่งอาหารสาคัญของชนพื้นเมืองในแถบเทือกเขา
แอนดีส นามาต้ม เผา หรือเคลือบน้าตาล ถนอมอาหารโดยการหั่นแล้วตาก
แดดให้แห้ง นามาแช่น้าก่อนปรุงอาหาร
Oxalis tuberosa
ผู้รับผิดชอบ : ธนนท์
โชคครรชิตไชย
 ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Averrhoa acida
 ชื่อสามัญ : มะยม, Otaheite gooseberry, Star gooseberry
 ลักษณะ : ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 2.5-10 ซม. ปลายมีติ่ง
แหลม โคนมน ช่อดอกมีดอกเพศผู้ออกเป็นกระจุก 2-6 ดอกมักออกที่โคนช่อตามซอกใบหรือ
ตามกิ่ง ช่อดอกเพศเมียส่วนมากออกตามกิ่ง ก้านดอกยาว 0.5-3 มม. ขยายในผลยาว 2-5 มม.
กลีบเลี้ยงสีแดง รูปไข่ ยาว 1-2 มม. ดอกเพศผู้มี 4 กลีบ แคบกว่าในดอกเพศเมียเล็กน้อย จาน
ฐานดอกเป็นต่อม 4 ต่อม ดอกเพศเมียมี 4-6 กลีบ จานฐานดอกเป็นต่อม 4-6 ต่อม เกสรเพศผู้
4 อัน แยกกัน ยาวประมาณ 5 มม. บางครั้งมี 1-2 อันในดอกเพศเมีย ลดรูป รังไข่จัก 6-8 พู
ก้านเกสรเพศเมีย 3-4 อัน ยาว 1-6 มม. ผลจัก 6-8 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.7 ซม. เมล็ด
กลมแกมรูปสามเหลี่ยมมน ยาว 5-8 มม. ช่อดอกออกเป็นกระจุกตามกิ่ง ก้านเกสรเพศเมีย 3-4
อัน รังไข่และผลจักเป็นพู
13. Averrhoa acida
ผู้รับผิดชอบ : ณัฐเศรษฐ พัฒนาดี
13. มะยม
 แหล่งที่พบ : อาจมีถิ่นกาเนิดในอเมริกาใต้ ปลูกเป็นไม้ผลหรือไม้มงคลทั่วไปในเขต
ร้อน
 สรรพคุณ : ใช้รับประทานเป็นผลไม้สดและแปรรูป ผลมีฤทธิ์กัดเสมหะและเป็นยา
ระบาย ใบเป็นส่วนประกอบของยาเขียว รากแก้ไข รักษาโรคผิวหนัง น้าเหลืองเสีย
ผื่นคัน ใบ ต้มน้าอาบแก้คัน แก้ไข้ เหือด หิด อีสุกอีใส ในผลมีแทนนินเดกซ์โทรส
เลวูโลส ซูโครส วิตามินซี ในรากมี beta-amyrin, phyllanthol, แทนนิน ซาโป
นิน กรดแกลลิก น้าเชื่อมใช้รักษาโรคกระเพาะอาหาร ในอินเดียผลใช้เป็น
ตัวกระตุ้นเลือดสาหรับตับ
13. Averrhoa acid
ผู้รับผิดชอบ : ณัฐเศรษฐ พัฒนาดี
 ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Oxalis acetosella
 ชื่อสามัญ : wood sorrel
 ชื่ออื่นๆ : shamrock
 ลักษณะ : พืชมีใบรูปหัวใจ ใบคล้ายใบclover พับแกนผ่านตรงกลาง ก้านใบยาว
ไม่เกิน 10 เซนติเมตร ออกดอกในช่วงฤดูใบไม้ผลิถึงกลางฤดูร้อน มีดอกสีขาว
ขนาดเล็ก ลายเส้นสีชมพู ไม่ค่อยมีดอกสีแดงหรือม่วงออกมา ในตอนกลางคืน
หรือฝนตก ดอกไม้จะปิดและใบจะห่อ บางใบสามารถกินได้ถ้าเอาไปต้ม
 แหล่งที่พบ : ในป่าและที่ร่ม Phoenix in Arizona USA, Dublin, Ireland
 สรรพคุณ : กินได้ถ้าเอามาต้ม
14. Oxalis acetosella
ผู้รับผิดชอบ : ณัฐเศรษฐ พัฒนาดี
 ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Oxalis stricta
 ชื่อสามัญ : common yellow woodsorrel, upright yellow-sorrel, lemon
clover, common yellow oxalis
 ชื่ออื่นๆ : sourgrass. Pickle plant
 ลักษณะ : โดยทั่วไปถือว่าเป็นวัชพืชในสวนทุ่งนาและสนามหญ้า ใบสลับแบ่งออกเป็น
3 แผ่นรูปหัวใจ เหมือนOxalisอื่นๆ กว้าง2เซนติเมตร ใบขดตัวในเวลากลางคืน
(Nyctinnasty) เปิดเมื่อจะสังเคราะห์แกสง แคปซูลเมล็ดโตเต็มที่จะระเบิดได้ถ้าถูก
รบกวน สามารถแยกเมล็ดออกได้ถึง4เมตร ดอกไม้เป็นดอกกะเทย บานตั้งแต่เดือน
กรกฎาคมถึงตุลาคม
15. Oxalis stricta
ผู้รับผิดชอบ : ณัฐเศรษฐ พัฒนาดี
 แหล่งที่พบ โดยทั่วไปดินต้องแห้งหรือขึ้นดินอัลคาไลน์ ดินทราย ดินที่มีการระบาน้าดี
เติบโตดีในบริเวณที่คุณค่าอาหารดี ไม่ค่อยดีในที่ร่ม
 สรรพคุณ : ทุกส่วนของพืชกินได้ ใบและดอกไม้สกัดเพื่อการตกแต่งและเครื่องปรุง
เคี้ยวดิบก็ได้ เป็นกระหาย มีรสชุ่มช่า ใบสามารถนามาทาเครื่องดื่มที่รสชาติคล้าย
มะนาวได้ ต้มเป็นชาสมุนไพรที่มีกลิ่นหอมคล้ายถั่วเขียวที่ปรุงสุกด้วย น้าผลไม้สกัด
เป็นน้าส้มสายชุได้ มีวิตามินซีสูง ย้อมสีส้มก็ได้ ใช้รักษาปากแห้งได้ การบวมก็ได้
15. Oxalis stricta
ผู้รับผิดชอบ : ณัฐเศรษฐ พัฒนาดี
บรรณำนุกรม
 FAMILY OXALIDACEAE. (2015). [online]. http://theworldwidevegetables.weebly.com/family-oxalidaceae.html
 ฐำนข้อมูลตัวอย่ำงพรรณไม้แห้ง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก:
http://www.qsbg.org/Database/plantdb/herbarium/herbariumfamily.asp?family=OXALIDACEAE&Page=2
 ไมยรำบ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.rspg.or.th/plants_data/plantdat/oxalidac/bsensi_1.htm
 https://en.m.wikipedia.org/wiki/
ขอขอบคุณอำจำรย์วิชัยและเพื่อนๆที่ให้ควำมร่วมมือ

More Related Content

What's hot

Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.nrraachadan
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20marknoppajron
 

What's hot (20)

Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1Plant ser 144_60_1
Plant ser 144_60_1
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2
 
Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3
 
Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8
 
สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48
 
Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 
Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2Plant ser 126_60_2
Plant ser 126_60_2
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 
Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6Plant ser 125_60_6
Plant ser 125_60_6
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
New species
New speciesNew species
New species
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9Plant ser 144_60_9
Plant ser 144_60_9
 
Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6Plant ser 144_60_6
Plant ser 144_60_6
 
Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2Plant ser 144_60_2
Plant ser 144_60_2
 

Similar to Plant ser 126_60_9

Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3JiradaAke
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)MetawadeeNongsana
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...JittapatS
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 lookpedkeele
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931SasipaChaya
 
Minibook Bio
Minibook BioMinibook Bio
Minibook BioTitiratHu
 

Similar to Plant ser 126_60_9 (18)

Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4
 
Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3Flower structure by M5/834 Group3
Flower structure by M5/834 Group3
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
การศึกษาโครงสร้างดอกคาร์เนชั่น พุด และกล้วยไม้ จัดทำโดยนักเรียนระดับชั้นม.5 ห...
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
01092008 Akey
01092008 Akey01092008 Akey
01092008 Akey
 
Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932Minibookbio 5 932
Minibookbio 5 932
 
Plant ser 125_60_8
Plant ser 125_60_8Plant ser 125_60_8
Plant ser 125_60_8
 
931 pre8
931 pre8931 pre8
931 pre8
 
Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6Plant ser 77_60_6
Plant ser 77_60_6
 
Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1Minibook 932 group 1
Minibook 932 group 1
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
 
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
การศึกษาโครงสร้าง ดอกพุดพิชญา ดอกกุหลาบ ดอกเฟื่องฟ้า กลุ่มที่ 10 ห้อง 931
 
Minibook Bio
Minibook BioMinibook Bio
Minibook Bio
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
Psychotropic plants
Psychotropic plantsPsychotropic plants
Psychotropic plants
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant ser 126_60_9

  • 2. ครูผู้สอน  ครูวิชัย ลิขิตพรรักษ์  กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์  สาขาชีววิทยา
  • 3. จัดทำโดย (เรียงจากซ้ายไปขวา) นายธนนท์ โชคครรชิตไชย เลขที่ 33 นายณัฐเศรษฐ พัฒนาดี เลขที่ 32 นายธนภณ จ้องจรัสแสง เลขที่ 35 นางสาวชตาทิพ มิตรเกื้อกูล เลขที่ 3 นางสาวอติภา ศรีไพโรจน์ เลขที่ 26 นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ห้อง 126 แผนการเรียนวิทยาศาสตร์-คณิตศาสตร์
  • 4. คำนำ รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของวิชาชีววิทยา5 ว30246 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โดยมีจุดประสงค์เพื่อนาเสนอ การสืบค้นความหลากหลายทางพันธุกรรมของพืชในสวนพฤกษศาสตร์ ในการจัดทาสื่อการเรียนรู้ในครั้งนี้ ผู้จัดทาขอขอบคุณ คุณครู วิชัย ลิขิตพรรักษ์ ผู้ให้ความรู้ และแนวทางการศึกษา เพื่อน ๆ ทุกคนที่ให้ ความ ช่วยเหลือมาโดยตลอด ผู้จัดทาหวังว่างานนาเสนอชุดนี้จะให้ความรู้ และเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านทุก ๆ ท่าน
  • 5. CONTENT 1. Biophytum umbraculum Welw. 2. Oxalis corniculata L. 3. Oxalis purpurea SP. 4. Biophytum sensitivum 5. Oxalis priceae 6. Oxalis triangularis 7. Oxalis corymbosa DC. 8. Oxalis depressa 9. Oxalis tetraphylla 10. Averrhoa carambola 11. Oxalis pes-caprae 12. Oxalis tuberosa 13. Averrhoa acida 14. Oxalis acetosella 15. Oxalis stricta
  • 6. 1. กระทืบยอบ ชื่อวิทยาศาสตร์ : Biophytum umbraculum Welw. ลักษณะ : ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 15 ซม. ใบประกอบมีใบย่อย 3-9 คู่ แกนกลางยาวได้ ถึง 3.5 ซม. ใบย่อยรูปรี รูปไข่ หรือเกือบกลม เบี้ยว ยาว 2-8 มม. เส้นแขนงใบมีจานวนไม่ มาก เกือบตั้งฉากเส้นกลางใบ ไร้ก้าน ช่อดอกไร้ก้านหรือมีก้านยาวได้ถึง 3 ซม. ออกแน่นที่ ยอด ก้านดอกยาว 1-3 มม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอกแกมรูปไข่ ยาว 3-5 มม. ติดทน ดอกสี เหลืองอมส้ม โคนด้านในสีเหลือง กลีบรูปใบหอก ยาว 0.6-1 ซม. ปลายกลม ผลรูปรีหรือรูป ไข่ ยาว 3-4 มม. แต่ละซีกมี 3-4 เมล็ด แหล่งที่พบ : แอฟริกา มาดากัสการ์ อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า เวียดนาม ภูมิภาค มาเลเซีย นิวกินี และฟิลิปปินส์ ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง หรือชายป่า ดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร Biophytum umbraculum Welw. ผู้รับผิดชอบ : อติภา ศรีไพโรจน์
  • 7. ประโยชน์ : ตารายาไทยใช้ ทั้งต้น ต้มน้าดื่ม แก้ไข้ ขับปัสสาวะ รักษา อาการปัสสาวะเป็นเลือดและปวด ชื่อพ้อง : Biophytum petersianum Klotzsch ชื่ออื่น : กระทืบยอบ (ทั่วไป); ทืบยอด (สุราษฎร์ธานี); นกเขาเง้า (นครราชสีมา); ห่อตูปลู (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน) ผู้รับผิดชอบ : อติภา ศรีไพโรจน์ 1. กระทืบยอบ Biophytum umbraculum Welw.
  • 8. 2. ผักแว่น ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oxalis corniculata L. ลักษณะ : ไม้ล้มลุกเกาะเลื้อย มีรากตามข้อ หูใบขนาดเล็ก ใบประกอบมี 3 ใบ ย่อย เรียงเวียน ใบย่อยรูปรีแกมรูปหัวใจกลับ กว้าง 0.5-2 ซม. สีเขียวหรือสีม่วงอมแดง ปลายเว้าลึก แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นนุ่ม ก้านใบส่วนมากยาว 1-2 ซม. หรือยาวได้ถึง 10 ซม. ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม ส่วนมากมี 1-5 ดอก ก้านช่อมักยาวกว่าก้านใบ ใบประดับมี 1 คู่ รูปใบ หอก ยาว 2-4 มม. ก้านดอกยาว 0.4-2 ซม. มีขนหนาแน่น กลีบเลี้ยง 5 กลีบเรียงซ้อน เหลื่อม รูปใบหอก ติดทน ยาว 3.5-5 มม. ขอบมีขนครุย ดอกสีเหลือง มี 5 กลีบ รูปใบพาย ยาว 0.3-1 ซม. ก้านกลีบสั้น ๆ มี 5 คาร์เพล เชื่อมติดกัน ออวุลเรียงเป็นแถว 1-2 แถว ก้าน เกสรเพศเมีย 5 อัน ผลแห้งแตก รูปทรงกระบอก ยาว 0.8-2.5 ซม. มีขน ส่วนผนังติดอยู่กับ แกนกลางเมื่อแตก แต่ละช่องมี 5-14 เมล็ด มีเยื่อหุ้มที่ดีดเมล็ดออกหลังร่วง (ejaculatory) Oxalis corniculata L. ผู้รับผิดชอบ : อติภา ศรีไพโรจน์
  • 9. แหล่งที่พบ : พบทั่วไปในเขตร้อน ไม่ทราบถิ่นกาเนิดที่แน่นอน ประโยชน์ : น้าสกัดจากใบมีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง ชื่อพ้อง : Oxalis repens Thunb. ชื่อสามัญ : Creeping woodsorrel, Procumbent yellow-sorrel, Sleeping beauty, ชื่ออื่น : ผักแว่น (ภาคกลาง); ส้มดิน (แม่ฮ่องสอน); ส้มสังกา, ส้มสามตา (เชียงใหม่); สังส้ม (แพร่); หญ้าตานทราย (แม่ฮ่อนสอน) ผู้รับผิดชอบ : อติภา ศรีไพโรจน์ 2. ผักแว่น Oxalis corniculata L.
  • 10. 3. ผีเสื้อรำตรี ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oxalis purpurea SP. ชื่อสามัญ : Indian Park ลักษณะ : ไม้ล้มลุกลักษณะของมันคือมีหัวมีลักษณะของใบที่คล้ายกับนิ้วมือคน ซึ่งสี ของใบนั้นเป็นสีม่วงเข้มแกมเขียวลักษณะเป็นสามเหลี่ยมมักจะเรียงกันเป็นแนววงกลมโดยใบ ของมันจะหันมุมที่เป็นเหลี่ยมมาชนกัน ซึ่งมีลักษณะคล้ายกับผีเสื้อนั่นเองนอกจากนี้ใบของต้น ผีเสื้อกลางคืนก็จะหุบในช่วงกลางคืนอย่างเช่นพืชทั่วๆ ไปด้วยต้นผีเสื้อกลางคืนออกดอกเป็น ดอกเดี่ยวในก้านเดียว โดยด้านของต้นผีเสื้อราตรีจะออกมาจากลาต้นโดยตรง สีของดอกจะ ออกชมพูแกมม่วง 1 ดอก มี 5 กลีบ เป็นดอกแบบสมบูรณ์เพศซึ่งหมายความว่าในดอกเดียวนั้น มีทั้งเกสรเพศผู้และเกสรเพศเมีย แหล่งที่พบ : ชุมชนตาบลปางสวรรค์ ประโยชน์ : ปลูกประดับบ้าน Oxalis purpurea SP. ผู้รับผิดชอบ : อติภา ศรีไพโรจน์
  • 11.  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Biophytum sensitivum  ชื่อสามัญ : -  ชื่ออื่น : กระทืบยอบ คันร่ม เช้ายอบ ไมยราบ (ภาคกลาง), จิยอบต้นตาล (ภาคเหนือ), หน่อปีเหมาะ (กะเหรี่ยง-แม่ฮ่องสอน), หัวใจไมยราบ (ภาคใต้)  ลักษณะต่างๆของพืช : ไม้ล้มลุก ใบประกอบแบบขนนกปลายคู่ รูปรีแกมรูปขอบ ขนาน กลีบดอกสีเหลือง มีเส้นสีม่วงตามยาวตรงปลายกลีบ  แหล่งที่พบ : มีถิ่นกาเนิดในอเมริกาใต้และอเมริกากลาง  ประโยชน์ : ใช้น้าต้มจากรากกินแก้โรคหนองในและโรคนิ่วในถุงน้าดี น้าต้ม จากทั้งต้นแก้โรคเบาหวาน 4. Biophytum sensitivum ผู้รับผิดชอบ : นายธนภณ จ้องจรัสแสง
  • 12.  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oxalis priceae  ชื่อสามัญ : -  ชื่ออื่น : -  ลักษณะต่างๆของพืช : ไม้ล้มลุก ใบประกอบกลีบดอกสีเหลือง มีเส้นแดง ตามยาวตรงกลางกลีบ  แหล่งที่พบ: มีถิ่นกาเนิดในอเมริกาเหนือ  ประโยชน์ : ใช้เป็นส่วนผสมของยาบางชนิดผู้รับผิดชอบ : นายธนภณ จ้องจรัสแสง 5. Oxalis priceae
  • 13.  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oxalis triangularis  ชื่อสามัญ : Purple shamrock, Love plant  ชื่ออื่น : ปีกผีเสื้อ,ผีเสื้อราตรี  ลักษณะต่างๆของพืช :ไม้ล้มลุก ใบประกอบแบบนิ้วมือ ออกดอกเป็นช่อสี ชมพู สีขาว หรือสีม่วงอ่อน  แหล่งที่พบ : มีถิ่นกาเนิดในประเทศบราซิล  ประโยชน์ : ปลูกเป็นไม้กระถาง ไม้แขวนหรือปลูกลงแปลงคลุมดิน ผู้รับผิดชอบ : นายธนภณ จ้องจรัสแสง 6. Oxalis triangularis
  • 14. 7. ผักแว่นดอย ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oxalis corymbosa DC. ชื่ออื่น : ปุ้มฟ้า ลักษณะ : พืชล้มลุก มีลาต้นใต้ดิน สูง 5-20 ซม. ใบเป็นใบประกอบมี 3 ใบย่อยรูปหัวใจ กว้าง 1.5-5 ซม. ยาว 1.5-4.5 ซม. โคนใบสอบ ปลายใบเว้า ขอบใบและก้านใบมีขนประปราย ก้านใบยาวถึง 30 ซม. ดอกสีม่วงแดง โคนกลีบสีจาง มีเส้นสีแดงตามยาว ออกเป็นช่อ 2-5 ดอก ดอกบานขนาด 1.2-1.5 ซม. กลีบดอก 5 กลีบ รูปไข่แกมขอบขนาน ปลายมน เกสรผู้ 10 อัน สั้น 5 อัน ยาว 5 อัน ยอดเกสรเมียปลายแยกเป็น 5 แฉก ผลเป็นผลแห้งแก่แล้วแตก เมล็ดขนาดเล็ก มากคล้ายฝุ่น แหล่งที่พบ : ประเทศเขตร้อนทั่วไป ประโยชน์ : ชาวพื้นบ้านนาใบใช้รับประทานแทนมะขามให้รสเปรี้ยว Oxalis corymbosa DC. ผู้รับผิดชอบ : ชตาทิพ มิตรเกื้อกูล
  • 15.  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oxalis depressa  ชื่อสามัญ : -  ชื่ออื่น : -  ลักษณะต่างๆของพืช : ไม้ล้มลุก ใบประกอบ กลีบดอกสีชมพูขาวและมีสี เหลืองตรงกลาง  แหล่งที่พบ : มีถิ่นกาเนิดในแอฟริกาใต้  ประโยชน์ : ใช้เป็นไม้ประดับ 8. Oxalis depressa ผู้รับผิดชอบ : ชตาทิพ มิตรเกื้อกูล
  • 16.  ชื่อวิทยาศาสตร์: Oxalis tetraphylla  ชื่อสามัญ: "Iron Cross"  ชื่ออื่นๆ: -  ลักษณะต่างๆของพืช: มีใบแบ่งออกเป็นสี่และได้รับการเรียกว่า "ใบโชคดี" และ แม้กระทั่ง "สี่ใบโคลเวอร์" แต่ก็ไม่ได้เป็นโคลเวอร์ที่แท้จริง  แหล่งที่พบ: สหรัฐอเมริกา อเมริกาใต้ แอฟริกา  ประโยชน์: เป็นที่นิยมใช้เป็นไม้ประดับ นอกจากนี้ยังกินได้ดอกและใบที่มีรสมะนาว คม อย่างไรก็ตามเนื่องจากกรด oxalic ในพืชสามารถแทรกแซงกับการดูดซึม สารอาหารบางชนิดในร่างกายโดยเฉพาะอย่างยิ่งแคลเซียมมากเกินไปอาจเป็น อันตรายได้ ผู้รับผิดชอบ : ชตาทิพ มิตรเกื้อกูล 9. Oxalis tetraphylla
  • 17. 10. มะเฟือง  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Averrhoa carambola  ชื่อสามัญ : มะเฟือง  ชื่ออื่นๆ : -  ลักษณะต่างๆของพืช : ไม้ผลยืนต้นขนาดกลาง ลักษณะเป็นทรงพุ่ม ซึ่งมีทั้ง ลักษณะตั้งตรง และกึ่งเลื้อย ลาต้นและกิ่งเป็นไม้เนื้ออ่อน แกนกลางมีไส้ คล้ายฟองน้ามีสีแดงอ่อน ใบประกอบสีเขียว ประกอบด้วยใบย่อย 5-11 ใบ ออกดอกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง และตาข้างตามกิ่งและลาต้น มีดอกสีชมพูอ่อนไป จนถึงเกือบแดง ผลมีก้นแหลมเป็นเหลี่ยมมีร่องลักษณะเป็นพูประมาณ 4-6 พู ผู้รับผิดชอบ : ธนนท์ โชคครรชิตไชย Averrhoa carambola
  • 18.  ประโยชน์: การแก้ร้อนใน ดับกระหาย ลดความร้อนภายในร่างกายถอนพิษก็ ได้ แต่สามารถเพิ่มโอกาสเป็นนิ่วในทางเดินปัสสาวะได้เนื่องจากสารออกซา เลตที่มีอยู่มากในมะเฟืองจะไปจับตัวกับแคลเซียมตกเป็นผลึกในไต และยังทา ให้เกิดอาการไตวายเฉียบพลันได้หากได้รับเข้าไปในปริมาณที่มาก ทั้งนี้ก็ ขึ้นอยู่กับภาวการณ์ขาดน้าของร่างกายด้วย  แหล่งที่พบ: อินโดนีเซีย อินเดีย ศรีลังกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ไทย มาเลเซีย บางส่วนของเอเชียตะวันออก สาธารณรัฐโดมินิกัน บราซิล เปรู กานา Guyana ซามัว ตองกา ไต้หวัน French Polynesia คอสตาริกา และ ออสเตรเลีย 10. มะเฟือง Averrhoa carambola ผู้รับผิดชอบ : ธนนท์ โชคครรชิตไชย
  • 19.  ชื่อวิทยาศาสตร์: Oxalis pes-caprae  ชื่อสามัญ: Bermuda buttercup  ชื่ออื่นๆ: African wood-sorrel, Bermuda sorrel, buttercup oxalis, Cape sorrel, English weed, goat's-foot, sourgrass, soursob  ลักษณะต่างๆของพืช: ไม้ยืนต้นขนาดเล็ก มีกิ่งก้านสาขามาก เปราะหักง่าย เปลือกต้นมีสีชมพู ผิวเรียบมีขนนุ่มปกคลุมตามกิ่ง ใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ก้านใบหนึ่งประกอบด้วยใบย่อย 11-37 ใบ กว้างประมาณ 1 เซนติเมตร ยาว 2-5 เซนติเมตร  แหล่งที่พบ: สหรัฐอเมริกา ยุโรป อิสราเอล ออสเตรเลีย เเอฟริกา  ประโยชน์: ใช้ในรูปแบบต่างๆเช่นเป็นแหล่งของกรดออกซาลิก เป็นอาหารและในการแพทย์ พื้นบ้าน ใช้เพื่อจัดการกับพยาธิตัวตืดและหนอนตัวอื่น ๆ ใช้เป็นยาขับปัสสาวะ ผู้รับผิดชอบ : ธนนท์ โชคครรชิตไชย :11. Oxalis pes-caprae
  • 20. 12. โอกำ  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Oxalis tuberosa  ชื่อสามัญ : โอกา  ชื่ออื่นๆ : -  ลักษณะต่างๆของพืช: เป็นไม้ล้มลุกอายุยืน ต้นตั้งตรงมีขนปกคลุม เหง้าแตก แขนง ปลายเหง้าเป็นหัวรูปทรงกระบอก หัวสีขาว เหลือง แดง หรือม่วง ดอกสี เหลือง ผลแบบแคปซูล  แหล่งที่พบ : เทือกเขาแอนดีส  ประโยชน์ : เป็นแหล่งอาหารสาคัญของชนพื้นเมืองในแถบเทือกเขา แอนดีส นามาต้ม เผา หรือเคลือบน้าตาล ถนอมอาหารโดยการหั่นแล้วตาก แดดให้แห้ง นามาแช่น้าก่อนปรุงอาหาร Oxalis tuberosa ผู้รับผิดชอบ : ธนนท์ โชคครรชิตไชย
  • 21.  ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Averrhoa acida  ชื่อสามัญ : มะยม, Otaheite gooseberry, Star gooseberry  ลักษณะ : ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 2.5-10 ซม. ปลายมีติ่ง แหลม โคนมน ช่อดอกมีดอกเพศผู้ออกเป็นกระจุก 2-6 ดอกมักออกที่โคนช่อตามซอกใบหรือ ตามกิ่ง ช่อดอกเพศเมียส่วนมากออกตามกิ่ง ก้านดอกยาว 0.5-3 มม. ขยายในผลยาว 2-5 มม. กลีบเลี้ยงสีแดง รูปไข่ ยาว 1-2 มม. ดอกเพศผู้มี 4 กลีบ แคบกว่าในดอกเพศเมียเล็กน้อย จาน ฐานดอกเป็นต่อม 4 ต่อม ดอกเพศเมียมี 4-6 กลีบ จานฐานดอกเป็นต่อม 4-6 ต่อม เกสรเพศผู้ 4 อัน แยกกัน ยาวประมาณ 5 มม. บางครั้งมี 1-2 อันในดอกเพศเมีย ลดรูป รังไข่จัก 6-8 พู ก้านเกสรเพศเมีย 3-4 อัน ยาว 1-6 มม. ผลจัก 6-8 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.7 ซม. เมล็ด กลมแกมรูปสามเหลี่ยมมน ยาว 5-8 มม. ช่อดอกออกเป็นกระจุกตามกิ่ง ก้านเกสรเพศเมีย 3-4 อัน รังไข่และผลจักเป็นพู 13. Averrhoa acida ผู้รับผิดชอบ : ณัฐเศรษฐ พัฒนาดี 13. มะยม
  • 22.  แหล่งที่พบ : อาจมีถิ่นกาเนิดในอเมริกาใต้ ปลูกเป็นไม้ผลหรือไม้มงคลทั่วไปในเขต ร้อน  สรรพคุณ : ใช้รับประทานเป็นผลไม้สดและแปรรูป ผลมีฤทธิ์กัดเสมหะและเป็นยา ระบาย ใบเป็นส่วนประกอบของยาเขียว รากแก้ไข รักษาโรคผิวหนัง น้าเหลืองเสีย ผื่นคัน ใบ ต้มน้าอาบแก้คัน แก้ไข้ เหือด หิด อีสุกอีใส ในผลมีแทนนินเดกซ์โทรส เลวูโลส ซูโครส วิตามินซี ในรากมี beta-amyrin, phyllanthol, แทนนิน ซาโป นิน กรดแกลลิก น้าเชื่อมใช้รักษาโรคกระเพาะอาหาร ในอินเดียผลใช้เป็น ตัวกระตุ้นเลือดสาหรับตับ 13. Averrhoa acid ผู้รับผิดชอบ : ณัฐเศรษฐ พัฒนาดี
  • 23.  ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Oxalis acetosella  ชื่อสามัญ : wood sorrel  ชื่ออื่นๆ : shamrock  ลักษณะ : พืชมีใบรูปหัวใจ ใบคล้ายใบclover พับแกนผ่านตรงกลาง ก้านใบยาว ไม่เกิน 10 เซนติเมตร ออกดอกในช่วงฤดูใบไม้ผลิถึงกลางฤดูร้อน มีดอกสีขาว ขนาดเล็ก ลายเส้นสีชมพู ไม่ค่อยมีดอกสีแดงหรือม่วงออกมา ในตอนกลางคืน หรือฝนตก ดอกไม้จะปิดและใบจะห่อ บางใบสามารถกินได้ถ้าเอาไปต้ม  แหล่งที่พบ : ในป่าและที่ร่ม Phoenix in Arizona USA, Dublin, Ireland  สรรพคุณ : กินได้ถ้าเอามาต้ม 14. Oxalis acetosella ผู้รับผิดชอบ : ณัฐเศรษฐ พัฒนาดี
  • 24.  ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Oxalis stricta  ชื่อสามัญ : common yellow woodsorrel, upright yellow-sorrel, lemon clover, common yellow oxalis  ชื่ออื่นๆ : sourgrass. Pickle plant  ลักษณะ : โดยทั่วไปถือว่าเป็นวัชพืชในสวนทุ่งนาและสนามหญ้า ใบสลับแบ่งออกเป็น 3 แผ่นรูปหัวใจ เหมือนOxalisอื่นๆ กว้าง2เซนติเมตร ใบขดตัวในเวลากลางคืน (Nyctinnasty) เปิดเมื่อจะสังเคราะห์แกสง แคปซูลเมล็ดโตเต็มที่จะระเบิดได้ถ้าถูก รบกวน สามารถแยกเมล็ดออกได้ถึง4เมตร ดอกไม้เป็นดอกกะเทย บานตั้งแต่เดือน กรกฎาคมถึงตุลาคม 15. Oxalis stricta ผู้รับผิดชอบ : ณัฐเศรษฐ พัฒนาดี
  • 25.  แหล่งที่พบ โดยทั่วไปดินต้องแห้งหรือขึ้นดินอัลคาไลน์ ดินทราย ดินที่มีการระบาน้าดี เติบโตดีในบริเวณที่คุณค่าอาหารดี ไม่ค่อยดีในที่ร่ม  สรรพคุณ : ทุกส่วนของพืชกินได้ ใบและดอกไม้สกัดเพื่อการตกแต่งและเครื่องปรุง เคี้ยวดิบก็ได้ เป็นกระหาย มีรสชุ่มช่า ใบสามารถนามาทาเครื่องดื่มที่รสชาติคล้าย มะนาวได้ ต้มเป็นชาสมุนไพรที่มีกลิ่นหอมคล้ายถั่วเขียวที่ปรุงสุกด้วย น้าผลไม้สกัด เป็นน้าส้มสายชุได้ มีวิตามินซีสูง ย้อมสีส้มก็ได้ ใช้รักษาปากแห้งได้ การบวมก็ได้ 15. Oxalis stricta ผู้รับผิดชอบ : ณัฐเศรษฐ พัฒนาดี
  • 26. บรรณำนุกรม  FAMILY OXALIDACEAE. (2015). [online]. http://theworldwidevegetables.weebly.com/family-oxalidaceae.html  ฐำนข้อมูลตัวอย่ำงพรรณไม้แห้ง. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.qsbg.org/Database/plantdb/herbarium/herbariumfamily.asp?family=OXALIDACEAE&Page=2  ไมยรำบ. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก: http://www.rspg.or.th/plants_data/plantdat/oxalidac/bsensi_1.htm  https://en.m.wikipedia.org/wiki/