SlideShare a Scribd company logo
1 of 32
Download to read offline
ลูกประคบสมุนไพร
ข้อมูลทั่วไป

สมุนไพรทีใช้ในการ
่
ทาลูกประคบ

อุปกรณ์ในการทา
ลูกประคบสมุนไพร

วิธีการทาลูกประคบ
สมุนไพร

วิธีการประคบ

ขันตอนการประคบ
้

ระยะทีใช้ในการ
่
ประคบ

ข้อห้ามหรือข้อควรระวัง
ในการใช้ลกประคบ
ู

การเก็บรักษาลูก
ประคบสมุนไพร

ประโยชน์ของลูก
ประคบสมุนไพร

แหล่งที่มาอ้างอิง

ผูจัดทา
้

คุณครูทปรึกษา
ี่
ลูกประคบสมุนไพร
• ลูกประคบสมุนไพร คือ การใช้สมุนไพรหลายอย่างมาห่อรวมกัน
ส่วนใหญ่เป็นสมุนไพรทีมนามันหอมระเหย โดยนามานึ่งให้ร้อนประคบ
่ ี ้
บริเวณทีปวดหรือเคล็ดขัดยอกซึ่งน้ามันหอมระเหยเมือถูกความร้อน จะ
่
่
ระเหยออกมา ความร้อนจากลูกประคบจะช่วยกระตุ้นการไหลเวียนโลหิต
ดีขึ้น และ ยังมีสารสาคัญจากสมุนไพรบางชนิดทีซมเข้าทางผิวหนัง ช่วย
่ึ
รักษาอาการเคล็ด ขัด ยอก และลดปวดได้
ชนิดของการประคบสมุนไพร
ลูกประคบมี 2 ชนิด คือ ลูกประคบสมุนไพรสดและลูกประคบสมุนไพรแห้ง
1.ลูกประคบสมุนไพรสด
่
ข้ อดี คือ การใช้สมุนไพรสดในการปรุ งลูกประคบนั้นสมุนไพรจะมีน้ าอยูแล้วจึงไม่
จาเป็ นต้องพรมน้ าก่อนนาไปใช้ ไม่ตองตากแห้ง ไม่ตองอบฆ่าเชื้อไม่ตองกลัวขึ้นรา
้
้
้
ข้ อจากัด คือ เมื่อปรุ งลูกประคบเสร็ จแล้ว ต้องรี บนาไปใช้ ไม่สามารถเก็บไว้ได้นานใน
อุณหภูมิปกติ ต้องเก็บในตูเ้ ย็นหรื อภาชนะบรรจุพิเศษ
2.ลูกประคบสมุนไพรแห้ ง
ข้ อดี คือ เก็บไว้ได้นาน สะดวกในการนาไปใช้ สามารถเตรี ยมสมุนไพรที่ใช้ ในการ
ปรุ งลูกประคบได้ครบถ้วนมากขึ้น เนื่องจากสมุนไพรบางชนิดไม่สามารถ หาได้ใน
ท้องถิ่น ต้องหามาจากแหล่งอื่น
สมุนไพรที่ใช้ในการทาลูกประคบ

ไพล
ชื่ออืน : ปูลอย ปูเลย (ภาคเหนือ) ว่านไฟ (ภาคกลาง) มิ้นสะล่าง(ฉาน-แม่ฮ่องสอน)
่
ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ลมลุกสูง 0.7-1.5 เมตร มีเหง้าใต้ดิน เปลือกสี น้ าตาล
้
แกมเหลือง เนื้อในสี เหลืองถึงเหลืองแกมเขียว แทงหน่อหรื อลาต้นเทียมขึ้นเป็ นกอ ซึ่ ง
ประกอบด้วยกาบหรื อโคนใบหุ มซ้อนกัน ใบเดี่ยว เรี ยงสลับ รู ปขอบขนานแกมใบหอก
้
กว้าง 3.5-5.5 เซนติเมตร ยาว 18-35 เซนติเมตร ดอกช่อ แทงจากเหง้าใต้ดิน กลีบดอกสี
นวล ใบประดับสี ม่วง ผลเป็ นผลแห้งรู ปกลม
สรรพคุณ
• เหง้ า
- เป็ นยาแก้ทองขึ้น ท้องอืดเฟ้ อ ขับลม
้
- แก้บิด ท้องเดิน ขับประจาเดือนสตรี ทาแก้ฟกบวม แก้ผนคัน
ื่
- เป็ นยารักษาหืด
- เป็ นยากันเล็บถอด
- ใช้ตมน้ าอาบหลังคลอด
้
• นาคั้นจากเหง้ า - รักษาอาการเคล็ดขัดยอก ฟกบวม แพลงช้ าเมื่อย
้
• หัว - ช่วยขับระดู ประจาเดือนสตรี เลือดร้าย แก้มุตกิตระดูขาว แก้อาเจียน แก้
ปวดฟัน
• ดอก - ขับโลหิ ตกระจายเลือดเสี ย
• ต้ น - แก้ธาตุพการ แก้อุจาระพิการ
ิ
• ใบ - แก้ไข้ ปวดเมื่อย แก้ครั่นเนื้อครั่นตัว แก้เมื่อย
มะกรู ด
• ชื่ออืน : มะขุน มะขูด (ภาคเหนือ) มะขู (กะเหรี่ ยง-แม่ฮ่องสอน) ส้มกรู ด ส้มมัวผี
่
่
(ภาคใต้)
• ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ตนขนาดเล็ก สูง 2-8 เมตร เปลือกต้นเรี ยบ สี น้ าตาล มี
้
หนามแหลมตามกิ่งก้าน ใบ เป็ นใบประกอบที่มีใบย่อยใบเดี่ยว ออกเรี ยงสลับ ปลาย
่
ใบและโคนใบมน ขอบใบเรี ยบ แผ่นใบเรี ยบเป็ นมันสี เขียวเข้ม มีต่อมน้ ามันอยูตาม
ผิวใบ มีกลิ่นหอมเฉพาะ ก้านใบมีปีกดูคล้ายใบ ดอก ออกเป็ นช่อตามซอกใบที่ปลาย
กิ่ง ดอกสี ขาว กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ กลีบดอกมี 5 แฉก โคนกลีบดอกติดกัน ผล เป็ น
รู ปทรงกลมหรื อรู ปไข่ โคนผลเรี ยวเป็ นจุก ผิวขรุ ขระ มีต่อมน้ ามัน ผลอ่อนสี เขียวแก่
สุ กเป็ นสี เหลือง มีรสเปรี้ ยว เมล็ดกลมรี สี ขาว มีหลายเมล็ด
สรรพคุณ
• ราก - กระทุงพิษ แก้ฝีภายในและแก้เสมหะเป็ นพิษ
้
• ใบ - มีน้ ามันหอมระเหย
• ผล, นาคั้นจากผล - ใช้แต่งกลิ่น สระผมรักษาชันนะตุ รังแค
้
ทาให้ผมสะอาด
• ผิวจากผล
- ปรุ งเป็ นยาขับลมในลาไส้ แก้แน่น
- เป็ นยาบารุ งหัวใจ
มะขาม

• ชื่ออืน : ขาม (ภาคใต้) ตะลูบ(ชาวบน่
นครราชสี มา) ม่องโคล้ง (กะเหรี่ ยงกาญจนบุรี) อาเปี ยล (เขมร-สุ รินทร์) หมาก
แกง (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน) ส่ ามอเกล (กะเหรี่ ยงแม่ฮ่องสอน)
• ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ตนขนาดกลาง
้
จนถึงขนาดใหญ่แตกกิ่งก้านสาขามาก เปลือก
ต้นขรุ ขระและหนา สี น้ าตาลอ่อน ใบ เป็ นใบ
ประกอบ ใบเล็กออกตามกิ่งก้านใบเป็ นคู่ ใบ
ย่อยเป็ นรู ปขอบขนาน ปลายใบและโคนใบมน
ดอก ออกเป็ นช่อเล็กๆ ตามปลายกิ่ง หนึ่งช่อมี
10-15 ดอก ดอกย่อยขนาดเล็ก กลีบดอกสี
่
เหลืองและมีจุดประสี แดงอยูกลางดอก ผล
เป็ นฝักยาว รู ปร่ างยาวหรื อโค้ง ยาว 3-20 ซม.
ฝักอ่อนมีเปลือกสี เขียวอมเทา สี น้ าตาลเกรี ยม
เนื้อในติดกับเปลือก เมื่อแก่ฝักเปลี่ยนเป็ น
เปลือกแข็งกรอบหักง่าย สี น้ าตาล เนื้อใน
กลายเป็ นสี น้ าตาลหุมเมล็ด เนื้อมีรสเปรี้ ยว
้
และหวาน
สรรพคุณ
• ราก - แก้ทองร่ วง สมานแผล รักษาเริ ม และงูสวัด
้
• เปลือกต้ น - แก้ไข้ ตัวร้อน
• แก่ น - กล่อมเสมหะ และโลหิ ต ขับโลหิ ต ขับเสมหะ รักษาฝี ในมดลูก รักษาโรคบุรุษ เป็ นยาชัก
มดลูกให้เข้าอู่
• ใบสด (มีกรดเล็กน้อย) - เป็ นยาถ่าย ยาระบาย ขับลมในลาไส้ แก้ไอ แก้บิด รักษาหวัด ขับเสมหะ
หยอดตารักษาเยือตาอักเสบ แก้ตามัว ฟอกโลหิ ต ขับเหงื่อ ต้มผสมกับสมุนไพรอื่นๆ อาบหลัง
่
คลอดช่วยให้สะอาดขึ้น
• เนือหุ้มเมล็ด - แก้อาการท้องผูก เป็ นยาระบาย ยาถ่าย ขับเสมหะ แก้ไอ กระหายน้ า เป็ นยาสวน
้
ล้างท้อง
• ฝักดิบ - ฟอกเลือด และลดความอ้วน เป็ นยาระบายและลดอุณหภูมิในร่ างกาย บรรเทาอาการไข้
• เมล็ดในสี ขาว - เป็ นยาถ่ายพยาธิไส้เดือนตัวกลมในลาไส้ พยาธิเส้นด้าย
• เปลือกเมล็ด - แก้ทองร่ วง แก้บิดลมป่ วง สมานแผลที่ปาก ที่คอ ที่ลิ้น และตามร่ างกาย รักษาแผล
้
สด ถอนพิษและรักษาแผลที่ถูกไฟลวก รักษาแผลเบาหวาน
• เนือในฝักแก่ (มะขามเปี ยก) - รับประทานจิ้มเกลือ แก้ไอ ขับเสมหะ
้
• ดอกสด - เป็ นยาลดความดันโลหิตสูง
ขมิน
้

• ขมิ้น เป็ นพืชล้มลุกที่จดอยูในตระกูลขิง
ั ่
่
มีเหง้าอยูใต้ดิน เนื้อในของเหง้าจะเป็ นสี
เหลือง มีกลิ่นหอมเฉพาะตัวมีต้ งแต่สี
ั
เหลืองเข้มจนถึงสี แสดจัด โดยที่ถิ่นกาเนิด
ในแถบเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ และมีชื่อ
อื่นๆอีก เช่น ขมิ้นชันขมิ้นแกง ขมิ้นหยอก
่ ั
ขมิ้นหัว ขี้มิ้น หมิ้น ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบแต่ภาค
และจังหวัดนันๆ นิยมนาไปใช้ในการ
่
ประกอบอาหาร แต่งสี แต่งกลิ่นอาหาร
เช่น แกงไตปลา แกงกะหรี่ เป็ นต้น
สรรพคุณ
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•
•

สรรพคุณของขมิ้นข้อแรกคือมีสารต่อต้านอนุมูลอิสระซึ่งช่วยในการชะลอวัยและชะลอการเกิดริ้ วรอย
ั
ช่วยเสริ มสร้างภูมิตานทานให้กบร่ างกาย
้
ช่วยเสริ มสร้างภูมิคุมกันให้ผิวหนังมีสุขภาพดีแข็งแรง
้
ขมิ้นชันอาจมีบทบาทช่วยป้ องกันการเกิดโรคมะเร็ ง เช่น โรคมะเล็งลาไส้ มะเร็ งปากมดลูก
ขมิ้นสามารถช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลในร่ างกายได้
ช่วยกาจัดสารพิษออกจากร่ างกาย
ช่วยบรรเทาอาการของโรคเบาหวาน
มีส่วนช่วยรักษาโรคความดันโลหิ ตสู ง
ช่วยลดอาการของโรคเกาต์
ช่วยขับน้ านมของมารดาหลังคลอดบุตร
ช่วยรักษาระบบทางเดินหายใจที่มีอาการผิดปกติ
ช่วยบารุ งสมองป้ องกันโรคความจาเสื่ อม
อาจมะส่ วนช่วยในการรักษาโรครู มาตอยด์ (ยังไม่ได้รับการยืนยัน)
ช่วยลดการอักเสบ
ช่วยแก้อาการวิงเวียนศีรษะ
ช่วยรักษาอาการแพ้และไข้หวัด
ช่วยบรรเทาอาการไอ
ลักษณะของ ขมินอ้อย
้
ต้ น : ขมิ้นอ้อย เป็ นไม้ลมลุกสู ง 50-70 ซม.
้
ลักษณะคล้ายขมิ้นชัน แต่ตนสูงกว่า ขนาดเหง้า
้
และใบใหญ่กว่า โดยเหง้าใต้ดินจะโผล่ข้ ึนมาเหนือ
ดินเล็กน้อย มีเนื้อในสี เหลืองอมส้ม กลีบดอกสี
นวล มีกลิ่นหอม
ใบ : ใบออกเป็ นรัศมีติดผิวดิน รู ปหอกแกม
ขอบขนาน กว้าง 8-10 ซม. ยาว 30-40 ซม. ก้านใบ
ยาว 8-15 ซม. ท้องใบจะมีขนนิ่ม ๆ ในหน้าแล้งใบ
จะแห้งลงหัว บางครั้งเราก็เรี ยกว่าขมิ้นหัวขึ้น
ดอก : ขมิ้นอ้อยจะออกดอกเป็ นช่อ ก้าน
่
่
ดอกยาวพุงออกจากเหง้าที่อยูใต้ดิน ช่อดอกจะมีใบ
ประดับ ดอกมีสีขาว ตรงปลายช่อดอกจะเป็ นสี
ชมพู ส่ วนดอกสี เหลืองจะบานจากล่างขึ้นข้างบน
และจะบานครั้งละ 2-3 ดอก

ขมินอ้ อย
้
สรรพคุณ
รักษาอาการท้ องร่ วง ท้ องเดิน (ที่ไม่ ใช่ บิด หรืออหิวาตกโรค) โดยใช้หวขมิ้นอ้อยสด ๆ ประมาณ 2 แว่น มาบด
ั
ผสมกับน้ าปูนใส กินแก้ทองร่ วงได้
้
รักษาแผล โดยนาขมิ้นอ้อยไปหุงในน้ ามันมะพร้าว แล้วนามาใส่ แผล จะช่วยให้แผลหายเร็ ว เนื่องจากหัวขมิ้น
อ้อยเป็ นยาฝาดสมานด้วย
รักษาฝี ถ้าเป็ นฝี หวเดือน ให้นาใบไผ่มาเผ่าไฟให้ไหม้ แล้วนาหัวขมิ้นอ้อยมาตาด้วยกัน แล้วใช้น้ าเป็ นกระสาย
ั
ยา และใช้ได้ท้ งกินและทา หรื อพอก
ั
แก้ ฝีในมดลูก โดยใช้ขมิ้นอ้อย 3 ท่อน บอระเพ็ด 3 ท่อน ลูกขี้กาแดง 1 ลูก (ผ่าเป็ น 4 ซี กแต่ใช้แค่ 3) นามาต้ม
รวมกับสุ รา กินแก้ฝีในมดลูกได้
รักษาอาการเสี้ยนหนามตา โดยนาขมิ้นอ้อยมา 5 แว่น ข้าวเหนียวสุ ก ประมาณ 1 กามือ ดอกชบา 5 ดอก ใช้ตา
พอก จะดูดเสี้ ยนและหนองออกจากแผล
รักษาอาการปวดบวม ฟกช้า โดยนาขมิ้นสด ๆ มาตาให้ละเอียดแล้วนามาพอกบริ เวณปวดบวม ฟกช้ า
แก้ หวัด โดยนาหัวขมิ้นอ้อย พริ กหาง อบเชยเทศ มาต้มและเติมน้ าผึ้งลงไปผสม นามารับประทานแก้หวัดได้
แก้ ริดสี ดวงทวาร นาขมิ้นอ้อย พริ กไทยล่อน เปลือกยางแดง มาผสมกันทายาผง แล้วนาไปละลายในน้ ายางใส
ปั้ นทั้งหมดเป็ นลูกกลอนขนาดเท่าปลายนิ้วชี้ รับประทานเช้า-เย็น
ใบส้ มป่ อย
• ชื่ออืน : ส้มขอน (ฉาน-แม่ฮ่องสอน)
่
• ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พมรอเลื้อย มีหนามตามลาต้น กิ่ง ก้านและใบ ใบ
ุ่
ประกอบแบบขนนกสองชั้น เรี ยงสลับ ยาว 7-20 ซม. ใบย่อยรู ปขอบขนาน ขนาด
เล็ก ดอกช่อ ออกที่ซอกใบ เป็ นช่อกลม กลีบดอกเป็ นหลอด สี นวล ผลเป็ นฝัก สี
น้ าตาลดา ผิวย่นขรุ ขระ ขอบมักเป็ นคลื่น
สรรพคุณ
ต้ น - แก้ตาพิการ
ใบ - แก้โรคตา ชาระเมือกมันในลาไส้ ยาถ่ายเสมหะ แก้บิด ฟอกล้างโลหิ ตระดู
ดอก - แก้เส้นพิการให้บริ บูรณ์
ผล - แก้น้ าลายเหนียว
ราก - แก้ไข้
ฝัก - ปิ้ งให้เหลือง ชงน้ าจิบแก้ไอ ขับเสมหะ เป็ นยาถ่ายทาให้อาเจียน ฟอกผมแก้
รังแค แก้ไข้จบสั่น ปิ ดแผลโรคผิวหนัง
ั
• เมล็ด - คัวให้เกรี ยมบดให้ละเอียด นัตถุทาให้คนจมูกและจามดี
์
ั
่
• ใบ - ตาห่อผ้าประคบเส้นให้เส้นอ่อน
•
•
•
•
•
•
• เกลือแกง หรือ โซเดียมคลอไรด์ (Sodium Chloride) เป็ นสารเคมีธรรมชาติตวหนึ่งที่ถูกนามาใช้
ั
อย่างแพร่ หลายมานานนับพันปี บางท่านอาจจะไม่คุนกับชื่อเกลือแกง แต่ถาบอกว่ามันก็คือเกลือ
้
้
ั
ที่เราใช้ประกอบอาหารกันทุกวัน ก็คงร้องอ๋ อกันทุกคน เกลือแกงถูกนามาใช้กนในหลายด้าน ทั้ง
ด้านประกอบอาหาร ถนอมอาหาร รวมถึงใช้เป็ นสารตั้งต้นในอุตสาหกรรมหลายประเภท
• เกลือแกงนั้นมีประโยชน์ต่อเรามากมาย ทั้งในการประกอบอาหาร การเก็บรักษาอาหารประเภท
หมักดอง ใช้ในทางการแพทย์และการรักษาโรค เช่น ใช้ทาน้ าเกลือ รักษาอาการไอ เจ็บคอ อัน
เนื่องมาจากหวัด รักษาอาการคันตามผิวหนัง เป็ นต้น นอกจากนี้ยงมีการใช้เกลือในอุตสาหกรรม
ั
ต่างๆ มากมาย เช่น อุตสาหกรรมอาหาร เครื่ องปรุ งรสต่างๆ อุตสาหกรรมฟอกย้อมเสื้ อผ้า
อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมผลิต สบู่และผงซักฟอก รวมถึงอุตสาหกรรมยาฆ่าแมลง เป็ น
ต้น
การบูร
• สรรพคุณ : ใช้ผสมในยาน้ า มีสรรพคุณบารุ งธาตุ ขับเสมหะ ขับลม แก้
จุกเสี ยดแน่นเฟ้ อ แก้ปวดท้อง ท้องร่ วง ขับเหงื่อ ใช้ผสมในยาหม่อง ยา
ั
ขี้ผ้ ง ยาครี มทาแก้เคล็ดบวม ขัดยอก แพลง แก้พิษแมลงสัตว์กดต่อย และ
ึ
โรคผิวหนังเรื้ อรัง
พิมเสน

• พิมเสนเป็ นเกล็ดเล็กๆ สี ขาวขุ่น เนื้อแน่นกว่าการบูร ระเหิ ดได้ชากว่าการบูร ติดไฟให้แสงจ้าและ
้
มีควันมาก ไม่มีข้ ีเถ้า พิมเสนบริ สุทธิ์จะเป็ นผลึกรู ปแผ่นหกเหลี่ยม มีจุดหลอมเหลว 208 องศา
เซลเซียส ละลายได้ยากในน้ า ละลายได้ดีในตัวทาละลายชนิดขั้วต่า พิมเสนมีกลิ่นหอมเย็น ฉุ น
รสหอม เย็นปากคอ สมัยก่อนใส่ ในหมากพลูเคี้ยว
สรรพคุณ

ตารายาแผนโบราณ: ใช้พิมเสนเป็ นยาขับเหงื่อ ขับเสมหะ กระตุน
้
การหายใจ กระตุนสมอง บารุ งหัวใจ ใช้เป็ นยาระงับความกระวนกระวาย
้
ทาให้ง่วงซึม แก้ลมวิงเวียน หน้ามืด หัวใจอ่อน บารุ งหัวใจ ทาให้ชุ่มชื่น
ทาให้เรอ ขับผายลม แก้จุกเสี ยดแน่นเฟ้ อ แก้ปวดท้อง แก้บาดแผลสด
แผลเรื้ อรัง แผลกามโรค แผลเนื้อร้าย ผสมในตารับยาหอม เช่น
ยาหอมเทพจิตร ยาหอมนวโกฐ
• มีสรรพคุณโดยรวมคือแก้ลมวิงเวียน หน้ามืดตาลาย การกลันใบและยอด
่
อ่อนของหนาดด้วยไอน้ า จะได้พิมเสนตกผลึกออกมา นามาทาเป็ นยากิน
แก้ปวดท้อง ท้องร่ วง หรื อใช้ขบลม ใช้ภายนอกเป็ นผงใส่บาดแผล แก้
ั
แผลอักเสบ แก้กลากเกลื้อน และแผลฟกช้ า
อุปกรณ์ ในการทาลูกประคบสมุนไพร
•
•
•
•
•

1. ผ้าดิบสาหรับห่อลูกประคบ ขนาด กว้าง 35 x ยาว 35 เซนติเมตร 2 ผืน
2. เชือก หรื อ หนังยาง
3. ตัวยาที่ใช้ทาลูกประคบ
4. เตา พร้อมหม้อสาหรับนึ่งลูกประคบ
5. จานหรื อชามอลูมิเนียมเจาะรู (เพื่อให้ไอน้ าผ่านได้) รองลูกประคบ
วิธีการทาลูกประคบสมุนไพร
1. หันหัวไพล, ขมิ้นชัน. ต้นตะไคร้, ผิวมะกรู ด, ตาพอหยาบ ๆ
่
(เวลาประคบจะทาให้ระคายผิว)
2. นาใบมะขาม, ใบส้มป่ อย(เฉพาะใบ) ผสมกับสมุนไพร ข้อ1 เสร็ จแล้วให้
ใส่ เกลือ, การบูร คลุกเคล้าให้เป็ นเนื้อเดียวกันแต่อย่าให้แฉะเป็ นน้ า
3. แบ่งตัวยาที่เรี ยบร้อยแล้วใส่ ผาดิบห่อเป็ นลูกประคบประมาณลูกส้มโอ
้
รัดด้วยเชือกให้แน่น(ลูกประคบเวลาถูกความร้อนยาสมุนไพรจะฝ่ อลง
ให้รัดใหม่ให้แน่นเหมือนเดิม)
4. นาลูกประคบที่ได้ไปนึ่งในหม้อนึ่ง ใช้เวลานึ่งประมาณ 15-20 นาที
5. นาลูกประคบที่รับความร้อนได้ที่แล้วมาประคบคนไข้ที่มีอาการต่าง ๆ
โดยสับเปลี่ยนลูกประคบ
วิธีการประคบ
1. ใช้ผาจับลูกประคบขณะร้อน ยกขึ้นจากปากหม้อ
้
2. ใช้ลกประคบแตะที่ทองแขนตนเองทดสอบความร้อน
ู
้
3. ช่วงแรก แตะลูกประคบ และยกขึ้นโดยเร็ ว จนกว่าลูกประคบจะคลายความร้อนลง
4. จากนั้น จึงวางลูกประคบให้นานพอประมาณ แล้วกดเน้นบริ เวณที่ตองการ
้
5. เปลี่ยนลูกประคบเมื่อเย็นลง
ลักษณะประคบ ดูสังเกตลูกประคบว่ ามีความร้ อนมากหรือเปล่ า
ถ้ามีความร้อนต้องห่มผ้าขนหนูก่อน แล้วประคบ ตอนแรกห้ามประคบที่ใดที่หนึ่ง
นานๆ เพราะจะทาให้ผวหนังผูป่วยพุพอง หรื อผูป่วยตกใจอาจช็อกได้เมื่อร้อนต้อง
ิ
้
้
ประคบเร็ วๆ คอยซักถามดูเรื่ อยๆ แล้วค่อยช้าลง ถ้าไม่ร้อนเอาผ้าขนหนูออก
ขั้นตอนการประคบ
1. จัดท่าผูป่วยให้เหมาะสม เช่น นอน
้
หงาย นัง นอนตะแคง
่
่ ั
(ขึ้นอยูกบตาแหน่งที่จะทาการประคบ)
2. ทดสอบความร้อนของลูกประคบ คือ
นาลูกประคบที่ร้อนได้ที่แล้วมาแตะที่
ท้องแขน หรื อหลังมือก็ได้
3. ในการวางลูกประคบบนผิวคนไข้ใน
ช่วงแรก ๆ ต้องทาด้วยความเร็ วไม่วาง
แช่นาน ๆ อาจจะทาให้ผวหนังพองได้
ิ
ง่าย
ระยะเวลาที่ใช้ ในการประคบ
โดยทัวไปจะใช้ เวลา
่
ประมาณ 15 – 20 นาที
ต่ อการประคบ 1 ครั้ง
ถ้ ามีอาการเคล็ดขัดยอก
อาจประคบได้ วนละ 2 ครั้ง
ั
ข้ อห้ าม หรือข้ อควรระวังในการใช้ ลูกประคบ
• 1. ห้ามใช้ลูกประคบที่ร้อนเกินไป
2. ควรใช้ผาขนหนูรองบริ เวณผิวหนังอ่อนๆ หรื อบาดเจ็บ
้
3. ควรระวังผูป่วยที่เป็ นเบาหวาน อัมพาต เด็ก ผูสูงอายุเพราะ
้
้
การตอบสนองต่อความร้อนช้า
4. ไม่ประคบกับกรณี การอักเสบ หรื อ บวม ในช่วง 24 ชัวโมง
่
แรก เพราะอาจบวมมากขึ้น ควรประคบด้วยนาเย็นก่อน
5. หลังจากประคบ ไม่ควรอาบน้ าทันที่เพราะจะทาให้ตวยาถูก
ั
ล้างออกไป
การเก็บรักษาลูกประคบสมุนไพร
• 1. ลูกประคบที่ทาครั้งหนึ่ง สามารถเก็บไว้ได้นาน 3-5 วันถ้าใส่ ตูเ้ ย็น
สามารถเก็บได้ 7 วัน
• 2. ควรผึ่งให้แห้งก่อนเก็บ ไม่ให้อบชื้น ถ้าเก็บในตูเ้ ย็น จะเก็บได้นาน
ั
มากขึ้น
• 3. ลูกประคบที่แห้ง ก่อนใช้ควรพรมด้วยน้ า หรื อเหล้าขาว
• 4. ลูกประคบที่มีสีเหลืองอ่อน หรื อ จางลง แสดงว่าตัวยาในลูกประคบ
หมดสภาพแล้วจะใช้ไม่ได้ผล
• 5. เมื่อต้องการจะนาไปใช้ใหม่ ต้องเปลี่ยนผ้าห่อลูกประคบผืนใหม่
• 6. เวลาที่จะเก็บไว้ และเอามาใช้ใหม่ควรเติมเกลือ และพิมเสน การบูร
อย่างละ 1ช้อนโต๊ะ
ประโยชน์ ของลูกประคบ
•
•
•
•
•
•

1. ร่างกายมีการเผาผลาญสารอาหารเพิ่มขึน
้
2. มีการขยายตัวของเส้นเลือดฝอย
3. การไหลเวียนโลหิตดีขึน
้
4. ขยายรูขมขนบริเวณผิวหนัง
ุ
5. บรรเทาอาการปวดเมือย
่
6. ผ่อนคลายกล้ามเนื้ อ
แหล่ งที่มาอ้ างอิง
• https://sites.google.com/site/wisdom1305/phumipayya-thxngthin-luk-prakhb-smunphir-1
• http://www.tungsong.com/samunpai/herbs/herbs.htm
• http://www.tistr.or.th/spa/herb/01.html
นายอภิสิทธิ์ เทพแปง
เลขที่ 7 ม.6/14
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
นางสาวอุทยวรรณ ไชยยาวุฒิ
ั
เลขที่ 27 ม.6/14
โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย

More Related Content

What's hot

Case study โรคลม
Case study โรคลมCase study โรคลม
Case study โรคลมtacrm
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทยsiriwan
 
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )Utai Sukviwatsirikul
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยOzone Thanasak
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุSirinoot Jantharangkul
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวThanyalak Chanmai
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงChok Ke
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจThamonwan Theerabunchorn
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย porntiwa karndon
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3Mam Chongruk
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาPadvee Academy
 
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้greatzaza007
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)Sakarin Habusaya
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อUtai Sukviwatsirikul
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยาPa'rig Prig
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 

What's hot (20)

Case study โรคลม
Case study โรคลมCase study โรคลม
Case study โรคลม
 
สังคมไทย
สังคมไทยสังคมไทย
สังคมไทย
 
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
เภสัชกรรมไทย ( ตำราแพทย์แผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม )
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลายการสกัดด้วยตัวทำละลาย
การสกัดด้วยตัวทำละลาย
 
The criticism of art
The criticism of artThe criticism of art
The criticism of art
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัว
 
Con6
Con6Con6
Con6
 
โครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผงโครงงานใบย่านางผง
โครงงานใบย่านางผง
 
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจบทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
บทที่ 5 การเขียนแผนธุรกิจ
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
วิเคราะห์หลักสูตรวิทยาศาสตร์ ป 3
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนาความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับศาสนา
 
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้โครงงานประโยชน์ของผลไม้
โครงงานประโยชน์ของผลไม้
 
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
คู่มือการจัดทำบัญชีข้อมูลยา ของ รพ.สต. (Drug Catalogue)
 
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อการประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
การประเมินระบบกระดูก กล้ามเนื้อและข้อ
 
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับยา
 
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐานสรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
สรุปวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 

Similar to ลูกประคบสมุนไพร (20)

Herb
HerbHerb
Herb
 
สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01สมุนไพรไทย01
สมุนไพรไทย01
 
กลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดา
กลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดากลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดา
กลุ่มยาแก้ไข้ ลดความร้อนสะเดา
 
โครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพร
โครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพรโครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพร
โครงงานเรื่องสเปรย์สมุนไพร
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..
 
ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..ขมิ้นชัน+..
ขมิ้นชัน+..
 
กระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดงกระเจี๊ยบแดง
กระเจี๊ยบแดง
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
อาหาร
อาหารอาหาร
อาหาร
 
ยา
ยายา
ยา
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 
Herbs
HerbsHerbs
Herbs
 

More from aromdjoy

โครงร่างคอมพิวเตอร
โครงร่างคอมพิวเตอรโครงร่างคอมพิวเตอร
โครงร่างคอมพิวเตอรaromdjoy
 
เฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคมเฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคมaromdjoy
 
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาaromdjoy
 
เฉลย Onet 50 สุขศึกษา
เฉลย Onet 50 สุขศึกษาเฉลย Onet 50 สุขศึกษา
เฉลย Onet 50 สุขศึกษาaromdjoy
 
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6aromdjoy
 
Correction onet m6_housework_53
Correction onet m6_housework_53Correction onet m6_housework_53
Correction onet m6_housework_53aromdjoy
 
เฉลยO net 52 สุขศึกษา
เฉลยO net 52 สุขศึกษาเฉลยO net 52 สุขศึกษา
เฉลยO net 52 สุขศึกษาaromdjoy
 
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษาข้อสอบ O net 52 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษาaromdjoy
 
เฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษาเฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษาaromdjoy
 
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษาข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษาaromdjoy
 
เฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษาเฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษาaromdjoy
 
การงาน51
การงาน51การงาน51
การงาน51aromdjoy
 
สื่อการสอน
สื่อการสอนสื่อการสอน
สื่อการสอนaromdjoy
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์aromdjoy
 
ข้อสอบ7วิชาสามัญ วิชาคณิตศาสตร์
ข้อสอบ7วิชาสามัญ วิชาคณิตศาสตร์ข้อสอบ7วิชาสามัญ วิชาคณิตศาสตร์
ข้อสอบ7วิชาสามัญ วิชาคณิตศาสตร์aromdjoy
 

More from aromdjoy (18)

โครงร่างคอมพิวเตอร
โครงร่างคอมพิวเตอรโครงร่างคอมพิวเตอร
โครงร่างคอมพิวเตอร
 
เฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคมเฉลย O net 52 สังคม
เฉลย O net 52 สังคม
 
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษาข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สังคมศึกษา
 
เฉลย Onet 50 สุขศึกษา
เฉลย Onet 50 สุขศึกษาเฉลย Onet 50 สุขศึกษา
เฉลย Onet 50 สุขศึกษา
 
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
ข้อสอบ O net 50 สุขศึกษา ม 6
 
Correction onet m6_housework_53
Correction onet m6_housework_53Correction onet m6_housework_53
Correction onet m6_housework_53
 
M6art54
M6art54M6art54
M6art54
 
เฉลยO net 52 สุขศึกษา
เฉลยO net 52 สุขศึกษาเฉลยO net 52 สุขศึกษา
เฉลยO net 52 สุขศึกษา
 
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษาข้อสอบ O net 52 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 52 สุขศึกษา
 
เฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษาเฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษา
 
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษาข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
ข้อสอบ O net 51 สุขศึกษา
 
ปี52
ปี52ปี52
ปี52
 
เฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษาเฉลย Onet 51 สุขศึกษา
เฉลย Onet 51 สุขศึกษา
 
การงาน51
การงาน51การงาน51
การงาน51
 
สื่อการสอน
สื่อการสอนสื่อการสอน
สื่อการสอน
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
ข้อสอบ7วิชาสามัญ วิชาคณิตศาสตร์
ข้อสอบ7วิชาสามัญ วิชาคณิตศาสตร์ข้อสอบ7วิชาสามัญ วิชาคณิตศาสตร์
ข้อสอบ7วิชาสามัญ วิชาคณิตศาสตร์
 
Blog
BlogBlog
Blog
 

ลูกประคบสมุนไพร

  • 2. ข้อมูลทั่วไป สมุนไพรทีใช้ในการ ่ ทาลูกประคบ อุปกรณ์ในการทา ลูกประคบสมุนไพร วิธีการทาลูกประคบ สมุนไพร วิธีการประคบ ขันตอนการประคบ ้ ระยะทีใช้ในการ ่ ประคบ ข้อห้ามหรือข้อควรระวัง ในการใช้ลกประคบ ู การเก็บรักษาลูก ประคบสมุนไพร ประโยชน์ของลูก ประคบสมุนไพร แหล่งที่มาอ้างอิง ผูจัดทา ้ คุณครูทปรึกษา ี่
  • 3. ลูกประคบสมุนไพร • ลูกประคบสมุนไพร คือ การใช้สมุนไพรหลายอย่างมาห่อรวมกัน ส่วนใหญ่เป็นสมุนไพรทีมนามันหอมระเหย โดยนามานึ่งให้ร้อนประคบ ่ ี ้ บริเวณทีปวดหรือเคล็ดขัดยอกซึ่งน้ามันหอมระเหยเมือถูกความร้อน จะ ่ ่ ระเหยออกมา ความร้อนจากลูกประคบจะช่วยกระตุ้นการไหลเวียนโลหิต ดีขึ้น และ ยังมีสารสาคัญจากสมุนไพรบางชนิดทีซมเข้าทางผิวหนัง ช่วย ่ึ รักษาอาการเคล็ด ขัด ยอก และลดปวดได้
  • 4. ชนิดของการประคบสมุนไพร ลูกประคบมี 2 ชนิด คือ ลูกประคบสมุนไพรสดและลูกประคบสมุนไพรแห้ง 1.ลูกประคบสมุนไพรสด ่ ข้ อดี คือ การใช้สมุนไพรสดในการปรุ งลูกประคบนั้นสมุนไพรจะมีน้ าอยูแล้วจึงไม่ จาเป็ นต้องพรมน้ าก่อนนาไปใช้ ไม่ตองตากแห้ง ไม่ตองอบฆ่าเชื้อไม่ตองกลัวขึ้นรา ้ ้ ้ ข้ อจากัด คือ เมื่อปรุ งลูกประคบเสร็ จแล้ว ต้องรี บนาไปใช้ ไม่สามารถเก็บไว้ได้นานใน อุณหภูมิปกติ ต้องเก็บในตูเ้ ย็นหรื อภาชนะบรรจุพิเศษ 2.ลูกประคบสมุนไพรแห้ ง ข้ อดี คือ เก็บไว้ได้นาน สะดวกในการนาไปใช้ สามารถเตรี ยมสมุนไพรที่ใช้ ในการ ปรุ งลูกประคบได้ครบถ้วนมากขึ้น เนื่องจากสมุนไพรบางชนิดไม่สามารถ หาได้ใน ท้องถิ่น ต้องหามาจากแหล่งอื่น
  • 5. สมุนไพรที่ใช้ในการทาลูกประคบ ไพล ชื่ออืน : ปูลอย ปูเลย (ภาคเหนือ) ว่านไฟ (ภาคกลาง) มิ้นสะล่าง(ฉาน-แม่ฮ่องสอน) ่ ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ลมลุกสูง 0.7-1.5 เมตร มีเหง้าใต้ดิน เปลือกสี น้ าตาล ้ แกมเหลือง เนื้อในสี เหลืองถึงเหลืองแกมเขียว แทงหน่อหรื อลาต้นเทียมขึ้นเป็ นกอ ซึ่ ง ประกอบด้วยกาบหรื อโคนใบหุ มซ้อนกัน ใบเดี่ยว เรี ยงสลับ รู ปขอบขนานแกมใบหอก ้ กว้าง 3.5-5.5 เซนติเมตร ยาว 18-35 เซนติเมตร ดอกช่อ แทงจากเหง้าใต้ดิน กลีบดอกสี นวล ใบประดับสี ม่วง ผลเป็ นผลแห้งรู ปกลม
  • 6. สรรพคุณ • เหง้ า - เป็ นยาแก้ทองขึ้น ท้องอืดเฟ้ อ ขับลม ้ - แก้บิด ท้องเดิน ขับประจาเดือนสตรี ทาแก้ฟกบวม แก้ผนคัน ื่ - เป็ นยารักษาหืด - เป็ นยากันเล็บถอด - ใช้ตมน้ าอาบหลังคลอด ้ • นาคั้นจากเหง้ า - รักษาอาการเคล็ดขัดยอก ฟกบวม แพลงช้ าเมื่อย ้ • หัว - ช่วยขับระดู ประจาเดือนสตรี เลือดร้าย แก้มุตกิตระดูขาว แก้อาเจียน แก้ ปวดฟัน • ดอก - ขับโลหิ ตกระจายเลือดเสี ย • ต้ น - แก้ธาตุพการ แก้อุจาระพิการ ิ • ใบ - แก้ไข้ ปวดเมื่อย แก้ครั่นเนื้อครั่นตัว แก้เมื่อย
  • 7. มะกรู ด • ชื่ออืน : มะขุน มะขูด (ภาคเหนือ) มะขู (กะเหรี่ ยง-แม่ฮ่องสอน) ส้มกรู ด ส้มมัวผี ่ ่ (ภาคใต้) • ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ตนขนาดเล็ก สูง 2-8 เมตร เปลือกต้นเรี ยบ สี น้ าตาล มี ้ หนามแหลมตามกิ่งก้าน ใบ เป็ นใบประกอบที่มีใบย่อยใบเดี่ยว ออกเรี ยงสลับ ปลาย ่ ใบและโคนใบมน ขอบใบเรี ยบ แผ่นใบเรี ยบเป็ นมันสี เขียวเข้ม มีต่อมน้ ามันอยูตาม ผิวใบ มีกลิ่นหอมเฉพาะ ก้านใบมีปีกดูคล้ายใบ ดอก ออกเป็ นช่อตามซอกใบที่ปลาย กิ่ง ดอกสี ขาว กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ กลีบดอกมี 5 แฉก โคนกลีบดอกติดกัน ผล เป็ น รู ปทรงกลมหรื อรู ปไข่ โคนผลเรี ยวเป็ นจุก ผิวขรุ ขระ มีต่อมน้ ามัน ผลอ่อนสี เขียวแก่ สุ กเป็ นสี เหลือง มีรสเปรี้ ยว เมล็ดกลมรี สี ขาว มีหลายเมล็ด
  • 8. สรรพคุณ • ราก - กระทุงพิษ แก้ฝีภายในและแก้เสมหะเป็ นพิษ ้ • ใบ - มีน้ ามันหอมระเหย • ผล, นาคั้นจากผล - ใช้แต่งกลิ่น สระผมรักษาชันนะตุ รังแค ้ ทาให้ผมสะอาด • ผิวจากผล - ปรุ งเป็ นยาขับลมในลาไส้ แก้แน่น - เป็ นยาบารุ งหัวใจ
  • 9. มะขาม • ชื่ออืน : ขาม (ภาคใต้) ตะลูบ(ชาวบน่ นครราชสี มา) ม่องโคล้ง (กะเหรี่ ยงกาญจนบุรี) อาเปี ยล (เขมร-สุ รินทร์) หมาก แกง (เงี้ยว-แม่ฮ่องสอน) ส่ ามอเกล (กะเหรี่ ยงแม่ฮ่องสอน) • ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้ตนขนาดกลาง ้ จนถึงขนาดใหญ่แตกกิ่งก้านสาขามาก เปลือก ต้นขรุ ขระและหนา สี น้ าตาลอ่อน ใบ เป็ นใบ ประกอบ ใบเล็กออกตามกิ่งก้านใบเป็ นคู่ ใบ ย่อยเป็ นรู ปขอบขนาน ปลายใบและโคนใบมน ดอก ออกเป็ นช่อเล็กๆ ตามปลายกิ่ง หนึ่งช่อมี 10-15 ดอก ดอกย่อยขนาดเล็ก กลีบดอกสี ่ เหลืองและมีจุดประสี แดงอยูกลางดอก ผล เป็ นฝักยาว รู ปร่ างยาวหรื อโค้ง ยาว 3-20 ซม. ฝักอ่อนมีเปลือกสี เขียวอมเทา สี น้ าตาลเกรี ยม เนื้อในติดกับเปลือก เมื่อแก่ฝักเปลี่ยนเป็ น เปลือกแข็งกรอบหักง่าย สี น้ าตาล เนื้อใน กลายเป็ นสี น้ าตาลหุมเมล็ด เนื้อมีรสเปรี้ ยว ้ และหวาน
  • 10. สรรพคุณ • ราก - แก้ทองร่ วง สมานแผล รักษาเริ ม และงูสวัด ้ • เปลือกต้ น - แก้ไข้ ตัวร้อน • แก่ น - กล่อมเสมหะ และโลหิ ต ขับโลหิ ต ขับเสมหะ รักษาฝี ในมดลูก รักษาโรคบุรุษ เป็ นยาชัก มดลูกให้เข้าอู่ • ใบสด (มีกรดเล็กน้อย) - เป็ นยาถ่าย ยาระบาย ขับลมในลาไส้ แก้ไอ แก้บิด รักษาหวัด ขับเสมหะ หยอดตารักษาเยือตาอักเสบ แก้ตามัว ฟอกโลหิ ต ขับเหงื่อ ต้มผสมกับสมุนไพรอื่นๆ อาบหลัง ่ คลอดช่วยให้สะอาดขึ้น • เนือหุ้มเมล็ด - แก้อาการท้องผูก เป็ นยาระบาย ยาถ่าย ขับเสมหะ แก้ไอ กระหายน้ า เป็ นยาสวน ้ ล้างท้อง • ฝักดิบ - ฟอกเลือด และลดความอ้วน เป็ นยาระบายและลดอุณหภูมิในร่ างกาย บรรเทาอาการไข้ • เมล็ดในสี ขาว - เป็ นยาถ่ายพยาธิไส้เดือนตัวกลมในลาไส้ พยาธิเส้นด้าย • เปลือกเมล็ด - แก้ทองร่ วง แก้บิดลมป่ วง สมานแผลที่ปาก ที่คอ ที่ลิ้น และตามร่ างกาย รักษาแผล ้ สด ถอนพิษและรักษาแผลที่ถูกไฟลวก รักษาแผลเบาหวาน • เนือในฝักแก่ (มะขามเปี ยก) - รับประทานจิ้มเกลือ แก้ไอ ขับเสมหะ ้ • ดอกสด - เป็ นยาลดความดันโลหิตสูง
  • 11. ขมิน ้ • ขมิ้น เป็ นพืชล้มลุกที่จดอยูในตระกูลขิง ั ่ ่ มีเหง้าอยูใต้ดิน เนื้อในของเหง้าจะเป็ นสี เหลือง มีกลิ่นหอมเฉพาะตัวมีต้ งแต่สี ั เหลืองเข้มจนถึงสี แสดจัด โดยที่ถิ่นกาเนิด ในแถบเอเชียตะวันออกเฉี ยงใต้ และมีชื่อ อื่นๆอีก เช่น ขมิ้นชันขมิ้นแกง ขมิ้นหยอก ่ ั ขมิ้นหัว ขี้มิ้น หมิ้น ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบแต่ภาค และจังหวัดนันๆ นิยมนาไปใช้ในการ ่ ประกอบอาหาร แต่งสี แต่งกลิ่นอาหาร เช่น แกงไตปลา แกงกะหรี่ เป็ นต้น
  • 12. สรรพคุณ • • • • • • • • • • • • • • • • • สรรพคุณของขมิ้นข้อแรกคือมีสารต่อต้านอนุมูลอิสระซึ่งช่วยในการชะลอวัยและชะลอการเกิดริ้ วรอย ั ช่วยเสริ มสร้างภูมิตานทานให้กบร่ างกาย ้ ช่วยเสริ มสร้างภูมิคุมกันให้ผิวหนังมีสุขภาพดีแข็งแรง ้ ขมิ้นชันอาจมีบทบาทช่วยป้ องกันการเกิดโรคมะเร็ ง เช่น โรคมะเล็งลาไส้ มะเร็ งปากมดลูก ขมิ้นสามารถช่วยลดระดับคอเลสเตอรอลในร่ างกายได้ ช่วยกาจัดสารพิษออกจากร่ างกาย ช่วยบรรเทาอาการของโรคเบาหวาน มีส่วนช่วยรักษาโรคความดันโลหิ ตสู ง ช่วยลดอาการของโรคเกาต์ ช่วยขับน้ านมของมารดาหลังคลอดบุตร ช่วยรักษาระบบทางเดินหายใจที่มีอาการผิดปกติ ช่วยบารุ งสมองป้ องกันโรคความจาเสื่ อม อาจมะส่ วนช่วยในการรักษาโรครู มาตอยด์ (ยังไม่ได้รับการยืนยัน) ช่วยลดการอักเสบ ช่วยแก้อาการวิงเวียนศีรษะ ช่วยรักษาอาการแพ้และไข้หวัด ช่วยบรรเทาอาการไอ
  • 13. ลักษณะของ ขมินอ้อย ้ ต้ น : ขมิ้นอ้อย เป็ นไม้ลมลุกสู ง 50-70 ซม. ้ ลักษณะคล้ายขมิ้นชัน แต่ตนสูงกว่า ขนาดเหง้า ้ และใบใหญ่กว่า โดยเหง้าใต้ดินจะโผล่ข้ ึนมาเหนือ ดินเล็กน้อย มีเนื้อในสี เหลืองอมส้ม กลีบดอกสี นวล มีกลิ่นหอม ใบ : ใบออกเป็ นรัศมีติดผิวดิน รู ปหอกแกม ขอบขนาน กว้าง 8-10 ซม. ยาว 30-40 ซม. ก้านใบ ยาว 8-15 ซม. ท้องใบจะมีขนนิ่ม ๆ ในหน้าแล้งใบ จะแห้งลงหัว บางครั้งเราก็เรี ยกว่าขมิ้นหัวขึ้น ดอก : ขมิ้นอ้อยจะออกดอกเป็ นช่อ ก้าน ่ ่ ดอกยาวพุงออกจากเหง้าที่อยูใต้ดิน ช่อดอกจะมีใบ ประดับ ดอกมีสีขาว ตรงปลายช่อดอกจะเป็ นสี ชมพู ส่ วนดอกสี เหลืองจะบานจากล่างขึ้นข้างบน และจะบานครั้งละ 2-3 ดอก ขมินอ้ อย ้
  • 14. สรรพคุณ รักษาอาการท้ องร่ วง ท้ องเดิน (ที่ไม่ ใช่ บิด หรืออหิวาตกโรค) โดยใช้หวขมิ้นอ้อยสด ๆ ประมาณ 2 แว่น มาบด ั ผสมกับน้ าปูนใส กินแก้ทองร่ วงได้ ้ รักษาแผล โดยนาขมิ้นอ้อยไปหุงในน้ ามันมะพร้าว แล้วนามาใส่ แผล จะช่วยให้แผลหายเร็ ว เนื่องจากหัวขมิ้น อ้อยเป็ นยาฝาดสมานด้วย รักษาฝี ถ้าเป็ นฝี หวเดือน ให้นาใบไผ่มาเผ่าไฟให้ไหม้ แล้วนาหัวขมิ้นอ้อยมาตาด้วยกัน แล้วใช้น้ าเป็ นกระสาย ั ยา และใช้ได้ท้ งกินและทา หรื อพอก ั แก้ ฝีในมดลูก โดยใช้ขมิ้นอ้อย 3 ท่อน บอระเพ็ด 3 ท่อน ลูกขี้กาแดง 1 ลูก (ผ่าเป็ น 4 ซี กแต่ใช้แค่ 3) นามาต้ม รวมกับสุ รา กินแก้ฝีในมดลูกได้ รักษาอาการเสี้ยนหนามตา โดยนาขมิ้นอ้อยมา 5 แว่น ข้าวเหนียวสุ ก ประมาณ 1 กามือ ดอกชบา 5 ดอก ใช้ตา พอก จะดูดเสี้ ยนและหนองออกจากแผล รักษาอาการปวดบวม ฟกช้า โดยนาขมิ้นสด ๆ มาตาให้ละเอียดแล้วนามาพอกบริ เวณปวดบวม ฟกช้ า แก้ หวัด โดยนาหัวขมิ้นอ้อย พริ กหาง อบเชยเทศ มาต้มและเติมน้ าผึ้งลงไปผสม นามารับประทานแก้หวัดได้ แก้ ริดสี ดวงทวาร นาขมิ้นอ้อย พริ กไทยล่อน เปลือกยางแดง มาผสมกันทายาผง แล้วนาไปละลายในน้ ายางใส ปั้ นทั้งหมดเป็ นลูกกลอนขนาดเท่าปลายนิ้วชี้ รับประทานเช้า-เย็น
  • 15. ใบส้ มป่ อย • ชื่ออืน : ส้มขอน (ฉาน-แม่ฮ่องสอน) ่ • ลักษณะทางพฤกษศาสตร์ : ไม้พมรอเลื้อย มีหนามตามลาต้น กิ่ง ก้านและใบ ใบ ุ่ ประกอบแบบขนนกสองชั้น เรี ยงสลับ ยาว 7-20 ซม. ใบย่อยรู ปขอบขนาน ขนาด เล็ก ดอกช่อ ออกที่ซอกใบ เป็ นช่อกลม กลีบดอกเป็ นหลอด สี นวล ผลเป็ นฝัก สี น้ าตาลดา ผิวย่นขรุ ขระ ขอบมักเป็ นคลื่น
  • 16. สรรพคุณ ต้ น - แก้ตาพิการ ใบ - แก้โรคตา ชาระเมือกมันในลาไส้ ยาถ่ายเสมหะ แก้บิด ฟอกล้างโลหิ ตระดู ดอก - แก้เส้นพิการให้บริ บูรณ์ ผล - แก้น้ าลายเหนียว ราก - แก้ไข้ ฝัก - ปิ้ งให้เหลือง ชงน้ าจิบแก้ไอ ขับเสมหะ เป็ นยาถ่ายทาให้อาเจียน ฟอกผมแก้ รังแค แก้ไข้จบสั่น ปิ ดแผลโรคผิวหนัง ั • เมล็ด - คัวให้เกรี ยมบดให้ละเอียด นัตถุทาให้คนจมูกและจามดี ์ ั ่ • ใบ - ตาห่อผ้าประคบเส้นให้เส้นอ่อน • • • • • •
  • 17. • เกลือแกง หรือ โซเดียมคลอไรด์ (Sodium Chloride) เป็ นสารเคมีธรรมชาติตวหนึ่งที่ถูกนามาใช้ ั อย่างแพร่ หลายมานานนับพันปี บางท่านอาจจะไม่คุนกับชื่อเกลือแกง แต่ถาบอกว่ามันก็คือเกลือ ้ ้ ั ที่เราใช้ประกอบอาหารกันทุกวัน ก็คงร้องอ๋ อกันทุกคน เกลือแกงถูกนามาใช้กนในหลายด้าน ทั้ง ด้านประกอบอาหาร ถนอมอาหาร รวมถึงใช้เป็ นสารตั้งต้นในอุตสาหกรรมหลายประเภท • เกลือแกงนั้นมีประโยชน์ต่อเรามากมาย ทั้งในการประกอบอาหาร การเก็บรักษาอาหารประเภท หมักดอง ใช้ในทางการแพทย์และการรักษาโรค เช่น ใช้ทาน้ าเกลือ รักษาอาการไอ เจ็บคอ อัน เนื่องมาจากหวัด รักษาอาการคันตามผิวหนัง เป็ นต้น นอกจากนี้ยงมีการใช้เกลือในอุตสาหกรรม ั ต่างๆ มากมาย เช่น อุตสาหกรรมอาหาร เครื่ องปรุ งรสต่างๆ อุตสาหกรรมฟอกย้อมเสื้ อผ้า อุตสาหกรรมกระดาษ อุตสาหกรรมผลิต สบู่และผงซักฟอก รวมถึงอุตสาหกรรมยาฆ่าแมลง เป็ น ต้น
  • 18. การบูร • สรรพคุณ : ใช้ผสมในยาน้ า มีสรรพคุณบารุ งธาตุ ขับเสมหะ ขับลม แก้ จุกเสี ยดแน่นเฟ้ อ แก้ปวดท้อง ท้องร่ วง ขับเหงื่อ ใช้ผสมในยาหม่อง ยา ั ขี้ผ้ ง ยาครี มทาแก้เคล็ดบวม ขัดยอก แพลง แก้พิษแมลงสัตว์กดต่อย และ ึ โรคผิวหนังเรื้ อรัง
  • 19. พิมเสน • พิมเสนเป็ นเกล็ดเล็กๆ สี ขาวขุ่น เนื้อแน่นกว่าการบูร ระเหิ ดได้ชากว่าการบูร ติดไฟให้แสงจ้าและ ้ มีควันมาก ไม่มีข้ ีเถ้า พิมเสนบริ สุทธิ์จะเป็ นผลึกรู ปแผ่นหกเหลี่ยม มีจุดหลอมเหลว 208 องศา เซลเซียส ละลายได้ยากในน้ า ละลายได้ดีในตัวทาละลายชนิดขั้วต่า พิมเสนมีกลิ่นหอมเย็น ฉุ น รสหอม เย็นปากคอ สมัยก่อนใส่ ในหมากพลูเคี้ยว
  • 20. สรรพคุณ ตารายาแผนโบราณ: ใช้พิมเสนเป็ นยาขับเหงื่อ ขับเสมหะ กระตุน ้ การหายใจ กระตุนสมอง บารุ งหัวใจ ใช้เป็ นยาระงับความกระวนกระวาย ้ ทาให้ง่วงซึม แก้ลมวิงเวียน หน้ามืด หัวใจอ่อน บารุ งหัวใจ ทาให้ชุ่มชื่น ทาให้เรอ ขับผายลม แก้จุกเสี ยดแน่นเฟ้ อ แก้ปวดท้อง แก้บาดแผลสด แผลเรื้ อรัง แผลกามโรค แผลเนื้อร้าย ผสมในตารับยาหอม เช่น ยาหอมเทพจิตร ยาหอมนวโกฐ • มีสรรพคุณโดยรวมคือแก้ลมวิงเวียน หน้ามืดตาลาย การกลันใบและยอด ่ อ่อนของหนาดด้วยไอน้ า จะได้พิมเสนตกผลึกออกมา นามาทาเป็ นยากิน แก้ปวดท้อง ท้องร่ วง หรื อใช้ขบลม ใช้ภายนอกเป็ นผงใส่บาดแผล แก้ ั แผลอักเสบ แก้กลากเกลื้อน และแผลฟกช้ า
  • 21. อุปกรณ์ ในการทาลูกประคบสมุนไพร • • • • • 1. ผ้าดิบสาหรับห่อลูกประคบ ขนาด กว้าง 35 x ยาว 35 เซนติเมตร 2 ผืน 2. เชือก หรื อ หนังยาง 3. ตัวยาที่ใช้ทาลูกประคบ 4. เตา พร้อมหม้อสาหรับนึ่งลูกประคบ 5. จานหรื อชามอลูมิเนียมเจาะรู (เพื่อให้ไอน้ าผ่านได้) รองลูกประคบ
  • 22. วิธีการทาลูกประคบสมุนไพร 1. หันหัวไพล, ขมิ้นชัน. ต้นตะไคร้, ผิวมะกรู ด, ตาพอหยาบ ๆ ่ (เวลาประคบจะทาให้ระคายผิว) 2. นาใบมะขาม, ใบส้มป่ อย(เฉพาะใบ) ผสมกับสมุนไพร ข้อ1 เสร็ จแล้วให้ ใส่ เกลือ, การบูร คลุกเคล้าให้เป็ นเนื้อเดียวกันแต่อย่าให้แฉะเป็ นน้ า 3. แบ่งตัวยาที่เรี ยบร้อยแล้วใส่ ผาดิบห่อเป็ นลูกประคบประมาณลูกส้มโอ ้ รัดด้วยเชือกให้แน่น(ลูกประคบเวลาถูกความร้อนยาสมุนไพรจะฝ่ อลง ให้รัดใหม่ให้แน่นเหมือนเดิม) 4. นาลูกประคบที่ได้ไปนึ่งในหม้อนึ่ง ใช้เวลานึ่งประมาณ 15-20 นาที 5. นาลูกประคบที่รับความร้อนได้ที่แล้วมาประคบคนไข้ที่มีอาการต่าง ๆ โดยสับเปลี่ยนลูกประคบ
  • 23. วิธีการประคบ 1. ใช้ผาจับลูกประคบขณะร้อน ยกขึ้นจากปากหม้อ ้ 2. ใช้ลกประคบแตะที่ทองแขนตนเองทดสอบความร้อน ู ้ 3. ช่วงแรก แตะลูกประคบ และยกขึ้นโดยเร็ ว จนกว่าลูกประคบจะคลายความร้อนลง 4. จากนั้น จึงวางลูกประคบให้นานพอประมาณ แล้วกดเน้นบริ เวณที่ตองการ ้ 5. เปลี่ยนลูกประคบเมื่อเย็นลง ลักษณะประคบ ดูสังเกตลูกประคบว่ ามีความร้ อนมากหรือเปล่ า ถ้ามีความร้อนต้องห่มผ้าขนหนูก่อน แล้วประคบ ตอนแรกห้ามประคบที่ใดที่หนึ่ง นานๆ เพราะจะทาให้ผวหนังผูป่วยพุพอง หรื อผูป่วยตกใจอาจช็อกได้เมื่อร้อนต้อง ิ ้ ้ ประคบเร็ วๆ คอยซักถามดูเรื่ อยๆ แล้วค่อยช้าลง ถ้าไม่ร้อนเอาผ้าขนหนูออก
  • 24. ขั้นตอนการประคบ 1. จัดท่าผูป่วยให้เหมาะสม เช่น นอน ้ หงาย นัง นอนตะแคง ่ ่ ั (ขึ้นอยูกบตาแหน่งที่จะทาการประคบ) 2. ทดสอบความร้อนของลูกประคบ คือ นาลูกประคบที่ร้อนได้ที่แล้วมาแตะที่ ท้องแขน หรื อหลังมือก็ได้ 3. ในการวางลูกประคบบนผิวคนไข้ใน ช่วงแรก ๆ ต้องทาด้วยความเร็ วไม่วาง แช่นาน ๆ อาจจะทาให้ผวหนังพองได้ ิ ง่าย
  • 25. ระยะเวลาที่ใช้ ในการประคบ โดยทัวไปจะใช้ เวลา ่ ประมาณ 15 – 20 นาที ต่ อการประคบ 1 ครั้ง ถ้ ามีอาการเคล็ดขัดยอก อาจประคบได้ วนละ 2 ครั้ง ั
  • 26. ข้ อห้ าม หรือข้ อควรระวังในการใช้ ลูกประคบ • 1. ห้ามใช้ลูกประคบที่ร้อนเกินไป 2. ควรใช้ผาขนหนูรองบริ เวณผิวหนังอ่อนๆ หรื อบาดเจ็บ ้ 3. ควรระวังผูป่วยที่เป็ นเบาหวาน อัมพาต เด็ก ผูสูงอายุเพราะ ้ ้ การตอบสนองต่อความร้อนช้า 4. ไม่ประคบกับกรณี การอักเสบ หรื อ บวม ในช่วง 24 ชัวโมง ่ แรก เพราะอาจบวมมากขึ้น ควรประคบด้วยนาเย็นก่อน 5. หลังจากประคบ ไม่ควรอาบน้ าทันที่เพราะจะทาให้ตวยาถูก ั ล้างออกไป
  • 27. การเก็บรักษาลูกประคบสมุนไพร • 1. ลูกประคบที่ทาครั้งหนึ่ง สามารถเก็บไว้ได้นาน 3-5 วันถ้าใส่ ตูเ้ ย็น สามารถเก็บได้ 7 วัน • 2. ควรผึ่งให้แห้งก่อนเก็บ ไม่ให้อบชื้น ถ้าเก็บในตูเ้ ย็น จะเก็บได้นาน ั มากขึ้น • 3. ลูกประคบที่แห้ง ก่อนใช้ควรพรมด้วยน้ า หรื อเหล้าขาว • 4. ลูกประคบที่มีสีเหลืองอ่อน หรื อ จางลง แสดงว่าตัวยาในลูกประคบ หมดสภาพแล้วจะใช้ไม่ได้ผล • 5. เมื่อต้องการจะนาไปใช้ใหม่ ต้องเปลี่ยนผ้าห่อลูกประคบผืนใหม่ • 6. เวลาที่จะเก็บไว้ และเอามาใช้ใหม่ควรเติมเกลือ และพิมเสน การบูร อย่างละ 1ช้อนโต๊ะ
  • 28. ประโยชน์ ของลูกประคบ • • • • • • 1. ร่างกายมีการเผาผลาญสารอาหารเพิ่มขึน ้ 2. มีการขยายตัวของเส้นเลือดฝอย 3. การไหลเวียนโลหิตดีขึน ้ 4. ขยายรูขมขนบริเวณผิวหนัง ุ 5. บรรเทาอาการปวดเมือย ่ 6. ผ่อนคลายกล้ามเนื้ อ
  • 29. แหล่ งที่มาอ้ างอิง • https://sites.google.com/site/wisdom1305/phumipayya-thxngthin-luk-prakhb-smunphir-1 • http://www.tungsong.com/samunpai/herbs/herbs.htm • http://www.tistr.or.th/spa/herb/01.html
  • 30.
  • 31. นายอภิสิทธิ์ เทพแปง เลขที่ 7 ม.6/14 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย
  • 32. นางสาวอุทยวรรณ ไชยยาวุฒิ ั เลขที่ 27 ม.6/14 โรงเรียนยุพราชวิทยาลัย