SlideShare a Scribd company logo
1 of 29
Download to read offline
รายงานวิชาชีววิทยา
เรื่อง
พืชสกุล ARALIACEAE
เสนอ
อ.วิชัย ลิขิตพรรักษ์
สมาชิกในกลุ่ม
 นายกิตติธัช พิสชาติ ห้อง 143 เลขที่ 25
 นายณัฐชนน สรรค์พฤกษ์สิน ห้อง 143 เลขที่ 28
 นายตรีวิทย์ ดํารงรัตน์ ห้อง 143 เลขที่ 29
 นายศิรวิทย์ ศุภศิลป์ ห้อง 143 เลขที่ 37
 นายอภิวิชญ์ ศิริเศรษฐ์ ห้อง 143 เลขที่ 38
ต้นเพี้ยฟาน
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Macropanax dispermus
 ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์
 ไม้พุ่ม ขนาดเล็ก โดยทั่วไปสูง 2-4 เมตร แต่บางต้นอาจสูงได้ถึง 15 เมตร ลําต้นโต
ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ยาวได้ถึง 20 ซม.
 ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนสองชั้นเรียงสลับช่อใบยาว 15-50 ซม. โคนช่อใบอาจมีช่อ
ใบย่อยหลายช่อ ใบย่อย 15-31 ใบต่อช่อ
 ดอก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ก้านดอกย่อยยาว 0.5-2.0 มม. วงกลีบเลี้ยงเล็กมาก กลีบ
ดอก 4 กลีบ รูปไข่แกมขอบขนาน ยาว 3.5-5.0 มม. สีเขียวอ่อนถึงขาวอมเหลืองผล มี
เนื้อนอก รูปไข่ยาว 1-2 ซม. เมื่อสุกสีชมพูอมแดง ผิวเกลี้ยงหรืออาจมีขนละเอียด
บางๆ
 สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์
 ใบ รับประทานสดกับลาบ(ขมุ) ยอดอ่อน รับประทานสดจิ้มนํ้าพริก มีรสขมเล็กน้อย(คน
เมือง)
 ทั้งต้น ต้มนํ้าอาบแก้ผื่นคัน อาจใส่รวมกับแพพันชั้นก็ได้ (คนเมือง) ลําต้นและใบ ต้มนํ้า
ดื่มเป็นยาแก้สรรพพิษ (คนเมือง) กิ่งและใบ ต้มนํ้าอาบหรืออบตัวแก้ไข้ ไม่สบาย
หลังจากคลอดลูก ใช้ต้มรวมกับเมโกล่บละ กล้วยตานี และกล้วยป่า (กะเหรี่ยง
แม่ฮ่องสอน) ยอดอ่อน รับประทานเป็นยาแก้อาการท้องผูก (ม้ง)
 เปลือกต้น พบสารที่มีฤทธิ์ต้านสารพิษที่ทําลายตับ ต้านอาการปวดและอักเสบ ใบหรือ
ทั้ง 5 แก้ไข้มาลาเรีย วัณโรค รักษาโรคผิวหนัง ห้ามเลือด ฆ่าเชื้อโรค
หนวดปลาหมึก
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Schefflera actinophylla
 ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 6-12 ม. ขนาดทรงพุ่ม 5-6 ม. ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มทรงกระบอก หรือ
รูปร่ม ลําต้นตั้งตรง เปลือกต้นสีนํ้าตาลอ่อนหรือสีเทา ค่อนข้างเรียบ มีรากอากาศห้อยตามลําต้นและ
กิ่ง
 ใบ ใบประกอบรูปนิ้วมือ เรียงเวียนสลับ ก้านใบรวมยาว 30-40 ซม. ก้านใบย่อยยาว 4-6 ซม. มีใบย่อย
6-9 ใบ รูปรี หรือรูปรีแกมรูป ขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 15-25 ซม. ปลายใบติ่งแหลมหรือมน
โคนใบแหลมหรือมน ขอบใบเป็นคลื่น แผ่นใบค่อนข้างหนาและเหนียว สีเขียวเข้มเรียบเป็นมัน
 ดอก สีชมพู ออกเป็นช่อแบบช่อซี่ร่มแยกแขนงที่ปลายกิ่ง ช่อดอก ตั้งยาว 50-70 ซม. ดอกอยู่รวมกัน
เป็นกระจุกกระจุกละ 11-13 ดอก บนแกนช่อดอก กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย กลีบดอก 5 กลีบ
รูป สามเหลี่ยม ปลายกลีบแหลมโค้งเข้า เกสรเพศผู้ 13 อัน เส้นผ่านศูนย์กลางดอกประมาณ 1 ซม.
ออกดอกเดือน มี.ค.-ก.ค.
 ผล ผลแห้งแตก สีแดง ออกอยู่รวมกันเป็นกระจุก พัฒนาจากฐาน รองดอกทรงกระบอก มีลิ้นเปิดให้
เมล็ดออกมา เมล็ดทรงกลม สีนํ้าตาล อมดํา ขนาดเล็กจํานวนมาก ติดผลเดือน พ.ค.-ส.ค. ขยายพันธุ์
โดยการ เพาะเมล็ด ตอนลําต้น หรือปักชํากิ่งแขนงข้างลําต้น
นิ้วมือพระนรายณ์
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Schefflera elliptica
 ใบเป็นใบประกอบแบบมีลักษณะแผ่เรียงเป็นวงกลมคล้ายนิ้วมือ ก้านใบร่วมยาว ในแต่ละก้าน
จะประกอบใบด้วยใบย่อยรูปรีแกมรูปขอบขนานประมาณ 5-7 ใบ แผ่นใบเรียบสีเขียวเข้มเป็น
มันและค่อนข้างหนา โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ก้านใบย่อยสั้น ใบและกิ่งอ่อนมี
ขนอ่อนนุ่มปกคลุมอยู่ทั่ว ขนาดความกว้างของใบมีประมาณ 2-4 ซม. ยาวประมาณ 8-15 ซม.
 ดอก
ออกดอกเป็นช่อรูปทรงกระบอกคล้ายซี่ร่มที่บริเวณปลายยอด เป็นช่อขนาดใหญ่ที่
ประกอบด้วยดอกย่อยสีเหลืองขนาดเล็กมากมาย ดอกมักจะไม่ค่อยบาน มีก้านช่อดอกเป็นสี
นํ้าตาลแดง มีขนละเอียดปกคลุมอยู่ทั่วช่อดอก
 ผล
มีลักษณะเป็นรูปไข่หรือรูปทรงกลมขนาดเล็ก ผลอ่อนมีสีเขียวอมเหลือง เมื่อสุกจะกลายเป็นสี
เหลืองเข้มหรือสีส้มอมแดง
 สรรพคุณทางยา
แก่น-ใช้เป็นยาแก้ท้องร่วง โดยนํามาฝนกับนํ้าใช้รับประทาน
กิ่ง-ต้มนํ้าดื่ม เพื่อรักษาโรคความดันสูง และแก้ไข้
ราก-ใช้ต้มนํ้าดื่ม เพื่อรักษาโรคเบาหวาน
ผักแปม
 ชื่อวิทยาศาสตร์: Eleutherococcus trifoliatus
 เป็นไม้พุ่ม ลําต้นมีหนามแหลมงุ้ม
 ใบประกอบ
 ดอกช่อแบบซี่ร่ม มีดอกย่อยจํานวนมาก
 ผลรูปแบน
 ยอดอ่อนรับประทานเป็นผักจิ้มนํ้าพริกหรือใส่ลาบ
คันหามเสือ
 ชื่อทางวิทยาศาสตร์Aralia montana
 ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 8 ม.
 ต้นและกิ่งมีหนาม หูใบคล้ายปีกแคบ ๆ ยาว 2.5-5 ซม. ใบประกอบ 2-3 ชั้น แกนกลางเป็น
สัน ยาวได้ถึง 25 ซม. ก้านใบประกอบยาว 3-6.5 ซม. ใบย่อยรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว
2.5-15 ซม.
 ก้านใบยาวประมาณ 1 ซม. ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง แผ่กว้างยาวได้ถึง 25 ซม. แกนช่อเป็น
เหลี่ยมหรือครีบคล้ายปีก ตามข้อมีขน ก้านดอกยาวประมาณ 2 มม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว
ประมาณ 2.5 มม. ปลายจักลึกประมาณ 1 มม. มีขนด้านนอก
 ดอกสีเขียวอ่อน กลีบดอกเชื่อมติดกันที่โคน ยาว 3.5-4 มม. กลีบรูปไข่ ยาว 2-3 มม. แผ่น
ก้านชูอับเรณูที่เป็นหมันเชื่อมติดกันประมาณ 2 มม. ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 1.5 มม. ก้าน
เกสรเพศเมียยาวประมาณ 2 มม. ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.7-1 ซม. จักเป็นพู สุกสีนํ้าเงินปน
เทา
 พบในภูมิภาคมาเลเซียและภาคใต้ของไทยที่นครศรีธรรมราช ปัตตานี ยะลา และ
นราธิวาส ขึ้นตามชายป่าดิบชื้น ริมลําธาร ความสูง 50-200 เมตร
 มีสรรพคุณบรรเทาอาการปวดจากท้องเสีย
ต้างบก
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Brassaiopsis hookeri
 มีผลสีนํ้าตาล
 ดอกมีสีแดง
 บริเวณ ลําต้น ก้าน ใบ มีขนสีนํ้าตาลแดงปกคลุม
กําจัดย่าน
 ชื่อวิทยาศาสตร์: Aralia scandens (Merr.) Ha

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้พุ่มรอเลื้อย สูงประมาณ 10 ม. มักไม่แตกกิ่งสาขา
 ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ 3-4 ชั้น เรียงสลับหรือเป็นวงรอบที่บริเวณยอด กว้างประมาณ 30 ซม. ยาวได้ถึง
1.5 ม. ก้านใบประกอบยาวได้ถึง 35 ซม. โคนก้านแผ่เป็นกาบ ก้านใบประกอบและแกนกลางใบประกอบมีหนาม
แหลมโค้ง ใบย่อยมีจํานวนมากแผ่นใบบาง เส้นแขนงใบข้างละ 4-6 เส้น เส้นกลางใบและเส้นแขนงใบมีหนาม
เล็กๆ กระจายอยู่ประปราย ก้านใบย่อยยาว 0.3-1 ซม.
 ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง มีหนาม ออกที่ยอด แกนช่อดอกยาวประมาณ 60 ซม. มีช่อแขนงหลายช่อ ยาวได้ถึง
50 ซม. ช่อแขนงตอนปลายยาว 1-4 ซม. มีใบประดับรูปใบหอก แต่ละช่อแขนงเป็นแบบช่อกระจะ ตอนปลายเป็น
แบบซี่ร่ม มีดอก 10-20 ดอก ดอกเล็ก ก้านดอกยาว 1-1.2 ซม. กลีบเลี้ยง 5-6 กลีบ เล็กมาก โคนติดกันคล้าย
ถ้วย ปลายหยักซี่ฟันแหลม กลีบดอก 5-6 กลีบ สีขาวหรือเหลืองอ่อน โคนกลีบกว้าง เกสรเพศผู้ 5-6 อัน รังไข่
เล็กมาก รูปลูกข่าง ก้านเกสรเพศเมีย 5-6 อัน
 ผลเล็ก สีม่วงหรือนํ้าเงินอมดํา ค่อนข้างกลมหรือรี ยาวประมาณ 5 มม. มี 5 พู
 พบมากที่ภาคใต้
พระเจ้าร้อยท่า
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Heteropanax fragrans (Roxb. ex DC.) Seem.
 ไม้ต้นไม่ผลัดใบ สูงถึง 8 ม. กลุ่มใบกระจุก ที่ปลายยอด ลําต้นเปลาตรง เปลือกนอกเรียบ สี
นํ้าตาล เปลือกในสีเหลืองอ่อน
 ใบ ประกอบแบบขนนก 2-4 ชั้น เรียงสลับ แผ่นใบย่อยรูปไข่หรือรูปขอบขนาน ขนาด 3-5 x
4-13 ซม. ปลายแหลม โคนสอบ ขอบเรียบ ใบอ่อนมีขนรูปดาว ใบแก่เกลี้ยง ไม่มีหนาม
 ดอก ออกเป็นช่อซี่ร่มเชิงซ้อน ออกดอก ขณะทิ้งใบ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีนํ้าตาล กลีบดอก 5
กลีบ เนื้อบาง สีขาว เกสรเพศผู้ 5 อัน ก้านเกสรเพศเมีย 2 อัน
 ผล สด มีเนื้อหลายเมล็ด รูปร่างแบน ลักษณะเป็น 2 พู ขนาดถึง 0.8 ซม. ผิวมีขน รูปดาวสี
แดง เกสรเพศเมียปลาย 2 แฉก
 สภาพนิเวศ ขึ้นประปรายในที่โล่งแจ้ง ทางภาคเหนือ ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ที่
ความสูงจากระดับนํ้าทะเล ปานกลางถึง 900 ม.
ครุฑเขียวใบใหญ่
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Polysias bafouriana.
 ลักษณะทั่วไป
 บางทีก็เรียกว่า ครุฑอีแปะ หรือครุฑจาน ใบมีสีเขียวอมสีเหลือง
 ขอบใบหยักมีหนามสีนํ้าตาลอ่อนๆที่ขอบใบ ส่วนโคนของก้านใบส่วนที่ติดกับลําต้นมี
ลักษณะเป็นกาบ
 ลําต้นมีสีเขียวอมเทา เมื่อมีอายุมากขึ้นลําต้นจะเปลี่ยนเป็นสีนํ้าตาลอ่อน
ว่านอ้อยช้าง
 ชื่อวิทยาศาสตร์Schefflera leucantha Viguier
 ลักษณะ เป็นไม้พุ่มแกมเลื้อย ใบ เป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ เรียงสลับกัน มี 5-8 ใบ
ใบย่อย ฐานและปลายใบเรียวแหลม แผ่นใบสีเขียวเข้มเป็นมันค่อนข้างแข็ง และเหนียว
ก้านใบประกอบยาวประมาณ 6-8 ซ.ม. แผ่นใบกว้าง 2-4 ซ.ม. ยาว 5-8 ซ.ม. ดอก
ออกเป็นช่อ จัดเป็น compound umbel
 ดอกย่อยมีขนาดเล็กสีเขียว ช่อดอกยาวประมาณ 7-12 ซ.ม. ผล อวบนํ้า รูปไข่ สีเขียว
แก่จัดสีแดง
 ประโยชน์ทางยา ยาไทยใช้เป็นยาแก้หืด ใช้ใบย่อยสด 9-12 ใบตําให้ละเอียด เติมนํ้า
1 แก้ว คั้นแต่นํ้าดื่ม รับประทานให้หมดในครั้งเดียว รับประทานจนกว่าจะหาย แต่ถ้า
เป็นหวัดใช้รับประทาน 6-7 ครั้ง ควรจะหาย ใบสด โขลกเติมเหล้าโรง คั้นนํ้า
รับประทานแก้อาเจียนเป็นเลือด
กระจับเขา
 ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Hedera himalaica Tobler
 เป็นไม้เถาเลี้อยตามพื้นดิน ใช้รากที่งอกออกตามเถาเกาะ
 ใบ : เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับกัน รูปสามเหลี่ยม และแฉกแหลม 3 แฉก ขอบเรียบ เส้นใบ
ออกจาฐาน 3-7 เส้น
 ดอก : เป็นช่อ คล้ายดอกผักชี
 ผล : ผลกลม ภายในมี 5 ช่อง เมล็ดรูปไข่
 นิเวศวิทยา : เกิดตามที่รกร้างว่างเปล่าในป่าแล้งทั่วไป
 สรรพคุณทางสมุนไพร : ราก รสเฝื่อน ถอนพิษ แก้พิษตะขาบ แก้ฝีบวม
ต้างหลวง
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Trevesia palmata (Roxb. ex Lindl.) Vis.
 ไม้ต้นไม่ผลัดใบขนาดเล็ก สูงได้ถึง 8 ม. เรือนยอดโปร่ง ทรงต้นคล้ายต้นปาล์ม ลําต้นมี
หนามแหลม เปลือกต้นสีนํ้าตาลหรือเทา
 ใบ เดี่ยว เรียงสลับ แน่นใกล้ปลายยอด ขนาด 30-70 ซม. แผ่นใบหยักเว้าลึกเป็นพู 5-
9 พู ผิวใบมีขนละเอียด สีนํ้าตาล ขอบใบหยักเป็นซี่เล็กๆ ก้านใบ ยาว 20-80 ซม. มี
หนามแหลม
 ดอก ออกเป็นช่อซี่ร่มตามปลายกิ่งและซอกใบ เป็นช่อกลมใหญ่ สีเหลือง ช่อละ 25-50
ดอก กลีบเลี้ยงเป็นซี่เล็กแหลม กลีบดอก มี 8-10 กลีบ รูปไข่ปลายแหลมงอพับไป
ด้านหลัง เกสรเพศผู้ มี 8-12 อัน
 ผล สด กลมหรือคล้ายกรวยควํ่า ยาวถึง 1.7 ซม. มีก้านเกสรเพศเมียติดที่ปลาย มีเนื้อ
บางและเมล็ดแบน
ครุฑผักชี
 ชื่อวิทยาศาสตร์ : Polyscias fruticosa (L.) Harms
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงราว 2 เมตร ลักษณะต้นเป็นข้อ
ลําต้นอ่อนมีสีเขียวอ่อนแกมนํ้าตาลอ่อน เมื่อลําต้นแก่เต็มที่ก็จะเปลี่ยนกลายเป็นสี
นํ้าตาลอ่อน ลําต้นจะมีรอยแผลของกาบใบ
 ใบ เป็นใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยมีรูปร่างและขนาดแตกต่างกัน ขอบใบ
หยักย่อยละเอียด ปลายใบเรียวแหลม
 ดอก ช่อดอกแยกแขนง มีแกนกลางช่อยาว 60 ซม. ขนาดเล็ก ช่อดอกย่อยออกเป็นช่อ
ซี่ร่ม กลีบดอก 5 กลีบ เกสรตัวผู้ 5 อัน
 ผล ผลรูปเกือบกลม มีเนื้อผล
 สรรพคุณทางยา
 ใบ รสหอมร้อน ตําพอกแก้ปวดบวมอักเสบ
 ทั้งต้น รสฝาดหอม สมานแผล แก้ไข้
 ราก รสร้อนหอม ต้มดื่ม ขับปัสสาวะ ระงับประสาท แก้ปวดข้อ
ครุฑกระทง
 ชื่อวิทยาศาสตร์: Polyscias scutellaria (Burm.f.) Fosberg.
 ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :
 ต้น เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก
 ใบ เป็นใบเดี่ยวหรือใบประกอบมีใบย่อย 3 ใบ ออกติดกับกิ่งแบบบันไดเวียน รูปรีเกือบ
กลมหรือรูปไต ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อย
 ดอก ออกดอกเป็นช่อแบบผสมที่ปลายยอด ดอกสีขาวนวล
 ผล ลักษณะรูปทรงเกือบกลม
 สรรพคุณทางยา :
 ใบ ตําพอกแก้แผลอักเสบ และขับปัสสาวะ ป้องกันการเกิดมะเร็งเต้านม ป้องกันผมร่วง
ศีรษะล้านได้ ใบมีกลิ่นหอมใช้สําหรับแต่งกลิ่นนํ้าหอม
 ราก เป็นยาขับปัสสาวะ
คดนกกูด
 ชื่อวิทยาศาสตร์ Aralidium pinnatifidum (Jungh. & de
Vriese) Miq.
 ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 17 ม. ไม่มีหูใบ ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว
25-40 ซม. เรียบหรือแฉกลึกจรดเส้นกลางใบ ขอบเรียบ ก้านใบยาว 5-12 ซม.
 ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง
 ใบประดับขนาดเล็ก แต่ละช่อกระจุกย่อยมี 1-5 ดอก ก้านดอกสั้น รังไข่ใต้วงกลีบ มี 3
ช่อง 2 ช่องฝ่อ ออวุล 1 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียส่วนมาก 3 อัน กางออก สั้นกว่าก้านชู
อับเรณู ผลสดมีเมล็ดเดียว รูปรี เบี้ยว ยาว 2.5-4 ซม. เนื้อหนา เมล็ดยาว 2-2.5 ซม.
อ้างอิง
 http://www.dnp.go.th/botany/
 https://www.samunpri.com/
 http://www.thaikasetsart.com/
 http://wikipedia.org/

More Related Content

What's hot (20)

Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5Plant ser 144_60_5
Plant ser 144_60_5
 
Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9Plant ser 143_60_9
Plant ser 143_60_9
 
Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4Plant ser 144_60_4
Plant ser 144_60_4
 
Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7Plant ser 144_60_7
Plant ser 144_60_7
 
Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3Plant ser 144_60_3
Plant ser 144_60_3
 
Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2Plant ser 143_60_2
Plant ser 143_60_2
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8Plant ser 144_60_8
Plant ser 144_60_8
 
Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8Plant ser 143_60_8
Plant ser 143_60_8
 
Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10Plant ser 144_60_10
Plant ser 144_60_10
 
Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6Plant ser 143_60_6
Plant ser 143_60_6
 
Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4Plant ser 143_60_4
Plant ser 143_60_4
 
Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5Plant ser 126_60_5
Plant ser 126_60_5
 
932 pre7
932 pre7932 pre7
932 pre7
 
Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10Plant ser 125_60_10
Plant ser 125_60_10
 
Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2Plant ser 77_60_2
Plant ser 77_60_2
 
Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3Plant ser 125_60_3
Plant ser 125_60_3
 
Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5Plant ser 77_60_5
Plant ser 77_60_5
 
Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8Plant ser 126_60_8
Plant ser 126_60_8
 
Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1Plant ser 77_60_1
Plant ser 77_60_1
 

Similar to Plant ser 143_60_10

นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20marknoppajron
 
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดโครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดMint Jiratchaya
 
ต้นโมกบ้านเสร้จ
ต้นโมกบ้านเสร้จต้นโมกบ้านเสร้จ
ต้นโมกบ้านเสร้จnitchakan
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.nrraachadan
 
งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222saifon147
 
จริยาพรJob8 ppt
จริยาพรJob8 pptจริยาพรJob8 ppt
จริยาพรJob8 pptangkhana
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องphairoa
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)MetawadeeNongsana
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 lookpedkeele
 
มะกอกเลือม
มะกอกเลือมมะกอกเลือม
มะกอกเลือมNamny Pattarada
 

Similar to Plant ser 143_60_10 (20)

นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
นายนพจร โคกแพ ม.4/8 เลขที่20
 
Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4Plant ser 125_60_4
Plant ser 125_60_4
 
Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9Plant ser 126_60_9
Plant ser 126_60_9
 
01092008 Akey
01092008 Akey01092008 Akey
01092008 Akey
 
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ดโครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
โครงงานดอกไม ประจำจ งหว_ด
 
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร  ภูมิปัญญาไทยสมุนไพร  ภูมิปัญญาไทย
สมุนไพร ภูมิปัญญาไทย
 
Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7Plant ser 126_60_7
Plant ser 126_60_7
 
สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48สวนพฤกศาสตร์ 48
สวนพฤกศาสตร์ 48
 
ต้นโมกบ้านเสร้จ
ต้นโมกบ้านเสร้จต้นโมกบ้านเสร้จ
ต้นโมกบ้านเสร้จ
 
Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.Hibiscus rosa sinensis L.
Hibiscus rosa sinensis L.
 
งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222งานนำเสนอ222
งานนำเสนอ222
 
จริยาพรJob8 ppt
จริยาพรJob8 pptจริยาพรJob8 ppt
จริยาพรJob8 ppt
 
หญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้องหญ้าถอดปล้อง
หญ้าถอดปล้อง
 
Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3Flowers by 931 group 3
Flowers by 931 group 3
 
Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5Plant ser 143_60_5
Plant ser 143_60_5
 
Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2Plant ser 125_60_2
Plant ser 125_60_2
 
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
A study of external structure of flowers (Cork Tree, Desert rose, Water Jasmine)
 
Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8Plant ser 77_60_8
Plant ser 77_60_8
 
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834 Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
Agasta Lotus Rose Group 7 M.5 Room 834
 
มะกอกเลือม
มะกอกเลือมมะกอกเลือม
มะกอกเลือม
 

More from Wichai Likitponrak

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยWichai Likitponrak
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfWichai Likitponrak
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64Wichai Likitponrak
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64Wichai Likitponrak
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564Wichai Likitponrak
 

More from Wichai Likitponrak (20)

บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินรับสมัครGS2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินดับเพลิง2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินสอวนชีวะ2565_ครูวิชัย
 
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัยบันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
บันทึกข้อความประเมินทัศนศึกษา2565_ครูวิชัย
 
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdfSAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
SAR64-วิชัย(ชีววิทยา).pdf
 
การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64การสำรวจพืช Globe tu64
การสำรวจพืช Globe tu64
 
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
การสำรวจบรรยากาศ Globe tu64
 
การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64การสำรวจน้ำ Globe tu64
การสำรวจน้ำ Globe tu64
 
การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64การสำรวจดิน Globe tu64
การสำรวจดิน Globe tu64
 
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
แนวข้อสอบสามัญชีวะ2564
 
Biotest kku60
Biotest kku60Biotest kku60
Biotest kku60
 
Key biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaituKey biotestku60 kruwichaitu
Key biotestku60 kruwichaitu
 
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichaiBi opat2 onet2564_kru_wichai
Bi opat2 onet2564_kru_wichai
 
BiOsaman2564
BiOsaman2564BiOsaman2564
BiOsaman2564
 
Biosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichaiBiosaman63 kruwichai
Biosaman63 kruwichai
 
Ijs obio62 testing
Ijs obio62 testingIjs obio62 testing
Ijs obio62 testing
 
Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62Pptgst uprojectplant62
Pptgst uprojectplant62
 
Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62Pptgst uprojectpaper62
Pptgst uprojectpaper62
 
Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61Pptgst uprojectnickle61
Pptgst uprojectnickle61
 
Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61Pptgst uprojectflower61
Pptgst uprojectflower61
 

Plant ser 143_60_10

  • 5.  นายศิรวิทย์ ศุภศิลป์ ห้อง 143 เลขที่ 37
  • 7. ต้นเพี้ยฟาน  ชื่อวิทยาศาสตร์ Macropanax dispermus  ลักษณะทาง พฤกษศาสตร์  ไม้พุ่ม ขนาดเล็ก โดยทั่วไปสูง 2-4 เมตร แต่บางต้นอาจสูงได้ถึง 15 เมตร ลําต้นโต ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลาง ยาวได้ถึง 20 ซม.  ใบ เป็นใบประกอบแบบขนนสองชั้นเรียงสลับช่อใบยาว 15-50 ซม. โคนช่อใบอาจมีช่อ ใบย่อยหลายช่อ ใบย่อย 15-31 ใบต่อช่อ  ดอก ออกเป็นช่อที่ปลายกิ่ง ก้านดอกย่อยยาว 0.5-2.0 มม. วงกลีบเลี้ยงเล็กมาก กลีบ ดอก 4 กลีบ รูปไข่แกมขอบขนาน ยาว 3.5-5.0 มม. สีเขียวอ่อนถึงขาวอมเหลืองผล มี เนื้อนอก รูปไข่ยาว 1-2 ซม. เมื่อสุกสีชมพูอมแดง ผิวเกลี้ยงหรืออาจมีขนละเอียด บางๆ
  • 8.  สรรพคุณ / การใช้ประโยชน์  ใบ รับประทานสดกับลาบ(ขมุ) ยอดอ่อน รับประทานสดจิ้มนํ้าพริก มีรสขมเล็กน้อย(คน เมือง)  ทั้งต้น ต้มนํ้าอาบแก้ผื่นคัน อาจใส่รวมกับแพพันชั้นก็ได้ (คนเมือง) ลําต้นและใบ ต้มนํ้า ดื่มเป็นยาแก้สรรพพิษ (คนเมือง) กิ่งและใบ ต้มนํ้าอาบหรืออบตัวแก้ไข้ ไม่สบาย หลังจากคลอดลูก ใช้ต้มรวมกับเมโกล่บละ กล้วยตานี และกล้วยป่า (กะเหรี่ยง แม่ฮ่องสอน) ยอดอ่อน รับประทานเป็นยาแก้อาการท้องผูก (ม้ง)  เปลือกต้น พบสารที่มีฤทธิ์ต้านสารพิษที่ทําลายตับ ต้านอาการปวดและอักเสบ ใบหรือ ทั้ง 5 แก้ไข้มาลาเรีย วัณโรค รักษาโรคผิวหนัง ห้ามเลือด ฆ่าเชื้อโรค
  • 9. หนวดปลาหมึก  ชื่อวิทยาศาสตร์ Schefflera actinophylla  ไม้ต้นขนาดเล็กถึงขนาดกลาง สูง 6-12 ม. ขนาดทรงพุ่ม 5-6 ม. ไม่ผลัดใบ ทรงพุ่มทรงกระบอก หรือ รูปร่ม ลําต้นตั้งตรง เปลือกต้นสีนํ้าตาลอ่อนหรือสีเทา ค่อนข้างเรียบ มีรากอากาศห้อยตามลําต้นและ กิ่ง  ใบ ใบประกอบรูปนิ้วมือ เรียงเวียนสลับ ก้านใบรวมยาว 30-40 ซม. ก้านใบย่อยยาว 4-6 ซม. มีใบย่อย 6-9 ใบ รูปรี หรือรูปรีแกมรูป ขอบขนาน กว้าง 3-5 ซม. ยาว 15-25 ซม. ปลายใบติ่งแหลมหรือมน โคนใบแหลมหรือมน ขอบใบเป็นคลื่น แผ่นใบค่อนข้างหนาและเหนียว สีเขียวเข้มเรียบเป็นมัน  ดอก สีชมพู ออกเป็นช่อแบบช่อซี่ร่มแยกแขนงที่ปลายกิ่ง ช่อดอก ตั้งยาว 50-70 ซม. ดอกอยู่รวมกัน เป็นกระจุกกระจุกละ 11-13 ดอก บนแกนช่อดอก กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นรูปถ้วย กลีบดอก 5 กลีบ รูป สามเหลี่ยม ปลายกลีบแหลมโค้งเข้า เกสรเพศผู้ 13 อัน เส้นผ่านศูนย์กลางดอกประมาณ 1 ซม. ออกดอกเดือน มี.ค.-ก.ค.  ผล ผลแห้งแตก สีแดง ออกอยู่รวมกันเป็นกระจุก พัฒนาจากฐาน รองดอกทรงกระบอก มีลิ้นเปิดให้ เมล็ดออกมา เมล็ดทรงกลม สีนํ้าตาล อมดํา ขนาดเล็กจํานวนมาก ติดผลเดือน พ.ค.-ส.ค. ขยายพันธุ์ โดยการ เพาะเมล็ด ตอนลําต้น หรือปักชํากิ่งแขนงข้างลําต้น
  • 10. นิ้วมือพระนรายณ์  ชื่อวิทยาศาสตร์ Schefflera elliptica  ใบเป็นใบประกอบแบบมีลักษณะแผ่เรียงเป็นวงกลมคล้ายนิ้วมือ ก้านใบร่วมยาว ในแต่ละก้าน จะประกอบใบด้วยใบย่อยรูปรีแกมรูปขอบขนานประมาณ 5-7 ใบ แผ่นใบเรียบสีเขียวเข้มเป็น มันและค่อนข้างหนา โคนใบสอบ ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบ ก้านใบย่อยสั้น ใบและกิ่งอ่อนมี ขนอ่อนนุ่มปกคลุมอยู่ทั่ว ขนาดความกว้างของใบมีประมาณ 2-4 ซม. ยาวประมาณ 8-15 ซม.  ดอก ออกดอกเป็นช่อรูปทรงกระบอกคล้ายซี่ร่มที่บริเวณปลายยอด เป็นช่อขนาดใหญ่ที่ ประกอบด้วยดอกย่อยสีเหลืองขนาดเล็กมากมาย ดอกมักจะไม่ค่อยบาน มีก้านช่อดอกเป็นสี นํ้าตาลแดง มีขนละเอียดปกคลุมอยู่ทั่วช่อดอก  ผล มีลักษณะเป็นรูปไข่หรือรูปทรงกลมขนาดเล็ก ผลอ่อนมีสีเขียวอมเหลือง เมื่อสุกจะกลายเป็นสี เหลืองเข้มหรือสีส้มอมแดง
  • 11.  สรรพคุณทางยา แก่น-ใช้เป็นยาแก้ท้องร่วง โดยนํามาฝนกับนํ้าใช้รับประทาน กิ่ง-ต้มนํ้าดื่ม เพื่อรักษาโรคความดันสูง และแก้ไข้ ราก-ใช้ต้มนํ้าดื่ม เพื่อรักษาโรคเบาหวาน
  • 12. ผักแปม  ชื่อวิทยาศาสตร์: Eleutherococcus trifoliatus  เป็นไม้พุ่ม ลําต้นมีหนามแหลมงุ้ม  ใบประกอบ  ดอกช่อแบบซี่ร่ม มีดอกย่อยจํานวนมาก  ผลรูปแบน  ยอดอ่อนรับประทานเป็นผักจิ้มนํ้าพริกหรือใส่ลาบ
  • 13. คันหามเสือ  ชื่อทางวิทยาศาสตร์Aralia montana  ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 8 ม.  ต้นและกิ่งมีหนาม หูใบคล้ายปีกแคบ ๆ ยาว 2.5-5 ซม. ใบประกอบ 2-3 ชั้น แกนกลางเป็น สัน ยาวได้ถึง 25 ซม. ก้านใบประกอบยาว 3-6.5 ซม. ใบย่อยรูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว 2.5-15 ซม.  ก้านใบยาวประมาณ 1 ซม. ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง แผ่กว้างยาวได้ถึง 25 ซม. แกนช่อเป็น เหลี่ยมหรือครีบคล้ายปีก ตามข้อมีขน ก้านดอกยาวประมาณ 2 มม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยาว ประมาณ 2.5 มม. ปลายจักลึกประมาณ 1 มม. มีขนด้านนอก  ดอกสีเขียวอ่อน กลีบดอกเชื่อมติดกันที่โคน ยาว 3.5-4 มม. กลีบรูปไข่ ยาว 2-3 มม. แผ่น ก้านชูอับเรณูที่เป็นหมันเชื่อมติดกันประมาณ 2 มม. ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 1.5 มม. ก้าน เกสรเพศเมียยาวประมาณ 2 มม. ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.7-1 ซม. จักเป็นพู สุกสีนํ้าเงินปน เทา
  • 14.  พบในภูมิภาคมาเลเซียและภาคใต้ของไทยที่นครศรีธรรมราช ปัตตานี ยะลา และ นราธิวาส ขึ้นตามชายป่าดิบชื้น ริมลําธาร ความสูง 50-200 เมตร  มีสรรพคุณบรรเทาอาการปวดจากท้องเสีย
  • 15. ต้างบก  ชื่อวิทยาศาสตร์ Brassaiopsis hookeri  มีผลสีนํ้าตาล  ดอกมีสีแดง  บริเวณ ลําต้น ก้าน ใบ มีขนสีนํ้าตาลแดงปกคลุม
  • 16. กําจัดย่าน  ชื่อวิทยาศาสตร์: Aralia scandens (Merr.) Ha  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์: ไม้พุ่มรอเลื้อย สูงประมาณ 10 ม. มักไม่แตกกิ่งสาขา  ใบประกอบแบบขนนกปลายคี่ 3-4 ชั้น เรียงสลับหรือเป็นวงรอบที่บริเวณยอด กว้างประมาณ 30 ซม. ยาวได้ถึง 1.5 ม. ก้านใบประกอบยาวได้ถึง 35 ซม. โคนก้านแผ่เป็นกาบ ก้านใบประกอบและแกนกลางใบประกอบมีหนาม แหลมโค้ง ใบย่อยมีจํานวนมากแผ่นใบบาง เส้นแขนงใบข้างละ 4-6 เส้น เส้นกลางใบและเส้นแขนงใบมีหนาม เล็กๆ กระจายอยู่ประปราย ก้านใบย่อยยาว 0.3-1 ซม.  ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง มีหนาม ออกที่ยอด แกนช่อดอกยาวประมาณ 60 ซม. มีช่อแขนงหลายช่อ ยาวได้ถึง 50 ซม. ช่อแขนงตอนปลายยาว 1-4 ซม. มีใบประดับรูปใบหอก แต่ละช่อแขนงเป็นแบบช่อกระจะ ตอนปลายเป็น แบบซี่ร่ม มีดอก 10-20 ดอก ดอกเล็ก ก้านดอกยาว 1-1.2 ซม. กลีบเลี้ยง 5-6 กลีบ เล็กมาก โคนติดกันคล้าย ถ้วย ปลายหยักซี่ฟันแหลม กลีบดอก 5-6 กลีบ สีขาวหรือเหลืองอ่อน โคนกลีบกว้าง เกสรเพศผู้ 5-6 อัน รังไข่ เล็กมาก รูปลูกข่าง ก้านเกสรเพศเมีย 5-6 อัน  ผลเล็ก สีม่วงหรือนํ้าเงินอมดํา ค่อนข้างกลมหรือรี ยาวประมาณ 5 มม. มี 5 พู  พบมากที่ภาคใต้
  • 17. พระเจ้าร้อยท่า  ชื่อวิทยาศาสตร์ Heteropanax fragrans (Roxb. ex DC.) Seem.  ไม้ต้นไม่ผลัดใบ สูงถึง 8 ม. กลุ่มใบกระจุก ที่ปลายยอด ลําต้นเปลาตรง เปลือกนอกเรียบ สี นํ้าตาล เปลือกในสีเหลืองอ่อน  ใบ ประกอบแบบขนนก 2-4 ชั้น เรียงสลับ แผ่นใบย่อยรูปไข่หรือรูปขอบขนาน ขนาด 3-5 x 4-13 ซม. ปลายแหลม โคนสอบ ขอบเรียบ ใบอ่อนมีขนรูปดาว ใบแก่เกลี้ยง ไม่มีหนาม  ดอก ออกเป็นช่อซี่ร่มเชิงซ้อน ออกดอก ขณะทิ้งใบ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ สีนํ้าตาล กลีบดอก 5 กลีบ เนื้อบาง สีขาว เกสรเพศผู้ 5 อัน ก้านเกสรเพศเมีย 2 อัน  ผล สด มีเนื้อหลายเมล็ด รูปร่างแบน ลักษณะเป็น 2 พู ขนาดถึง 0.8 ซม. ผิวมีขน รูปดาวสี แดง เกสรเพศเมียปลาย 2 แฉก  สภาพนิเวศ ขึ้นประปรายในที่โล่งแจ้ง ทางภาคเหนือ ภาคตะวันตกเฉียงเหนือ และภาคใต้ ที่ ความสูงจากระดับนํ้าทะเล ปานกลางถึง 900 ม.
  • 18. ครุฑเขียวใบใหญ่  ชื่อวิทยาศาสตร์ Polysias bafouriana.  ลักษณะทั่วไป  บางทีก็เรียกว่า ครุฑอีแปะ หรือครุฑจาน ใบมีสีเขียวอมสีเหลือง  ขอบใบหยักมีหนามสีนํ้าตาลอ่อนๆที่ขอบใบ ส่วนโคนของก้านใบส่วนที่ติดกับลําต้นมี ลักษณะเป็นกาบ  ลําต้นมีสีเขียวอมเทา เมื่อมีอายุมากขึ้นลําต้นจะเปลี่ยนเป็นสีนํ้าตาลอ่อน
  • 19. ว่านอ้อยช้าง  ชื่อวิทยาศาสตร์Schefflera leucantha Viguier  ลักษณะ เป็นไม้พุ่มแกมเลื้อย ใบ เป็นใบประกอบแบบนิ้วมือ เรียงสลับกัน มี 5-8 ใบ ใบย่อย ฐานและปลายใบเรียวแหลม แผ่นใบสีเขียวเข้มเป็นมันค่อนข้างแข็ง และเหนียว ก้านใบประกอบยาวประมาณ 6-8 ซ.ม. แผ่นใบกว้าง 2-4 ซ.ม. ยาว 5-8 ซ.ม. ดอก ออกเป็นช่อ จัดเป็น compound umbel  ดอกย่อยมีขนาดเล็กสีเขียว ช่อดอกยาวประมาณ 7-12 ซ.ม. ผล อวบนํ้า รูปไข่ สีเขียว แก่จัดสีแดง  ประโยชน์ทางยา ยาไทยใช้เป็นยาแก้หืด ใช้ใบย่อยสด 9-12 ใบตําให้ละเอียด เติมนํ้า 1 แก้ว คั้นแต่นํ้าดื่ม รับประทานให้หมดในครั้งเดียว รับประทานจนกว่าจะหาย แต่ถ้า เป็นหวัดใช้รับประทาน 6-7 ครั้ง ควรจะหาย ใบสด โขลกเติมเหล้าโรง คั้นนํ้า รับประทานแก้อาเจียนเป็นเลือด
  • 20. กระจับเขา  ชื่อทางวิทยาศาสตร์ : Hedera himalaica Tobler  เป็นไม้เถาเลี้อยตามพื้นดิน ใช้รากที่งอกออกตามเถาเกาะ  ใบ : เป็นใบเดี่ยวเรียงสลับกัน รูปสามเหลี่ยม และแฉกแหลม 3 แฉก ขอบเรียบ เส้นใบ ออกจาฐาน 3-7 เส้น  ดอก : เป็นช่อ คล้ายดอกผักชี  ผล : ผลกลม ภายในมี 5 ช่อง เมล็ดรูปไข่  นิเวศวิทยา : เกิดตามที่รกร้างว่างเปล่าในป่าแล้งทั่วไป  สรรพคุณทางสมุนไพร : ราก รสเฝื่อน ถอนพิษ แก้พิษตะขาบ แก้ฝีบวม
  • 21. ต้างหลวง  ชื่อวิทยาศาสตร์ Trevesia palmata (Roxb. ex Lindl.) Vis.  ไม้ต้นไม่ผลัดใบขนาดเล็ก สูงได้ถึง 8 ม. เรือนยอดโปร่ง ทรงต้นคล้ายต้นปาล์ม ลําต้นมี หนามแหลม เปลือกต้นสีนํ้าตาลหรือเทา  ใบ เดี่ยว เรียงสลับ แน่นใกล้ปลายยอด ขนาด 30-70 ซม. แผ่นใบหยักเว้าลึกเป็นพู 5- 9 พู ผิวใบมีขนละเอียด สีนํ้าตาล ขอบใบหยักเป็นซี่เล็กๆ ก้านใบ ยาว 20-80 ซม. มี หนามแหลม  ดอก ออกเป็นช่อซี่ร่มตามปลายกิ่งและซอกใบ เป็นช่อกลมใหญ่ สีเหลือง ช่อละ 25-50 ดอก กลีบเลี้ยงเป็นซี่เล็กแหลม กลีบดอก มี 8-10 กลีบ รูปไข่ปลายแหลมงอพับไป ด้านหลัง เกสรเพศผู้ มี 8-12 อัน  ผล สด กลมหรือคล้ายกรวยควํ่า ยาวถึง 1.7 ซม. มีก้านเกสรเพศเมียติดที่ปลาย มีเนื้อ บางและเมล็ดแบน
  • 22. ครุฑผักชี  ชื่อวิทยาศาสตร์ : Polyscias fruticosa (L.) Harms  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงราว 2 เมตร ลักษณะต้นเป็นข้อ ลําต้นอ่อนมีสีเขียวอ่อนแกมนํ้าตาลอ่อน เมื่อลําต้นแก่เต็มที่ก็จะเปลี่ยนกลายเป็นสี นํ้าตาลอ่อน ลําต้นจะมีรอยแผลของกาบใบ  ใบ เป็นใบเป็นใบประกอบแบบขนนก ใบย่อยมีรูปร่างและขนาดแตกต่างกัน ขอบใบ หยักย่อยละเอียด ปลายใบเรียวแหลม  ดอก ช่อดอกแยกแขนง มีแกนกลางช่อยาว 60 ซม. ขนาดเล็ก ช่อดอกย่อยออกเป็นช่อ ซี่ร่ม กลีบดอก 5 กลีบ เกสรตัวผู้ 5 อัน  ผล ผลรูปเกือบกลม มีเนื้อผล
  • 23.  สรรพคุณทางยา  ใบ รสหอมร้อน ตําพอกแก้ปวดบวมอักเสบ  ทั้งต้น รสฝาดหอม สมานแผล แก้ไข้  ราก รสร้อนหอม ต้มดื่ม ขับปัสสาวะ ระงับประสาท แก้ปวดข้อ
  • 24. ครุฑกระทง  ชื่อวิทยาศาสตร์: Polyscias scutellaria (Burm.f.) Fosberg.  ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ :  ต้น เป็นไม้พุ่มหรือไม้ยืนต้นขนาดเล็ก  ใบ เป็นใบเดี่ยวหรือใบประกอบมีใบย่อย 3 ใบ ออกติดกับกิ่งแบบบันไดเวียน รูปรีเกือบ กลมหรือรูปไต ขอบใบจักเป็นฟันเลื่อย  ดอก ออกดอกเป็นช่อแบบผสมที่ปลายยอด ดอกสีขาวนวล  ผล ลักษณะรูปทรงเกือบกลม
  • 25.  สรรพคุณทางยา :  ใบ ตําพอกแก้แผลอักเสบ และขับปัสสาวะ ป้องกันการเกิดมะเร็งเต้านม ป้องกันผมร่วง ศีรษะล้านได้ ใบมีกลิ่นหอมใช้สําหรับแต่งกลิ่นนํ้าหอม  ราก เป็นยาขับปัสสาวะ
  • 26. คดนกกูด  ชื่อวิทยาศาสตร์ Aralidium pinnatifidum (Jungh. & de Vriese) Miq.  ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 17 ม. ไม่มีหูใบ ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 25-40 ซม. เรียบหรือแฉกลึกจรดเส้นกลางใบ ขอบเรียบ ก้านใบยาว 5-12 ซม.  ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง  ใบประดับขนาดเล็ก แต่ละช่อกระจุกย่อยมี 1-5 ดอก ก้านดอกสั้น รังไข่ใต้วงกลีบ มี 3 ช่อง 2 ช่องฝ่อ ออวุล 1 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียส่วนมาก 3 อัน กางออก สั้นกว่าก้านชู อับเรณู ผลสดมีเมล็ดเดียว รูปรี เบี้ยว ยาว 2.5-4 ซม. เนื้อหนา เมล็ดยาว 2-2.5 ซม.
  • 27.
  • 28.
  • 29. อ้างอิง  http://www.dnp.go.th/botany/  https://www.samunpri.com/  http://www.thaikasetsart.com/  http://wikipedia.org/